SlideShare a Scribd company logo
วัฒนธรรมไทย
Thai Culture
วัฒนธรรมไทย
 วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงามความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน
 วัฒนธรรมไทย ได้รับอิทธิพลหลักจากวัฒนธรรมอินเดีย จีน ขอม ตลอดจนวิญญาณ
นิยม ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู วัฒนธรรมแห่งชาติของไทยเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งสิ่งที่
ปัจจุบันถือเป็นวัฒนธรรมไทยเดิมไม่มีอยู่ในรูปแบบนั้นเมื่อกว่าร้อยปีก่อน
ความสาคัญของวัฒนธรรมไทย
 วัฒนธรรมเป็นเรื่องที่สาคัญยิ่งในความเป็นชาติ ชาติใดที่ไร้เสียซึ่งวัฒนธรรมอันเป็นของ
ตนเองแล้วชาตินั้นจะคงความเป็นชาติอยู่ไม่ได้ชาติที่ไร้วัฒนธรรม แม้จะเป็นผู้พิชิตในการ
สงคราม แต่ในที่สุดก็จะเป็นผู้ถูกพิชิตในด้านวัฒนธรรมซึ่งนับว่าเป็นการถูกพิชิตอย่างราบ
คาบและสิ้นเชิง ทั้งนี้เพราะผู้ที่ถูกพิชิตในทางวัฒนธรรมนั้นจะไม่รู้ตัวเลยว่าตนได้ถูกพิชิต
 วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชี้แสดงให้เห็นความแตกต่างของบุคคลกลุ่มคน หรือชุมชน
 เป็นสิ่งที่ทาให้เห็นว่าตนมีความแตกต่างจากสัตว์
 ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เรามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นนั้น
ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของกลุ่มชน ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรมเช่น ชาวเกาะ
ซามัวมองเห็นดวงจันทร์ว่ามีหญิงกาลังทอผ้า ชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กาลังมอง
หาเหยื่อ ชาวไทยมองเห็นเหมือนรูปกระต่าย
ที่มาของวัฒนธรรมไทย
 สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะทางด้านภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่ม
และอุดมสมบูรณ์ด้วยแม่น้าลาคลองคนไทยได้ใช้น้าในแม่น้า ลาคลอง ในการเกษตรกรรม
และการอาบกิน เพราะฉะนั้นเมื่อถึงเวลาหน้าน้าคือ เพ็ญเดือน 11 และเพ็ญเดือน 12 ซึ่งอยู่ใน
ห้วงเวลาปลายเดือนตุลาคมและปลายเดือนพฤศจิกายน คนไทยจึงจัดทากระทงพร้อมด้วยธูป
เทียนไปลอย ในแม่น้าลาคลอง เพื่อเป็นการขอขมาลาโทษแม่คงคา และขอพรจากแม่คงคา
เพราะได้อาศัยน้ากิน น้าใช้ทาให้เกิด "ประเพณีลอยกระทง" นอกจากนั้นยังมีประเพณีอื่นๆ
อีกในส่วนที่เกี่ยวกับ แม่น้าลาคลอง เช่น "ประเพณีแข่งเรือ"
► ประเพณีลอยกระทง ประเพณีลอยกระทงนั้นมีมาแต่โบราณโดยมีคติความเชื่อหลายอย่าง
เช่น เชื่อว่าเป็นการบูชาและขอขมาแม่พระคงคา เป็นการสะเดาะเคราะห์ เป็นการบูชาพระเจ้า
ในศาสนาพราหมณ์ หรือเป็นการบูชารอยพระพุทธบาท เป็นต้น การลอยกระทงนิยมทากันใน
วันเพ็ญ เดือน 12 ของทุก ๆ ปี ตามพระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสองเดือนและตารับท้าวศรี
จุฬาลักษณ์ ซึ่งคนทั่วไปนิยมทาตามสืบต่อมา
► ประเพณีแข่งเรือ มรดกวัฒนธรรมทางสายน้าที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสายน้า เรือ
และผู้คน บนพื้นฐานความสามัคคีพร้อมเพรียง เป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันของคนในชุมชน
ประเพณีแข่งขันเรือยาวประเพณีนี้ เป็นที่นิยมเล่นกันทั้งภายในพระราชวังไปจนถึงชาวบ้าน
ร้านตลาด ดังที่มีปรากฏในกฏมณเทียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆในสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่
ได้กล่าวถึงพระราชพิธีเดือน๑๑ จะมีการแข่งเรือยาวขึ้น เพื่อเป็นการฝึกปรือกาลังพลทหาร
ประจากองเรือ
ที่มาของวัฒนธรรมไทย
 ระบบการเกษตรกรรม สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม (agrarian society)
กล่าวคือ ประชากรร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า คนไทย
ส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตผูกพันกับระบบการเกษตรกรรม และระบบการเกษตรกรรมนี้เองได้เป็น
ที่มาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณีขอฝน ประเพณีลงแขกและการละเล่น
เต้นการาเคียว เป็นต้น
► ประเพณีลงแขกเกี่ยวข้าว เป็นประเพณีที่เจ้าของนาจะบอกเพื่อนบ้านให้รู้ว่าจะเกี่ยวข้าว
เมื่อใด และเมื่อถึงวันที่กาหนดเจ้าของนาก็จะต้องปักธงที่ที่นาของตนเพื่อให้เพื่อนบ้านหรือ
แขกที่รู้จะได้มาช่วยเกี่ยวได้ถูกต้องทั้งนี้เจ้าของนาจะต้องจัดเตรียมอาหารคาวหวาน สุรา
บุหรี่ น้าดื่ม ไว้รองรับด้วย และในการขณะเกี่ยวข้าวก็จะมีการละเล่นร้องเพลงเกี่ยวข้อง
ระหว่างหนุ่มสาวเป็นที่สนุกสนานและเพลิดเพลินเพื่อคลายความเหน็ดเหนื่อยได้
► การละเล่น เต้นการาเคียว หลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ชาวนารู้สึกเหน็ดเหนื่อย และด้วย
นิสัยรักความสนุก ประกอบกับการเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนของคนไทยด้วย ก็ชักชวนกันผ่อน
คลายความเมื่อยล้า ด้วยการตั้งวงเต้นการาเคียว การเล่นเต้นการาเคียวมักเริ่มเล่นเพลงเกี่ยวข้าว
ก่อนเสมอ เต้นการาเคียวเป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เก่าแก่แบบหนึ่งของชาวชนบทสันนิษฐาน
ว่า เกิดขึ้นสมัยรัชกาลที่ 5
ที่มาของวัฒนธรรมไทย
 ค่านิยม (Values) กล่าวได้ว่า "ค่านิยม" มีความเกี่ยวพันกับ วัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด และ
"ค่านิยม" บางอย่างได้กลายมาเป็น "แกน" ของวัฒนธรรมไทยกล่าวคือ วิถีชีวิตของคนไทยโดย
ส่วนรวมมีเอกลักษณ์ซึ่งแสดงออกถึงอิสรภาพและเสรีภาพ
 การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม (Cultural diffusion) วัฒนธรรมทาง หนึ่ง ย่อม แตกต่าง
ไปจากวัฒนธรรมทางสังคมอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะวัฒนธรรมมิได้เกิดขึ้นมาใน ภาชนะ ที่ถูกผนึกตราบ
เท่าที่มนุษย์เช่น นักท่องเที่ยว พ่อค้า ทหาร หมอสอนศาสนา และผู้อพยพยังคงย้ายถิ่นที่อยู่จาก
แห่งหนึ่งไปยังแห่งอื่นๆ เขาเหล่านั้นมักนาวัฒนธรรมของพวกเขาติดตัวไปด้วยเสมอ
วัฒนธรรมไทยในภาคเหนือ
 ภาคเหนือ มีลักษณะเป็นเทือกเขา สลับกับที่ ราบ ผู้คนจะกระจายตัวอยู่เป็นกลุ่ม มีวิถี
ชีวิต และขนบธรรมเนียมเป็นของตนเอง แต่ก็มีการติดต่อระหว่างกัน วัฒนธรรมของ
ภาคเหนือหรือ อาจเรียกว่า "กลุ่มวัฒนธรรมล้านนา" ซึ่งเป็น วัฒนธรรมเก่าแก่และมีเอกลักษณ์
เฉพาะตัวทั้ง สาเนียงการพูด การขับร้อง ฟ้อนรา หรือการจัด งานฉลองสถานที่สาคัญที่มีแต่
โบราณ เช่น พระธาตุดอยสุเทพ วัดเจดีย์หลวง เป็นต้น
► ประเพณียี่เป็ง เป็นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีล้านนาที่จัดทาขึ้นในวันเพ็ญเดือน 2
ของชาวล้านนา เป็นภาษาคาเมืองในภาคเหนือ คาว่า “ยี่” แปลว่า สอง และคาว่า “เป็ง” ตรงกับ
คาว่า “เพ็ญ” หรือพระจันทร์เต็มดวง ประเพณียี่เป็งจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 13ค่า ถึง วันขึ้น 14 ค่า
พ่ออุ้ยแม่อุ้ยและผู้มีศรัทธาก็จะพากันไปถือศีลนอกจากนั้นยังมีการประดับตกแต่งวัดด้วยตุง
ช่อประทีป และ จุดโคมลอยปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้าเพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณีบนสรวงสวรรค์
ชั้นดาวดึงส์
► ประเพณีแห่สลุงหลวง ประเพณีที่งดงามของชาวล้านนาจังหวัดลาปางที่จัดขึ้นในช่วง
เทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ในงานจะมีการแห่สลุงหลวงหรือขันน้าตามประเพณีโบราณไป
รอบเมือง เพื่อรับน้าขมิ้นส้มป่อยจากประชาชนไปสรงแด่พระแก้วดอนเต้าพระพุทธรูป
ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง
► ประเพณีบูชาอินทขีล เป็นประเพณีประจาปีของชาวเชียงใหม่ที่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญา
ชาวบ้านผสมผสานความเชื่อถือผีดั้งเดิมและพุทธศาสนาที่เข้ามาภายหลังเพื่อเป็นการสรงน้าเสา
หลักเมืองและสรงน้าถวายพระเจ้าฝนแสนห่าองค์ประธานในพิธีและเพื่อเป็นการสร้างขวัญกาลังใจ
ของผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมาแต่เดิมในยามบ่ายจะพากันเตรียมดอกไม้เครื่องบูชามาจัดเรียง
ใส่ในตะกร้าเพื่อทาการใส่ขันดอกหรือการถวายดอกไม้บูชาอินทขีลที่บริเวณหน้าวิหารของวัดเจดีย์
หลวง
► ประเพณีเลี้ยงผี เป็นประเพณีดั้งเดิมของชาวเมืองลาปางโดยจะจัดให้มีขึ้นระหว่างเดือน 6
เหนือ จนถึงเดือน 8 ของทุกๆ ปี เพื่อทาพิธีเซ่นสรวงวิญญาณบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้วเมื่อ
ถึงวันทาพิธี ผู้ที่เป็นหัวหน้าครอบครัวและญาติมิตรก็จะนาเครื่องอุปโภคบริโภคไปถวายผี
บรรพบุรุษของตน โดยจะทาพิธีแยกออกเป็น 2 แบบ คือการเลี้ยงผีผู้ที่ตายไปแล้ว โดยการ
ฟ้อนราอีกอย่างหนึ่งซึ่งเรียกว่า “ผีมด” และ”ผีเม้ง”
วัฒนธรรมไทยในภาคอีสาน
 ภาคอีสาน มีพื้นที่กว้างใหญ่ พื้นที่ราบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักมีทะเลสาบรูปแอก
เป็นจานวนมาก แต่ทะเลสาบเหล่านี้จะมีน้าเฉพาะฤดูฝนเท่านั้น เมื่อถึงฤดูร้อนน้าก็จะเหือด
แห้งไปหมด ภาคนี้จึงมีปัญหาเรื่องการขาดแคลน ทาให้พื้นที่บางแห่งไม่สามารถใช้ประโยชน์
ในการเกษตร ด้วยที่มีความแห้งแล้ง ขาด แคลนน้า ทาให้เกิดความเชื่อ และประเพณีเกี่ยวข้อง
กับการขอฝน เช่น งานบุญบั้งไฟ ซึ่งถือว่าเป็นเทศกาลสาคัญ หรือ ทาให้มีกลุ่มคนหลายกลุ่ม
อพยพเข้ามาจากดิน แดนใกล้เคียง มีการสร้างสรรค์วัฒนธรรมของกลุ่มขึ้น เช่น การพูดภาษา
อีสาน ภาษาเขมร ภาษาส่วย การ แสดงหมอลา การร้องกันตรึม
► ผีตาโขน เป็นประเพณีที่จัดขึ้นในอาเภอด่านซ้าย ของจังหวัดเลย ซึ่งมีพื้นที่อยู่ทางภาค
อีสานของไทย มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีตั้งแต่มี บุญหลวง คือบุญพระเวชสันดรและบุญบั้ง
ไฟรวมกัน ซึ่งเป็นเวลานาน หลายร้อยปีมาแล้ว เดิมผีตาโขน มีชื่อเรียกว่า ผีตามคน เป็น
เทศกาลที่ได้รับอิทธิพลมาจาก มหาเวชสันดร ชาดกในทางพระพุทธศาสนา
► แห่นางแมว เนื่องจากสังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม ดังนั้นหากฝนที่เคยตกต้องตาม
ฤดูกาลไม่ตกย่อมสร้างความเดือนร้อนให้กับชาวนาชาวไร่ เพราะฉะนั้นเพื่อให้ฝนตกลงมาจะ
ได้มีน้าเพียงพอในการทาการเกษตรกรรมจึงต้องทาพิธี “แห่นางแมว” ขึ้น สาหรับความเชื่อ
เกี่ยวกับประเพณีแห่นางแมวนั้น คนไทยมีความเชื่อว่าฝนตกลงมาเพราะเทวดา เมื่อฝนไม่ตก
จึงต้องทาพิธีขอฝนกับเทวดา
► บุญบั้งไฟ เมื่อถึงเดือน๖ ชาวอีสานจะมีการจัดงานประเพณีที่สาคัญ หนึ่งในฮีตสิบสอง
จากความเชื่อในการบูชาพญาแถนให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล พร้อมเข้าสู่การทานาครั้ง เมื่อถึง
วันงาน ก่อนการประกวดประชันบั้งไฟประเภทต่างๆ จะมีขบวนแห่บั้งไฟตกแต่งด้วยสีสันที่
สวยงาม ตามมาด้วยเสียงดนตรีบรรเลงให้จังหวะในการเซิ้งบั้งไฟ เซิ้งกระติบ ฟ้อนขาลาย
ที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวอีสาน
วัฒนธรรมไทยในภาคกลาง
 ภาคกลาง บริเวณภาคกลางส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ที่เกิดจาก การทับถมดินตะกอนของ
แม่น้า การตั้งถิ่นฐานของ ผู้จะอยู่บริเวณน้า เช่น การพายเรือสินค้าจนกลาย เป็นตลาดน้า การ
เล่นเพลง หรือการอาศัยอยู่บน เรือนแพ เป็นต้น
► วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับที่อยู่อาศัย ชานกว้าง เมื่อมองดูแปลนของเรือนไทยทั่วไป จะเห็นพื้นที่ของ
ชานกว้างมากที่มีปริมาณถึงร้อยละ40 ของพื้นที่ทั้งหมด(ห้องระเบียงชาน)ถ้ารวมพื้นที่ของระเบียงเข้า
ไปด้วย จะมีปริมาณถึงร้อยละ60 พื้นที่นี้ เป็นส่วนอาศัยภายนอก ส่วนที่อาศัยหลับนอนมีฝากั้นเป็นห้อง
มีเนื้อที่เพียงร้อยละ40 ของพื้นที่ทั้งหมดสาเหตุที่พื้นที่อยู่อาศัยภายนอกมีปริมาณมากเพราะดินฟ้า
อากาศร้อนอบอ้าวนั่นเอง
เรือนครอบครัวขยาย โดยที่สรุปแล้วแผนผังของเรือนครอบครัวขยายมี 3 แบบ คือ
- จะปลูกเรียงเป็นแถวไปตามยาวต่อจากเรือนของพ่อแม่
- จะจัดวางตัวเรือนเป็นกลุ่มที่มีชานเชื่อมตรงกลางชานที่เชื่อมนี้เปิดโล่งไม่มีหลังคาคลุม
- ปลูกเรือนขึ้นใหม่อยู่ในบริเวณใกล้ๆ เป็นหลังๆ ที่ไม่มีชานเชื่อม
- เรือนคหบดี เป็นเรือนของผู้ที่มีฐานะ เจ้าของตั้งใจสร้างขึ้นให้มีขนาดใหญ่โต หรูหรา เห็นได้
ชัดเจนจาก การวางผัง
- เรือนร้านค้าริมน้า เป็นเรือนที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นร้านค้าขาย รวมทั้งกินอยู่หลับ นอน ฉะนั้นประโยชน์
ใช้สอยจึงต่างกับเรือนพักอาศัยทั่วไป เรือนแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหน้าเปิดเป็นร้านค้ามีที่สาหรับวาง
สินค้า ส่วนหลังเป็นที่อยู่อาศัย
- เรือนร้านค้าริมทาง เรือนร้านค้าริมทางเป็นเรือนที่สร้างขึ้น เพื่อประโยชน์ ทางการค้า และใช้พัก
อาศัยไปในตัว มีจุดมุ่งหมายเช่นเดียวกับเรือนร้านค้าริม
- เรือนตาหนัก เป็นเรือนสาหรับเชื้อพระวงศ์หรือเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ มีขนาด ใหญ่ หลายช่วงเสา
ลักษณะคล้ายกุฏิสงฆ์ซึ่งนามารวมกัน จานวน 6-9 ห้อง มีสัดส่วนใหญ่โตกว่าเรือนธรรมดา
- กุฏิสงฆ์ เป็นเรือนพักอาศัยชนิดหนึ่งของพระภิกษุสงฆ์ลักษณะคล้ายเรือนทั้งหลายที่กล่าวมา
► วัฒนธรรมที่สืบเนื่องจากการทาเกษตรกรรม คนในภาคกลางมีวัฒนธรรมที่สืบเนื่องจาก
การทาเกษตรกรรมมากมาย ทั้งวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับคน เช่น การลงแขกทานา การละเล่นเพลง
พื้นบ้าน และวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับศาสนา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามธรรมชาติ เช่น การบูชาแม่โพสพ
► วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีดินและน้าอุดมสมบูรณ์จึงเป็น
แหล่งปลูกข้าวที่สาคัญของประเทศ และมีอาหารการกินที่อุดมสมบูรณ์ทั้งพืช ผักและสัตว์
ต่างๆ คนภาคกลางนิยมรับประทานข้าวเจ้าเป็นอาหาร หลักในอดีตคนภาคกลางนิยมใช้ใบบัว
ห่อข้าวนาไปรับประทานเวลา ออกไปทางานในนา หรือการเดินทางเรียกกันว่า“ข้าวห่อใบ
บัว” กับ ข้าวที่นิยมมีเกือบทุกมื้ออาหาร คือ น้าพริกประเภทต่างๆเช่น น้าพริก เผา น้าพริก
กะปิ น้าพริกปลาย่าง รับประทานกับผักนานาชนิดที่หา ได้ในท้องถิ่น
► วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณีและพิธีกรรม
ประเพณีรับบัว เป็นประเพณีของชาวอาเภอบางพลี
จังหวัดสมุทรปราการ จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 ของทุกปี ในเทศกาลออกพรรษา
ตานานของประเพณี รับบัวตานานหนึ่งเล่าว่า ในสมัยก่อนนั้นอาเภอบางพลี เป็นแหล่งที่มี
ดอกบัวหลวงมากเมื่อถึงช่วงออกพรรษา ชาวบ้านที่อยู่ใกล้อาเภอบางพลี โดยเฉพาะที่อาเภอ
เมือง และอาเภอพระประแดงจะเดินทางไปเก็บดอกบัวที่อาเภอบางพลี เพื่อนามาประกอบพิธี
ทาบุญในวันออกพรรษา ต่อมาชาวบางพลีเป็นผู้เก็บดอกบัวไว้แจกให้ชาวบ้านต่างถิ่น เพื่อ
เป็นการทาบุญร่วมกัน
วัฒนธรรมไทยในภาคใต้
 ภาคใต้ ภูมิประเทศของภาคใต้มีเอกลักษณ์เฉพาะคือมีชายฝั่งประกบเทือกเขาสูงที่อยู่ตรง
กลาง ซึ่งไม่มีภูมิภาค อื่นๆ ภูมิประเทศเป็นหลักจึงเป็นเทือกเขาและชายฝั่งเป็นที่ราบจะมีอยู่
เป็นแนวแคบๆ แถบชายฝั่งทะเลและสองฝั่งลาทาให้มีคนที่ต่างภาษาต่างวัฒนธรรมอย่าง
หลากหลายเดินทางเข้ามาภาคใต้มีทั้งชาวพุทธ ชาวมุสลิม ต่างเชื้อชาติ ชาวเล อาศัยอยู่ดังนั้น
ภาคใต้จึง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจเพราะมีภูมิศาสตร์ที่งดงามมีชายฝั่งทะเลและมี
วัฒนธรรมหรือการดารงชีวิต ที่เป็นเอกลักษณ์
► วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณีและพิธีกรรม
ประเพณีชักพระ เป็นประเพณีท้องถิ่นในภาคใต้ตอนกลางเป็นประเพณีที่เกี่ยวข้องกับความ
ศรัทธาในพระ พุทธศาสนา และวิถีชีวิตชาวใต้ที่มีความผูกพันกับน้า ประเพณีชักพระหรือลาก
พระจัดขึ้นในช่วงออกพรรษาโดยเฉพาะในวันแรม1 ค่า เดือน 11 ด้วยความเชื่อว่าเป็นวันที่
พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากสวรรค์ชั้นดาว ดึงส์ลงมายังโลกมนุษย์จึงมีการจัดงานเพื่อแสดง
ความยินดี ประชาชนจึงอัญเชิญพระพุทธองค์ขึ้นประทับบนบุษบกที่จัดเตรียมไว้แล้วแห่
แหนไปยังที่ประทับ ส่วนใหญ่จะเป็นการจัดขบวนทางเรือ แต่บริเวณใดที่ ห่างไกลแม่น้าก็จะ
จัดพิธีทางบก
ประเพณีชักพระ
► วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดด เด่นเป็นเอกลักษณ์
เฉพาะสืบเนื่องจากดินแดนภาคใต้เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายของพ่อค้าจากอินเดีย
จีนและชวาในอดีตทาให้วัฒนธรรมของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดียใต้ซึ่งเป็นต้นตารับใน
การใช้เครื่องเทศปรุงอาหารได้เข้ามามีอิทธิพลอย่างมาก อาหารพื้นบ้านภาคใต้ทั่วไป มี
ลักษณะผสมผสานระหว่าง อาหารไทยพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้เช่น น้าบูดู ซึ่งได้มาจาก
การหมักปลาทะเลสดผสมกับเม็ดเกลืออาหารของภาคใต้จึงมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอื่นๆและด้วย
สภาพภูมิศาสตร์อยู่ติดทะเลทั้งสองด้านมีอาหารทะเลอุดมสมบูรณ์ แต่สภาพอากาศร้อนชื้น
ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและเครื่องจิ้มจึงมีรสจัดช่วยให้ร่าง กายอบอุ่นป้องกันการ
เจ็บป่วยได้อีกด้วย
แกงไตปลา ข้าวยา
วิธีอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
 ศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งที่มีการรวบรวมไว้
แล้วและยังไม่ได้ศึกษา เพื่อทราบความหมาย และความสาคัญของวัฒนธรรมในฐานะที่เป็น
มรดกของไทยอย่างถ่องแท้ ซึ่งความรู้ดังกล่าวถือเป็นรากฐานของการดาเนินชีวิต เพื่อให้
เห็นคุณค่า ทาให้เกิดการยอมรับ และนาไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมต่อไป
 ส่งเสริมและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมภายในประเทศและระหว่างประเทศโดยการใช้
ศิลปวัฒนธรรมที่เป็นสื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน
วิธีอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
 จัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศทางด้านวัฒนธรรมเพื่อเป็นศูนย์กลางเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ผลงาน เพื่อให้ประชาชนเข้าใจ สามารถเลือกสรร ตัดสินใจ และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับการ
ดาเนินชีวิตทั้งนี้สื่อมวลชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้น
ด้วย
 ส่งเสริมให้ทุกคนเห็นคุณค่า ร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่นเพื่อ
สร้างความเข้าใจและมั่นใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยนและตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆ
อย่างเหมาะสม
วิธีอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
 รณรงค์ให้ประชาชนและภาคเอกชนตระหนักในความสาคัญ ของวัฒนธรรม ว่าเป็นเรื่อง
ที่ทุกคนต้องให้การรับผิดชอบร่วมกันในการส่งเสริมสนับสนุน ประสานงานการบริการ
ความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์สาหรับจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม
 สร้างทัศนคติ ความรู้ และความเข้าใจว่าทุกคนมีหน้าที่เสริมสร้าง ฟื้นฟู และการดูแล
รักษา สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมที่เป็นสมบัติของชาติและมีผลโดยตรง
ของความเป็นอยู่ของทุกคน
อ้างอิง
 http://www.baanjomyut.com/library/thai_culture3/ ข้อมูล
 https://suzasunarat.wordpress.com/ข้อมูล
 https://sites.google.com/site/mhutooo/wathnthrrm ข้อมูล
 http://www.xn--k3cikmwc5gwb5fxbya.com/category/ ข้อมูล
 https://suphaphan2535.wordpress.com/2012/08/08/ ข้อมูล
อ้างอิง
 http://image.mcot.net/media/images/2012-11-09/20121109164141.jpg
 http://www.nongkhai-culture.org/A.Mueang/A.Mueang-
link/way%20of%20life_2.jpg
 http://www.kalyanamitra.org/th/images/dailydhamma/2556/10/561106_kt104
7.gif
 http://www.dmc.tv/images/00-iimage/Katong-1.jpg
 http://travel.mthai.com/wp-content/uploads/2014/09/E76_5605.jpg
 http://www.sakonnakhonguide.com/upload/pics/6d416169def9b2fce5c696f83
89830c8.jpg
อ้างอิง
 http://www.sakonnakhonguide.com/upload/pics/cebe910a626bd50ab19879b5d31de
637.jpg
 http://thailandlampang.com/images/09_tradition/salungluang/salungluang3.jpg
 http://www.banmuang.co.th/uploads/news/img/galleryL/16252_1431489405_2_th.
jpg
 http://img.prapayneethai.com/file-pic/tradition/north_east/thnetra12303/01.jpg
 http://salm.blob.core.windows.net/review-source/8cb00bae-5240-05a4-ff41-
52930d1d9442.jpg
 http://kp.thaibuffer.com/o/img_cms2/user/natthida/AFP/photo12.jpg
อ้างอิง
 https://i.ytimg.com/vi/YTASOcigFNA/maxresdefault.jpg
 http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2007/12/K6161288/K616128
8-40.jpg
 http://www.natsima.com/wp-content/uploads/2014/09/rice-farmers2.jpg
 http://drinkingalkalinewater.com/wp-content/uploads.jpg
 https://jokkerch.files.wordpress.com/2015/09/1418129890-s59-o.jpg
 http://image.dek-d.com/24/2610834/106277986
ผู้จัดทา
1. นางสาวธัญวรัตน์ ประทุมสุวรรณ เลขที่ 34
2. นายภราดร สิริพฤกษา เลขที่ 41
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3

More Related Content

Similar to วัฒนธรรมไทย งานคู่

วัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdfวัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdf
ssuser2aa5d7
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
Korawan Sangkakorn
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1Ning Rommanee
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Praew Pizz
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกอิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
timtubtimmm
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนา
Rujruj
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
KKloveyou
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
Khwanchai Phunchanat
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคามแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
ฉันนี่แหละ มารตัวแม่
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านkrunoony
 
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
Boonlert Aroonpiboon
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to วัฒนธรรมไทย งานคู่ (20)

วัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdfวัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdf
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
หนึ่ง
หนึ่งหนึ่ง
หนึ่ง
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกอิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนา
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคามแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
 
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 

วัฒนธรรมไทย งานคู่