SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน
นาฏศิลป์ไทย เอกลักษณ์ประจาชาติ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
น.ส อารยา หมื่นศรี 10
พริมา พันธ์ไพบูลย์ 26
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
น.ส อารยา หมื่นศรี 10
น.ส พริมา พันธ์ไพบูลย์ 26
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
นาฏศิลป์ ไทย เอกลักษณ์ประจาชาติ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
National identity and thai arts
ประเภทโครงงาน
โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
น.ส อารยา หมื่นศรี/น.ส พริมา พันธ์ไพบูลย์
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2
3
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมาก สืบเนื่องด้วยอิทธิพลของความเจริญทางเทคโนโลยีหรือ
อิทธิพลของค่านิยมที่ผิดของผู้ปกครองที่ทาให้เยาวชนรุ่นใหม่ห่างเหินจากความเป็นไทย ไม่ให้หันมาศึกษาความ
เป็นไทย เช่นการฟ้อน รา ศิลปะการแสดงของชาติไทยเราคนรุ่นใหม่เริ่มไม่เห็นคุณค่า แต่จริงๆแล้วศิลปวัฒนธรรม
ไทยมีความสาคัญ เพราะเป็นวิถีชีวิตของคนไทย ทาให้เห็นความเป็นชาติ การส่งเสริมอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยเป็น
หนทางหนึ่งอันที่จะส่งผลให้ผู้ที่ได้ศึกษาเรียนรู้ศิลปะไทย และยังเป็นการส่งเสริมให้นาฏศิลป์ได้มีการแพร่หลายแก่
คนรุ่นหลังมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถนาไปพัฒนาตนเอง เพิ่มศักยภาพทางด้านนาฏศิลป์ไทยและเป็นการอนุรักษ์
วัฒนธรรมไทยอีกด้วย.
วัตถุประสงค์
1. 1.มีความรู้ความเข้าใจในความหมายของนาฏศิลป์
2. 2.ศึกษาความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์
3. พัฒนาการแสดงนาฏศิลป์
4. อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
ขอบเขตโครงงาน
1. 1.ระยะเวลาในการทาโครงงาน ภาคเรียนที่1-2
2. ใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการหาโครงงาน
3. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย
4. เพื่ออนุรักษ์และ ส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมนาฏศิลป์ไทยแก่คนรุ่นหลัง
หลักการและทฤษฎี
นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะแห่งการฟ้อนรา ที่มีสมมติฐานมาจาก
ธรรมชาติแต่ได้รับการตกแต่งและปรับปรุงให้งดงามยิ่งขึ้นจนก่อให้เกิด
อารมณ์สะเทือนใจแก่ผู้ดูผู้ชม โดยแท้จริงแล้วการฟ้อนราก็คือศิลปะของการ
เคลื่อนไหวอวัยวะต่าง ๆ ของมนุษย์เช่น แขน ขา เอว ไหล่ หน้าตาฯลฯ ด้วย
เหตุนี้ธรรมชาติที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นของการฟ้อนราจึงมาจากอิริยาบถต่าง ๆ
ของมนุษย์ได้แก่ ยืน เดิน นั่ง นอน ฯลฯตามปกติการเดินของคนเราจะก้าวเท้า
พร้อมทั้งแกว่งแขนสลับกันไปเช่นเมื่อก้าวเท้าซ้ายก็จะแกว่งแขนขวาออกและ
เมื่อก้าวเท้าขวาก็จะแกว่งแขนซ้ายออกสลับกันเพื่อเป็นหลักในการทรงตัวครั้น
4
เมื่อนามาตกแต่งเป็นท่าราขึ้นก็กลายเป็นท่าเดินที่มีลีลาการก้าวเท้าและแกว่งแขนให้ได้
สัดส่วนงดงามถูกต้องตามแบบแผนที่กาหนด ตลอดจนท่วงทานองและจังหวะเพลง
นาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากอากัปกิริยาของสามัญชนเป็นพื้นฐานซึ่งโดยทั่วไปมนุษย์ทุกคน
ย่อมมีอารมณ์ต่าง ๆ ได้แก่ รัก โกรธ โศกเศร้าเสียใจ ดีใจ ร้องไห้ฯลฯ แต่ที่น่าสังเกตก็คือเมื่อ
มนุษย์มีอารมณ์อย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้นนอกจากจะมีความรู้สึกเกิดขึ้นในจิตใจแล้วยังแสดง
ปฏิกิริยาตอบโต้ออกมาทางกายในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น
รัก - หน้าตากิริยาที่แสดงออก อ่อนโยน รู้จักเล้าโลม เจ้าชู้
โกรธ - หน้าตาบึ้งตึง กระทืบเท้า ชี้หน้าด่าว่าต่าง ๆ
โศกเศร้า, เสียใจ - หน้าตากิริยาละห้อยละเหี่ย ตัดพ้อต่อว่า ร้องไห้
สรุปได้ว่า นาฏศิลป์ไทยเกิดมาจากกิริยาท่าทางซึ่งแสดงออกในทางอารมณ์ของ
มนุษย์ปุถุชนอากัปกิริยาต่าง ๆเหล่านี้เป็นมูลเหตุให้ปรมาจารย์ทางศิลปะนามา
ปรับปรุงบัญญัติสัดส่วนและกาหนดวิธีการขึ้น จนกลายเป็นท่าฟ้อนรา โดยวางแบบ
แผนลีลาท่าราของมือ เท้าให้งดงาม รู้จักวิธีเยื้อง ยัก และกล่อมตัวให้สอดคล้อง
สัมพันธ์กันจนเกิดเป็นท่าราขึ้นและมีวิวัฒนาการปรับปรุงมาตามลาดับ จนดูประณีต
งดงาม อ่อนช้อยวิจิตรพิสดารจนถึงขั้นเป็นศิลปะได้
นอกจากนี้ นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามา
ผสมผสานด้วย เช่นวัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้าและ
ตานานการฟ้อนรา โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือผ่านชนชาติชวา
และเขมรก่อนที่จะนามาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่นตัวอย่างของ
เทวรูปศิวะปางนาฏราช ที่สร้างเป็นท่าการร่ายราของ พระอิศวรซึ่งมีทั้งหมด 108ท่า หรือ
108กรณะ โดยทรงฟ้อนราครั้งแรกในโลก ณตาบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้
ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู นับเป็นคัมภีร์สาหรับการฟ้อนราแต่งโดยพระภรตมุนี เรียกว่า
คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็นอิทธิพลสาคัญต่อแบบแผนการสืบสานและการถ่ายทอด
นาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบแบบแผนการเรียน การ
ฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนียม มาจนถึงปัจจุบันอย่างไรก็ตาม บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐาน
ว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฏศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตามประวัติการ
สร้างเทวาลัยศิวะนาฏราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800ซึ่งเป็นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัยดังนั้นท่าราไทยที่ดัดแปลงมา
จากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไขปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนามาสู่การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนามาสู่การประดิษฐ์ท่าทางการร่าย
ราและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน
5
นาฏศิลป์นอกจากจะเป็นเครื่องมือบันเทิงใจสาหรับมนุษย์แล้ว นาฏศิลป์ยังเป็นการแสดงออกทางศิลปวัฒนธรรมที่ดี
ของชาติและมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของมนุษย์ในพิธีกรรมต่างๆ ตลอดทั้งยังสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่าง
ของสังคม ซึ่งส่งผลให้นาฏศิลป์มีความสาคัญดังนี้
1 นาฏศิลป์แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ ที่แสดงให้เห็น
ถึงระดับ
จิตใจสภาพความเป็นอยู่ความรู้ความสามารถ ความเป็นไทย ความ
เจริญรุ่งเรือง
วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ดังที่ เรณู โกศินานนท์ (2535, 6) กล่าวถึง
นาฏศิลป์ไทย
ที่แสดงถึงความเป็นไทยไว้ดังนี้
1.1 ท่าราอ่อนช้อยงดงาม และแสดงอารมณ์ตามลักษณะที่แท้จริงของคน
ไทย
1.2 มีดนตรีประกอบ
1.3 คาร้อง หรือเนื้อร้องจะต้องเป็นคาประพันธ์ คาร้องนี้ทาให้ผู้สอนหรือผู้
รา
กาหนดท่าราไปตามเนื้อร้อง
1.4 เครื่องแต่งกายซึ่งต่างกับของชาติอื่นมีแบบอย่างของตนโดยเฉพาะ
2 นาฏศิลป์เป็นแหล่งรวมของศิลปะแขนงต่างๆ เช่น ศิลปะในการประพันธ์
หรือวรรณคดี ศิลปะในการเขียนภาพ ศิลปะในการปั้น หล่อ แกะสลัก
ศิลปะในการออกแบบก่อสร้างอาคารสถานที่ ศิลปะในการออกแบบเครื่อง
แต่งกาย
ตลอดจนไฟฟ้า แสง เสียง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า นาฏศิลป์คือเป็นแหล่งรวม
ของศิลปะสาขาต่างๆ เข้าด้วยกัน จากความสาคัญของนาฏศิลป์ที่กล่าวมาใน
ข้างต้น จึงได้จัดให้มีการเรียนการสอน
นาฏศิลป์และส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีแก่นักเรียน ดังนี้
6
1. ส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
2. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทย
3. ปลูกฝังลักษณะนิสัยทางศิลปะ
4. ฝึกปฏิบัติเพื่อเกิดความรู้ความชานาญ สามารถปรับปรุงและส่งเสริมการแสดงออก
วิธีดาเนินงาน
1.ค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2.ค้นคว้าข้อมูลในหนังสือ / วารสาร / นิตยสาร
3.สอบถามผู้เชี่ยวชาญ
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อินเตอร์เน็ต
2. หนังสือ
3. คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
------------------------------
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน 
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 
3 จัดทาโครงร่างงาน 
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 
5 ปรับปรุงทดสอบ 
6 การทาเอกสารรายงาน 
7 ประเมินผลงาน 
8 นาเสนอโครงงาน
7
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถส่งเสริมความรู้ ทักษะ ด้านนาฏศิลป์ไทย ให้แก่ผู้ที่ได้เข้ามาศึกษาได้
2. สามารถให้ผู้คนตระหนักถึงประวัติ ความสาคัญ ความงดงาม นาฏศิลป์ไทยได้
3. สามารถส่งเสริมให้ผู้คนได้รับความรู้ ประวัติ คุณค่า และ มนต์เสน่ห์ของนาฏศิลป์ไทย
4. สามารถนาทักษะความรู้ของนาฏศิลป์ไทยไปประยุกต์ให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเป็นชิ้นงานที่
สร้างสรรค์ได้
สถานที่ดาเนินการ
1. โรงเรียน
2. บ้าน
3. ห้องสมุด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระดนตรีนาฏศิลป์
แหล่งอ้างอิง
- (thaigoodview.ประวัติความเป็นมานาฎศิลป์ ไทย.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา:http://www.thaigoodview.com/node/32461)
- ( ครูอัษ.รักษ์นาฏศิลป์ ไทย.(ออนไลน์).แหล่งที่มา:
http://www.oknation.net/blog/assada999/2009/11/15/entry-2 )
- ( บ้านนาฏศิลป์ไทย.คุณค่าที่ได้รับจากนาฏศิลป์ ไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา
:http://www.natasinthai.com/value.html )
- ( ๏Nameless๏ .ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ ไทย.(ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://board.postjung.com/642545.html )

More Related Content

What's hot

การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรีศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรีPattharapong Sirisuwan
 
2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัย2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัยSAM RANGSAM
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)peter dontoom
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้hackinteach
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยPadvee Academy
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31Phai Trinod
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกKlangpanya
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1จารุ โสภาคะยัง
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 

What's hot (20)

การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรีศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
 
2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัย2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัย
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
 
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 

Similar to โครงงงาน1

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานPhuNn Kmpkwp
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์No Zilla
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2Kaopod Napatsorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์mintra_duangsamorn
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556คุกกี้ ซังกะตัง
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์pyopyo
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)Nu Beer Yrc
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีBam Hattamanee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2Ploy Wanida
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Arpaporm Homnan
 

Similar to โครงงงาน1 (20)

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Varasan
VarasanVarasan
Varasan
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ศิลป์ พีระศรี502
ศิลป์ พีระศรี502ศิลป์ พีระศรี502
ศิลป์ พีระศรี502
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
 
ใบบัวบก
ใบบัวบกใบบัวบก
ใบบัวบก
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

โครงงงาน1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน นาฏศิลป์ไทย เอกลักษณ์ประจาชาติ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส อารยา หมื่นศรี 10 พริมา พันธ์ไพบูลย์ 26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม น.ส อารยา หมื่นศรี 10 น.ส พริมา พันธ์ไพบูลย์ 26 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) นาฏศิลป์ ไทย เอกลักษณ์ประจาชาติ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) National identity and thai arts ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส อารยา หมื่นศรี/น.ส พริมา พันธ์ไพบูลย์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2
  • 3. 3 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมาก สืบเนื่องด้วยอิทธิพลของความเจริญทางเทคโนโลยีหรือ อิทธิพลของค่านิยมที่ผิดของผู้ปกครองที่ทาให้เยาวชนรุ่นใหม่ห่างเหินจากความเป็นไทย ไม่ให้หันมาศึกษาความ เป็นไทย เช่นการฟ้อน รา ศิลปะการแสดงของชาติไทยเราคนรุ่นใหม่เริ่มไม่เห็นคุณค่า แต่จริงๆแล้วศิลปวัฒนธรรม ไทยมีความสาคัญ เพราะเป็นวิถีชีวิตของคนไทย ทาให้เห็นความเป็นชาติ การส่งเสริมอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยเป็น หนทางหนึ่งอันที่จะส่งผลให้ผู้ที่ได้ศึกษาเรียนรู้ศิลปะไทย และยังเป็นการส่งเสริมให้นาฏศิลป์ได้มีการแพร่หลายแก่ คนรุ่นหลังมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถนาไปพัฒนาตนเอง เพิ่มศักยภาพทางด้านนาฏศิลป์ไทยและเป็นการอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยอีกด้วย. วัตถุประสงค์ 1. 1.มีความรู้ความเข้าใจในความหมายของนาฏศิลป์ 2. 2.ศึกษาความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ 3. พัฒนาการแสดงนาฏศิลป์ 4. อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ขอบเขตโครงงาน 1. 1.ระยะเวลาในการทาโครงงาน ภาคเรียนที่1-2 2. ใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการหาโครงงาน 3. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย 4. เพื่ออนุรักษ์และ ส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมนาฏศิลป์ไทยแก่คนรุ่นหลัง หลักการและทฤษฎี นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะแห่งการฟ้อนรา ที่มีสมมติฐานมาจาก ธรรมชาติแต่ได้รับการตกแต่งและปรับปรุงให้งดงามยิ่งขึ้นจนก่อให้เกิด อารมณ์สะเทือนใจแก่ผู้ดูผู้ชม โดยแท้จริงแล้วการฟ้อนราก็คือศิลปะของการ เคลื่อนไหวอวัยวะต่าง ๆ ของมนุษย์เช่น แขน ขา เอว ไหล่ หน้าตาฯลฯ ด้วย เหตุนี้ธรรมชาติที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นของการฟ้อนราจึงมาจากอิริยาบถต่าง ๆ ของมนุษย์ได้แก่ ยืน เดิน นั่ง นอน ฯลฯตามปกติการเดินของคนเราจะก้าวเท้า พร้อมทั้งแกว่งแขนสลับกันไปเช่นเมื่อก้าวเท้าซ้ายก็จะแกว่งแขนขวาออกและ เมื่อก้าวเท้าขวาก็จะแกว่งแขนซ้ายออกสลับกันเพื่อเป็นหลักในการทรงตัวครั้น
  • 4. 4 เมื่อนามาตกแต่งเป็นท่าราขึ้นก็กลายเป็นท่าเดินที่มีลีลาการก้าวเท้าและแกว่งแขนให้ได้ สัดส่วนงดงามถูกต้องตามแบบแผนที่กาหนด ตลอดจนท่วงทานองและจังหวะเพลง นาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากอากัปกิริยาของสามัญชนเป็นพื้นฐานซึ่งโดยทั่วไปมนุษย์ทุกคน ย่อมมีอารมณ์ต่าง ๆ ได้แก่ รัก โกรธ โศกเศร้าเสียใจ ดีใจ ร้องไห้ฯลฯ แต่ที่น่าสังเกตก็คือเมื่อ มนุษย์มีอารมณ์อย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้นนอกจากจะมีความรู้สึกเกิดขึ้นในจิตใจแล้วยังแสดง ปฏิกิริยาตอบโต้ออกมาทางกายในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น รัก - หน้าตากิริยาที่แสดงออก อ่อนโยน รู้จักเล้าโลม เจ้าชู้ โกรธ - หน้าตาบึ้งตึง กระทืบเท้า ชี้หน้าด่าว่าต่าง ๆ โศกเศร้า, เสียใจ - หน้าตากิริยาละห้อยละเหี่ย ตัดพ้อต่อว่า ร้องไห้ สรุปได้ว่า นาฏศิลป์ไทยเกิดมาจากกิริยาท่าทางซึ่งแสดงออกในทางอารมณ์ของ มนุษย์ปุถุชนอากัปกิริยาต่าง ๆเหล่านี้เป็นมูลเหตุให้ปรมาจารย์ทางศิลปะนามา ปรับปรุงบัญญัติสัดส่วนและกาหนดวิธีการขึ้น จนกลายเป็นท่าฟ้อนรา โดยวางแบบ แผนลีลาท่าราของมือ เท้าให้งดงาม รู้จักวิธีเยื้อง ยัก และกล่อมตัวให้สอดคล้อง สัมพันธ์กันจนเกิดเป็นท่าราขึ้นและมีวิวัฒนาการปรับปรุงมาตามลาดับ จนดูประณีต งดงาม อ่อนช้อยวิจิตรพิสดารจนถึงขั้นเป็นศิลปะได้ นอกจากนี้ นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามา ผสมผสานด้วย เช่นวัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้าและ ตานานการฟ้อนรา โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือผ่านชนชาติชวา และเขมรก่อนที่จะนามาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่นตัวอย่างของ เทวรูปศิวะปางนาฏราช ที่สร้างเป็นท่าการร่ายราของ พระอิศวรซึ่งมีทั้งหมด 108ท่า หรือ 108กรณะ โดยทรงฟ้อนราครั้งแรกในโลก ณตาบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้ ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู นับเป็นคัมภีร์สาหรับการฟ้อนราแต่งโดยพระภรตมุนี เรียกว่า คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็นอิทธิพลสาคัญต่อแบบแผนการสืบสานและการถ่ายทอด นาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบแบบแผนการเรียน การ ฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนียม มาจนถึงปัจจุบันอย่างไรก็ตาม บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐาน ว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฏศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตามประวัติการ สร้างเทวาลัยศิวะนาฏราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800ซึ่งเป็นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัยดังนั้นท่าราไทยที่ดัดแปลงมา จากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไขปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนามาสู่การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนามาสู่การประดิษฐ์ท่าทางการร่าย ราและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน
  • 5. 5 นาฏศิลป์นอกจากจะเป็นเครื่องมือบันเทิงใจสาหรับมนุษย์แล้ว นาฏศิลป์ยังเป็นการแสดงออกทางศิลปวัฒนธรรมที่ดี ของชาติและมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของมนุษย์ในพิธีกรรมต่างๆ ตลอดทั้งยังสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่าง ของสังคม ซึ่งส่งผลให้นาฏศิลป์มีความสาคัญดังนี้ 1 นาฏศิลป์แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ ที่แสดงให้เห็น ถึงระดับ จิตใจสภาพความเป็นอยู่ความรู้ความสามารถ ความเป็นไทย ความ เจริญรุ่งเรือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ดังที่ เรณู โกศินานนท์ (2535, 6) กล่าวถึง นาฏศิลป์ไทย ที่แสดงถึงความเป็นไทยไว้ดังนี้ 1.1 ท่าราอ่อนช้อยงดงาม และแสดงอารมณ์ตามลักษณะที่แท้จริงของคน ไทย 1.2 มีดนตรีประกอบ 1.3 คาร้อง หรือเนื้อร้องจะต้องเป็นคาประพันธ์ คาร้องนี้ทาให้ผู้สอนหรือผู้ รา กาหนดท่าราไปตามเนื้อร้อง 1.4 เครื่องแต่งกายซึ่งต่างกับของชาติอื่นมีแบบอย่างของตนโดยเฉพาะ 2 นาฏศิลป์เป็นแหล่งรวมของศิลปะแขนงต่างๆ เช่น ศิลปะในการประพันธ์ หรือวรรณคดี ศิลปะในการเขียนภาพ ศิลปะในการปั้น หล่อ แกะสลัก ศิลปะในการออกแบบก่อสร้างอาคารสถานที่ ศิลปะในการออกแบบเครื่อง แต่งกาย ตลอดจนไฟฟ้า แสง เสียง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า นาฏศิลป์คือเป็นแหล่งรวม ของศิลปะสาขาต่างๆ เข้าด้วยกัน จากความสาคัญของนาฏศิลป์ที่กล่าวมาใน ข้างต้น จึงได้จัดให้มีการเรียนการสอน นาฏศิลป์และส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีแก่นักเรียน ดังนี้
  • 6. 6 1. ส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย 2. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทย 3. ปลูกฝังลักษณะนิสัยทางศิลปะ 4. ฝึกปฏิบัติเพื่อเกิดความรู้ความชานาญ สามารถปรับปรุงและส่งเสริมการแสดงออก วิธีดาเนินงาน 1.ค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 2.ค้นคว้าข้อมูลในหนังสือ / วารสาร / นิตยสาร 3.สอบถามผู้เชี่ยวชาญ แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อินเตอร์เน็ต 2. หนังสือ 3. คอมพิวเตอร์ งบประมาณ ------------------------------ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน  2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล  3 จัดทาโครงร่างงาน  4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน  5 ปรับปรุงทดสอบ  6 การทาเอกสารรายงาน  7 ประเมินผลงาน  8 นาเสนอโครงงาน
  • 7. 7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถส่งเสริมความรู้ ทักษะ ด้านนาฏศิลป์ไทย ให้แก่ผู้ที่ได้เข้ามาศึกษาได้ 2. สามารถให้ผู้คนตระหนักถึงประวัติ ความสาคัญ ความงดงาม นาฏศิลป์ไทยได้ 3. สามารถส่งเสริมให้ผู้คนได้รับความรู้ ประวัติ คุณค่า และ มนต์เสน่ห์ของนาฏศิลป์ไทย 4. สามารถนาทักษะความรู้ของนาฏศิลป์ไทยไปประยุกต์ให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเป็นชิ้นงานที่ สร้างสรรค์ได้ สถานที่ดาเนินการ 1. โรงเรียน 2. บ้าน 3. ห้องสมุด กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระดนตรีนาฏศิลป์ แหล่งอ้างอิง - (thaigoodview.ประวัติความเป็นมานาฎศิลป์ ไทย.(ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.thaigoodview.com/node/32461) - ( ครูอัษ.รักษ์นาฏศิลป์ ไทย.(ออนไลน์).แหล่งที่มา: http://www.oknation.net/blog/assada999/2009/11/15/entry-2 ) - ( บ้านนาฏศิลป์ไทย.คุณค่าที่ได้รับจากนาฏศิลป์ ไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :http://www.natasinthai.com/value.html ) - ( ๏Nameless๏ .ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ ไทย.(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://board.postjung.com/642545.html )