SlideShare a Scribd company logo
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 
ธนพล สราญจิตร์ 
คณะรัฐประศาสนศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
หัวข้อการบรรยาย 
1. บทนา 
2. การออกแบบวิจัย 
3. ตัวแปรและเครื่องชี้วัด 
4. การเก็บข้อมูลและการสุ่มตัวอย่าง 
5. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ 
6. การนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
บทนา
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ 
นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวคิด หลักการ และ 
กระบวนการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 
นักศึกษาสามารถออกแบบงานวิจัยเบื้องต้นได้ 
นักศึกษาสามารถดาเนินการวิจัย รวมถึงวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 
อย่างเป็นระบบได้ 
นักศึกษาสามารถนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยได้อย่าง 
เหมาะสม
ความสาคัญของการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 
เพื่อให้เข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น รวมถึงสิ่งที่ต้องการหา 
คาตอบ ผ่านกระบวนการวิจัยอย่างเป็นระบบ 
เพื่อเป็นแนวทางในการกาหนดนโยบายอันนาไปสู่การแก้ปัญหาที่ 
เกิดขึ้นกับองค์กรที่ได้ทาการวิจัย 
เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาองค์กรสู่การปฏิบัติงานที่มี 
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 
“งานวิจัยต้องทาด้วยหัวใจ ไม่ใช่แค่สมอง” 
# ผศ.สมทรง นุ่มนวล
ความหมายของการวิจัย (Research) 
การวิจัย (Research) คือ กระบวนการแสวงหา 
ข้อเท็จจริง หรือการพยายามค้นหาคาตอบ หรือหา 
ความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึน้ 
ในสังคม โดยใช้วิธีการศึกษาอย่างมีระเบียบและมี 
หลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการวิจัย 
1.การกาหนดปัญหาการวิจัย 2.การทบทวนวรรณกรรม 
3.การกาหนดสมมติฐาน 4.การออกแบบการวิจัย 
5.การกาหนดประชากร 6.การสร้างเครื่องมือเก็บ 
และกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูล 
7.การเก็บข้อมูลและ 8.การนาเสนองานวิจัย 
วิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งปัญหาการวิจัย 
1. ความสาคัญของปัญหา 
2. ความเป็นไปได้ 
3. ความน่าสนใจและความทันสมัย 
4. ความสนใจของผู้ที่จะวิจัย 
5. ความสามารถที่จะทาให้บรรลุผล
เกณฑ์ในการพิจารณาถึงความเหมาะสมของปัญหา 
ความเด่นชัด 
ความชัดเจน 
ทดสอบได้ 
มีความสาคัญทางทฤษฎี 
มีความสาคัญต่อส่วนรวม
แบบฟอร์มงานวิจัยที่นิยมใช้ในปัจจุบัน 
1 บทนา 
1.1 ความเป็นมาและความสา คัญของปัญหา 
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
1.3 ขอบเขตของการวิจัย 
1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
1.6 สมมติฐานในการวิจัย 
1.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย
2 เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 
2.1 กรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย 
2.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย 
2.3 ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 
3 วิธีดาเนินการวิจัย 
3.1 การกา หนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 
3.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 
3.4 การจัดกระทา และการวิเคราะห์ข้อมูล
4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 
4.1 การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 
4.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน 
4.4 ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ 
5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 
5.1 สรุปผลการวิจัย 
5.2 อภิปรายผลการวิจัย 
5.3 ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการวิจัย 
5.4 ข้อเสนอแนะ
การกาหนดสมมติฐาน 
สมมติฐาน คือ ข้อความที่มีลักษณะเสมือนข้อความ 
เชิงบอกเล่า แต่แท้ที่จริงแล้วเป็นการคาดคะเนถึง 
สภาพการณ์นั้นๆ
คุณสมบัติของสมมติฐานที่ดี 
 ทดสอบได้ 
 ชัดเจน 
 ระบุทิศทางของความสัมพันธ์ 
 ระบุขอบเขตของความสัมพันธ์
การกาหนดสมมติฐาน 
 การต้งัสมมตฐิานเป็นการคาดการณ์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว 
X Y 
ตัวแปรต้น (เหตุ) ตัวแปรตาม (ผล)
ตัวอย่างการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย 
ตัวแปรต้น 1 ตัว 
การจัดการเรียนการสอน (X) ความพึงพอใจของนักศึกษา (Y) 
ตัวแปรต้นมากกว่า 1 ตัว 
คุณภาพของอาจารย์ (X1) 
การจัดการเรียนการสอน (X2) ความพึงพอใจของนักศึกษา (Y) 
การประกันคุณภาพ (X3)
ประเภทของการวิจัย 
จาแนกตามวัตถุประสงค์ 
ของการวิจัย 
• การวิจัยแบบบุกเบิก 
• การวิจัยเชิงพรรณนา 
• การวิจัยเชิงอธิบาย 
จาแนกตามเหตุผล 
ของการวิจัย 
• การวิจัยพื้นฐาน 
• การวิจัยประยุกต์ 
จาแนกตามแบบวิจัย 
• แบบวิจัยแบบ 
ทดลอง 
• แบบวิจัยแบบไม่ 
ทดลอง
จาแนกตามความสามารถในการ 
ควบคุมสภาวการณ์ที่จะศึกษา 
จาแนกตามทตี่ั้งของการ 
ศึกษาวิจัย 
• การวิจัยใน 
ห้องทดลอง 
• การวิจัยใน 
สนาม 
จาแนกตามแหล่งข้อมูล 
• การวิจัยที่อาศัย 
ข้อมูลปฐมภูมิ 
• การวิจัยที่อาศัย 
ข้อมูลทุติยภูมิ
จาแนกตามลักษณะ 
ของการวิเคราะห์ 
ข้อมูล 
• การวิจัยเชิงคุณภาพ 
• การวิจัยเชิงปริมาณ
การออกแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย 
 การวิจัยแบบทดลอง 
 การวิจัยแบบกึ่งทดลอง 
 การวิจัยแบบไม่ทดลอง 
 การวิจัยแบบเตรียมทดลอง
การวิจัยแบบทดลอง 
 แบบทดลองที่มีกลุ่มควบคุม โดยเก็บข้อมูลทั้งก่อนและหลังจาก 
การดาเนินโครงการ 
 แบบทดลองที่มีกลุ่มควบคุม โดยเก็บข้อมูลเฉพาะหลังการดาเนิน 
โครงการ 
 แบบทดลองแบบสี่กลุ่มของซอโลมอน 
 แบบทดลองแบบแรนดอมไมซ์บลอค
การวิจัยแบบทดลอง 
การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม 
กลุ่มแรก มีตัวแปรต้นปรากฏอยู่ 
กลุ่มที่สอง เหมือนกลุ่มแรก ยกเว้น ไม่มีตัวแปรต้น 
 แบบทดลองที่มีกลุ่มควบคุม โดยเก็บข้อมูลทั้งก่อนและหลังจาก 
การดาเนินโครงการ 
 แบบทดลองที่มีกลุ่มควบคุม โดยเก็บข้อมูลเฉพาะหลักการดาเนิน 
กิจกรรมโครงการ 
 แบบทดลองสี่กลุ่มของซอโลมอน 
 แบบทดลองแบบแรนดอมไมซ์บลอค
แบบทดลองที่มีกลุ่มควบคุม โดยเก็บข้อมูลทั้งก่อนและหลังจากการ 
ดาเนินโครงการ 
ช่วงระยะเวลาที่ 1 ช่วงระยะเวลาที่ 2 
Oy X Oy (กลุ่มทดลอง) 
R 
Oy Oy (กลุ่มควบคุม) 
หมายเหตุ R = การสุ่มตัวอย่างแบบกระจายเพื่อจัดกลุ่ม 
Oy = การเก็บข้อมูล (เก็บ 2 ช่วงเวลา) 
X = การดาเนินการกับกลุ่มทดลอง
การวิจัยแบบกึ่งทดลอง 
 การออกแบบเชิงอนุกรมเวลา 
 การออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมที่ไม่เหมือนกลุ่มทดลอง 
 การออกแบบการทดสอบก่อนและหลัง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่ 
แตกต่างกัน
 การออกแบบเชิงอนุกรมเวลา 
O1 O2 O3 X O4 O5 O6 
 การออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมที่ไม่เหมือนกลุ่มทดลอง 
Oy X Oy (กลุ่มทดลอง) 
Oy Oy (กลุ่มควบคุม) 
หมายเหตุX = การดา เนินการกับกลุ่มทดลอง 
Oy = การเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างทั้งก่อนและหลัง 
ดาเนินการ
 การออกแบบการทดสอบก่อนและหลัง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่แตกต่างกัน 
ช่วงระยะเวลาที่ 1 ช่วงระยะเวลาที่ 2 
Oy X (กลุ่มทดลอง 1) 
R 
X Oy (กลุ่มทดลอง 2) 
ช่วงระยะเวลาที่ 1 ช่วงระยะเวลาที่ 2 
Oy X (กลุ่มทดลอง 1) 
R 
X Oy (กลุ่มทดลอง 2) 
Oy X (กลุ่มเปรียบเทียบ 1) 
R 
Oy (กลุ่มเปรียบเทียบง 2)
การวิจัยแบบไม่ทดลอง 
 การวิจัยตัดขวาง 
 การวิจัยแบบระยะยาว
 การวิจัยตัดขวาง = ศึกษาตามข้อมูลที่เป็นจริง 
ภูมิลาเนา (เมือง / ชนบท) 
การศึกษา การลงคะแนนเสียงเลือกต้งั
การวิจัยแบบระยะยาว 
 ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกันหลายครั้ง 
แบบของการวิจัยระยะยาว การเก็บข้อมูลครั้งที่ 
1 2 3 4 
กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C กลุ่ม D 
 ใช้กลุ่มตัวอย่างที่เปลี่ยนไปในแต่ละครั้ง 
แบบของการวิจัยระยะยาว การเก็บข้อมูลครั้งที่ 
1 2 3 4 
กลุ่มตัวอย่างที่เปลี่ยนไปในแต่ละครั้ง กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C กลุ่ม D
 แบบผสม 
แบบของการวิจัยระยะยาว การเก็บข้อมูลครั้งที่ 
1 2 3 4 
กลุ่มตัวอย่าง กลุ่ม A กลุ่ม A กลุ่ม A กลุ่ม A 
กลุ่ม C กลุ่ม C กลุ่ม D
การวิจัยแบบเตรียมทดลอง 
 แบบกลุ่มเดียวทดสอบครั้งเดียว 
 แบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลัง 
 แบบมีกลุ่มเปรียบเทียบ
 แบบกลุ่มเดียวทดสอบครั้งเดียว 
X Qy (กลุ่มทดลอง) 
หมายเหตุX = โครงการ หรือการดาเนินการกับกลุ่มตัวอย่าง 
Qy = การสังเกตการณ์ หรือการวัดตัวแปรตาม
 แบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลัง 
Q1 X Q2 (กลุ่มทดลอง) 
หมายเหตุX = โครงการ หรือการดาเนินการกับกลุ่มตัวอย่าง 
Q1 = เป็นการวัดตัวแปรตามก่อนโครงการ 
Q2 = เป็นการวัดตัวแปรตามหลังโครงการ
 แบบมีกลุ่มเปรียบเทียบ 
X Q1 (กลุ่มทดลอง) 
Q2 (กลุ่มเปรียบเทียบ) 
หมายเหตุX = โครงการ หรือการดาเนินการกับกลุ่มตัวอย่าง 
Q1 = เป็นการวัดตัวแปรตามในกลุ่มทดลอง 
Q2 = เป็นการวัดตัวแปรตามในกลุ่มเปรียบเทียบ
ตัวแปรและเครื่องชี้วัด
ความสาคัญของการนิยามต่อการวัด 
งานวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 
ตีความต่างกัน เข้าใจสับสน เข้าใจไม่ตรงกัน 
เราต้องจากัดความหมาย = นิยามเชิงปฏิบัติการ
การนิยามเชิงปฏิบัติการ 
 เป็นการระบุวิธีที่จะใช้วัดตัวแปรที่ต้องการศึกษาในการวิจัยครั้ง 
หนึ่งๆ 
ใช้เฉพาะกรณีของตัวแปรที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ความหมายไม่ 
ชัดเจน หรือไม่เป็นบรรทัดฐาน 
นิยามเชิงปฏิบัติการ เครื่องชี้วัด
การสร้างเครื่องชี้วัด 
จากนิยามเชิงปฏิบัติการ 
ของผู้อื่นที่ทาในเรื่องคล้าง 
คลึงกัน 
การปรึกษาหารือผู้ที่มี 
ประสบการณ์หรือผู้ที่มี 
ความชา นาญการ 
สร้างเครื่องชี้วัดของ 
ปรากฏการณ์หนึ่งๆขึ้นมา 
หลายๆตัว จากนั้นไปขอให้ 
ผู้ชา นาญการกลั่นรกอง
ระดับของการวัด 
ระดับการวัด แบ่งกลุ่มได้เรียงลา ดับได้แบ่งช่วงออกได้ 
เท่ากัน 
เริ่มต้นจากศูนย์ 
ธรรมชาติ 
แบบจัดประเภท 
(Nominal Scale) 
แบบจัดอันดับ 
(Ordinal Scale) 
แบบแบ่งช่วง 
(Interval Scale) 
แบบอัตราส่วน 
(Ratio Scale)
ตัวอย่างระดับของการวัดทั้ง 4 ระดับ 
I. Nominal Scale = เพศ, คณะ, อาชีพ 
II. Ordinal Scale = ระดับการศึกษา, ช่วงอายุ, ช่วงเงินเดือน 
III. Interval Scale = อุณหภูมิ, คะแนนสอบ, เกรดเฉลี่ย 
IV. Ratio Scale = อายุ, น้า หนัก, รายได้
การสร้างมาตรวัด 
มาตรวัด คือ ชุดของ สัญลักษณ์หรือ ตัวเลข ที่สร้างขึ้นมาใน 
ลักษณะที่สามารถนา ไปใช้วัดบุคคล หรือสิ่งที่ต้องการวัด โดยมีการ 
กา หนดไว้แน่นอนว่า คุณสมบัติใดควรจะได้คะแนน เท่าไร 
มาตรวัด ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 อย่าง 
ปรากฏการณ์ 
ตัวเลขหรือคะแนน 
วิธีการให้คะแนนกับปรากฏการณ์ต่างๆ 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อถือได้ของมาตรวัด 
จา นานตัวแปร 
ผู้ให้ข้อมูล 
วัดโดยตรงหรือทางอ้อม
ความแม่นตรง (Validity) ของมาตรวัด 
 นิยามความหมาย 
การวัดสิ่งที่ต้องการวัดได้อย่างถูกต้องแม่นยา 
 ชนิดของความแม่นตรง 
1.ความแม่นตรงตามเนื้อหา 
2.ความแม่นตรงตามความสัมพันธ์กับเกณฑ์ 
3.ความแม่นตรงตามมโนทัศน์
ความเชื่อถือได้ (Reliability) ของมาตรวัด 
 นิยามความหมาย 
การวัดระดับของความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ 
คลาดเคลื่อนสูง เชื่อถือได้ต่า 
คลาดเคลื่อนต่า เชื่อถือได้สูง 
 เกณฑ์ทดสอบความเชื่อถือได้ 
1.เกณฑ์ความมั่นคงหรือเสถียรภาพ 
2.เกณฑ์การทดแทนซึ่งกันและกัน 
3.เกณฑ์ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
วิธีการเพิ่มความเชื่อถือของมาตรวัด 
 เพิ่มจานวนข้อความเข้าไปในมาตรวัด 
 การตัดข้อความที่ไม่สอดคล้องออก 
 ใช้ถ้อยคาที่ชัดเจน รัดกุมในการเขียนข้อความในมาตรวัด
การเก็บข้อมูล
การกาหนดแหล่งข้อมูล 
 ข้อมูลปฐมภูมิ = ข้อมูลที่เก็บโดยตรงจากพื้นที่ / บุคคล 
1.การสังเกตการณ์ 
2.การใช้แบบสอบถาม 
3.การสัมภาษณ์ 
 ข้อมูลทุติยภูมิ = ข้อมูลของผู้อื่นที่ได้มีการเก็บข้อมูลมาแล้ว 
1.สถิติ 
2.จดหมายเหตุ ไดอารี่ บันทึก 
3.เอกสาร สิ่งตีพิมพ์เผยแพร่ ข้อมูลที่ผ่านสื่อมวลชน เช่น วิทยุ 
โทรทัศน์
วิธีการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ 
 การสังเกตการณ์ 
แบบไม่กาหนดกรอบไว้ล่วงหน้า 
1.การสังเกตการณ์โดยตรง 
2.การสัมภาษณ์เจาะลึก 
3.การศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์ทั่วไป 
แบบกาหนดกรอบไว้ล่วงหน้า 
 การใช้แบบสอบถาม 
 การสัมภาษณ์
วิธีการสร้างแบบสอบถาม 
ข้อเท็จจริง 
แนวคิดหรือเจตนารมณ์ 
ความรู้สึก 
พฤติกรรมในปัจจุบัน 
และในอดีต 
พฤติกรรมหรือกรอบ 
การกระทา ที่ควรจะเป็น
การเขียนข้อคาถาม 
 คาถามปลายปิด (Closed ended) 
 กาหนดคาตอบไว้ล่วงหน้า 
 นักวิจัยต้องมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะของคาตอบในทางที่จะเป็นไปได้ 
 นักวิจัยต้องซอยช่วงคาตอบให้ละเอียดเพียงพอที่จะฉายภาพของ 
ผู้ตอบได้ชัดเจน 
 คาถามปลายเปิด (Open ended) 
 เติมคาลงในช่วงว่าง 
 นักวิจัยไม่แน่ใจว่าคาตอบจะออกมาอย่างไร 
ต้องจัดหมวดหมู่คา ตอบ
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม 
 ทา รายการข้อมูลที่ต้องการทั้งหมดโดยละเอียด 
 เลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับการถามข้อมูล 
 ทา ร่างแรกแบบสอบถาม โดยเรียงข้อคา ถามที่คาดว่าผู้ตอบ 
สะดวกใจ และควรศึกษาแบบสอบถามจากผู้อื่นประกอบ 
 ปรับแก้ข้อความต่างๆ โดยควรให้หลายฝ่ายช่วยกันปรับแก้ 
 ทดสอบแบบสอบถาม (Pretest) 
 จัดพิมพ์แบบสอบถามให้สวยงาม ถูกต้อง ชัดเจน ชวนให้ตอบ มี 
คาชี้แจงวัตถุประสงค์ในการกรอกแบบสอบถาม
ข้อควรปฏิบัติ 
 ข้อคาถามไม่เกิน 10 หน้า / ใช้เวลาตอบไม่เกิน 30 นาที 
 คา ถามควรสั้น กะทัดรัด สะดวกในการวิเคราะห์และตีความ 
 มีเนื้อความให้ตอบประเด็นเดียว 
 เขียนคาถามบางข้อให้ตรวจสอบความจริงใจในการตอบ 
 คา ถามต้องไม่ทาให้ผู้ตอบรู้สึกว่าถูกบังคับ / ทาให้ผู้ตอบอาย 
 คาสั่น คาชี้แจง และตัวอย่างต้องชัดเจน 
 มีภาคคาแนะนาตัว / การขอความร่วมมือ / ชี้แจงวัตถุประสงค์ 
 เก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนโดยเร็วที่สุด 
 ควรให้ค่าตอบแทนไม่มากหรือน้อยไปด้วย 
 จัดพิมพ์ให้เรียบร้อย ใช้กระดาษขาว / สีอื่นที่เด่นชัด 
 ควรติดตามทวงคืนแบบสอบถามไม่เกิน 3 ครั้ง 
 รูปแบบและหน้าปกของแบบสอบถามควรทาให้เห็นเด่นชัด
วิธีการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม 
การสร้าง 
บรรยากาศ 
• วางตัวให้เหมาะสม เป็นกันเอง แนะนาตนเองและวัตถุประสงค์ 
• ถามประโยคสั้นๆ และตรงประเด็น 
วิธีการถาม 
• ถามประโยคสั้นๆ และตรงประเด็น 
• ถามข้อวามสั้นๆ เหมือนกันทุกคน 
อคติ 
• อคติของผู้ตอบ 
• อคติจากนักสัมภาษณ์เอง
การสุ่มตัวอย่าง
ประชากร และหน่วยการวิเคราะห์ 
ประชากร (Population) 
 กลุ่มหรือทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องศึกษา 
 จะต้องระบุให้แน่ชัดว่า รวมใครและ ประชากร (N) 
ไม่รวมใครบ้าง 
 ไม่จา เป็นที่จะต้องประกอบด้วย “ คน ” 
หน่วยวิเคราะห์ (Unit of analysis) กลุ่มตัวอย่าง (n) 
 ต้องเข้าใจว่ากลุ่มตัวอย่างคืออะไร 
 สิ่งที่เราต้องการจะวิเคราะห์ 
 เก็บข้อมูลจากไหน
การสุ่มตัวอย่างที่ ไม่เป็น ไปตามความน่าจะเป็น 
1. การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ หรือตามสะดวก 
2. การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า 
3. การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 
4. การสุ่มตัวอย่างแบบเพิ่มจานวนตัวอย่างโดยวิธีการ 
แนะนาต่อๆกัน
การสุ่มตัวอย่างที่ เป็น ไปตามความน่าจะเป็น 
1. การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย 
2. การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ 
3. การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 
4. การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม 
5. การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ
โครงสร้างการคานวณทางสถิติ 
สถิติ (Statistics) 
สถิติเชิงพรรณนา สถิติอนุมาน 
(Descriptive Statistics) (Inferential Statistics)
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) 
สถิติเชิงพรรณนา 
การแจกแจงความถี่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง การวัดการกระจาย 
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ค่าพิสัย ส่วนมาตรฐาน 
(Percentage) (Mean) (Median) (Mode) (Rane) (S.D.) 
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 
(Quartile Deviation)
ตารางแจกแจงความถี่
เส้นโค้งจากการแจกแจงความถี่ 
เส้นโค้งปกติ 
เส้นโค้งเบ้ขวา เส้นโค้งเบ้ซ้าย
สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) 
สถิติอนุมาน 
แบบมีพารามิเตอร์ แบบไม่มีพารามิเตอร์ 
T-test Z-test Anova Chi-Square Correlation
สถิติวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร 
ระดับการวัดของ 
ระดับการวัดของตัวแปรตาม 
ตัวแปรต้น 
Nominal Ordinal Interval / Ratio 
Nominal Chi - square Chi - square 
T-test 
(กรณีแปรต้นมี 2 กลุ่ม) 
Anova 
(กรณีตัวแปรต้นมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป) 
Ordinal Chi - square Chi - square 
T-test 
(กรณีแปรต้นมี 2 กลุ่ม) 
Anova 
(กรณีตัวแปรต้นมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป) 
Interval / Ratio Pearson Correlation 
Simple Regression
การนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
ตัวอย่างการเสนอค่าร้อยละ 
ตารางที่ .........แสดงจา นวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จา แนกตามเพศ 
จากตาราง.........กลุ่มตัวอย่างที่ทา การสา รวจ พบกว่าเป็นผู้ชาย 77 คน คิดเป็นร้อยละ 
48.4 ส่วนผู้หญิงมีจา นวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 51.6
ตัวอย่างการเสนอค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตัวอย่างการเสนอ T - test
ตัวอย่างการเสนอ Chi – Square 
สุข าพอนามัย รายได้ 
มีรายได้เ ลี่ยต่อเดอืน รายได้เ ลี่ยต่อเดือน รวม 
ต่า กว่า 2,500 บาท 2,500 บาทขึน้ไป 
( ู้มีานะยากจน) ( ู้มีานะสูงกว่าเกณ ์) 
ผู้ที่เจ็บป่วยมากกว่า 9 13 22 
เดือนละ 1 ครัง้ (ผู้ที่มี (40.9) (59.1) (100.0) 
สุขาพอนามัย ม่ดี) 
ผู้ที่เจ็บป่วยน้อยกว่า 21 157 178 
เดือนละ 1 ครัง้ (ผู้ที่มี (11.8) (62.9) (100.0) 
สุขาพอนามัยดี) 
รวม 30 170 200 
(15.0) (85.0) (100.0) 
Chi-Square = 13.014 df = 1 sig = 0.02
THE END

More Related Content

What's hot

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
Prachoom Rangkasikorn
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
NU
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
Jirathorn Buenglee
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานSirilag Maknaka
 
วงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลังวงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลัง
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
คำเมย มุ่งเงินทอง
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3Dmath Danai
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
pop Jaturong
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
Preeyanush Rodthongyoo
 

What's hot (20)

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
วงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลังวงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลัง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 

Similar to การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
salinkarn sampim
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
rubtumproject.com
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
guest65361fd
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
Ramkhamhaeng University
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
Chamada Rinzine
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
Chamada Rinzine
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
Aj Ob Panlop
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทOnin Goh
 
maisooree
maisooreemaisooree
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
ไพรวัล ดวงตา
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
NU
 
Computer
ComputerComputer
Computer
TKAomerz
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ยฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
sudaphud
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
ณัฐวุฒิ จารุวงศ์
 

Similar to การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (20)

Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์