SlideShare a Scribd company logo
ความหมายและประเภทของการวิจัย
ดร.เชาวรัตน์ เตมียกุล ครูเชี่ยวชาญ ค.ศ. 4
การวิจัย หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคาตอบในการแก้ไขปัญหา โดยวิธีการที่
เป็นระบบเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ โดยมีลาดับขั้นตอนในการวิจัยที่เริ่มจากการกาหนดปัญหาศึกษาเอกสาร
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการวิจัย สร้างเครื่องมือ เก็บ
รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและเขียนรายงานการวิจัย ประเภทของงานวิจัยจาแนกโดยใช้เกณฑ์ดังนี้
1) เกณฑ์ประโยชน์ของการวิจัย ได้แก่ การวิจัยบริสุทธิ์การวิจัยประยุกต์และการวิจัยปฏิบัติการ 2) เกณฑ์
ระเบียบวิธีวิจัย ได้แก่ การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ การวิจัยเชิงบรรยาย และการวิจัยเชิงทดลอง 3) เกณฑ์
ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ
1. ความหมายของการวิจัย
คาว่า การวิจัย มาจากคาว่า Research ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก Re + Search
Re
แปลว่า
ซ้า
Search แปลว่า
ค้นคว้า
Research แปลว่า
ค้นคว้าซ้าแล้วซ้าอีก อันหมายถึง การค้นคว้าหาความรู้
ความจริง โดยวิธีการค้นคว้าแล้ว ค้นคว้าอีก ซึ่งจะทาให้ได้รับคาตอบที่เป็นความรู้ความจริงอันน่าเชื่อถือ
และถูกต้อง เพราะมีข้อมูลสนับสนุนเพียงพอต่อการสรุปเป็นองค์ความรู้ หากพิจารณาในรูปขององค์ประกอบ
เชิงระบบการวิจัยจะต้องประกอบด้วยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน 3 ส่วน คือ
1) ปัจจัยนาเข้า (Input) ได้แก่ ปัญหาวิจัย ซึ่งหมายถึง สิ่งที่ยังไม่รู้ สิ่งที่เป็นข้อสงสัย หรือสิ่ง
ที่ต้องการจะรู้ ต้องการค้นคว้าหาคาตอบ
2) กระบวนการ (Process) ได้แก่ กระบวนการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคาตอบหรือหาความรู้ใน
การแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่เป็นระบบและเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ
3) ผลลัพธ์ (Output) ได้แก่ ผลผลิตหรือผลการวิจัย ซึ่งเป็นคาตอบหรือข้อความรู้ที่ได้จากการ
วิจัย
โดยสรุป การวิจัย หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคาตอบในการแก้ปัญหา โดยวิธีการที่เป็น
ระบบเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ เพื่อให้ได้คาตอบที่ถูกต้องแม่นยาและที่สาคัญผลของการวิจัยต้องก่อให้เกิด
ประโยชน์และคุ้มค่า การวิจัยจึงต้องมีลักษณะดังนี้
1) เป็นการศึกษาค้นคว้าที่ต้องอาศัยความรู้ ทักษะความชานาญอย่างเป็นระบบ
2) การดาเนินงานที่มีเป้าหมายชัดเจน
3) มีเครื่องมือและเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่มีความเที่ยงตรง และเชื่อถือได้
4) มีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
5) เป็นการศึกษาค้นคว้าที่มุ่งหาความรู้ความจริง
6) ตอบสนองต่อสิ่งที่ต้องการรู้ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่
7) อาศัยความเพียรพยายาม ความซื่อสัตย์ และมีจรรยาบรรณ
8) มีการสรุปบันทึกและเขียนรายงานการวิจัยด้วยความเที่ยงตรงปราศจากอคติ
9) อยู่บนพื้นฐานของเหตุผลเป็นรูปธรรมที่สามารถตรวจสอบได้
10) เป็นการหาคาตอบให้กับปัญหาหรือการทดสอบสมมติฐาน
2. ประเภทของงานวิจัย
การวิจัยสามารถจาแนกได้มากมายหลากหลายประเภท และมักมีความซ้าซ้อนกันระหว่าง
เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งการวิจัยแต่ละประเภท การเลือกใช้การวิจัยประเภทใด นักวิจัยจะต้องศึกษาให้เข้าใจ
อย่างถ่องแท้ เพื่อจะได้เลือกประเภทของการวิจัยได้ถูกต้องเหมาะสมกับประเด็นปัญหาที่ต้องการศึกษาวิจัย ซึ่ง
โดยทั่วไป ในการเลือกใช้ประเภทของการวิจัยจะพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย เป้าหมายของการวิจัย
ประเด็นปัญหาของการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ลักษณะวิธีการที่จะเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรในการดาเนินการ
วิจัย ซึ่งจะกล่าวถึงประเภทของการวิจัย โดยแบ่งตามเกณฑ์ ประโยชน์ของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยและ
ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล ของพิชิต (2544: 18 – 19) ซึ่งกาหนดประเภทของการวิจัยไว้ดังนี้
2.1 การใช้เกณฑ์ประโยชน์ของการวิจัย แบ่งการวิจัยได้เป็น 3 ประเภท คือ
2.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic or pure research) หมายถึง
การวิจัยที่ได้ผลเป็นข้อความรู้ ทฤษฎี เป็นการวิจัยเพื่อสนองความอยากรู้ของมนุษย์หรือเพิ่มพูนความรู้ของ
มนุษย์ ยังไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ในทันทีที่ได้ข้อค้นพบ มักกระทาในห้องปฏิบัติการหรือห้องทดลอง
เช่น การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีพื้นฐานในวิชาฟิสิกส์ เคมีหรือชีววิทยา เป็นต้น
2.1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หมายถึง การวิจัยที่ได้นาผล
จาก
ข้อความรู้ ทฤษฎีที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์ เพื่อทาให้ชีวิตมนุษย์มีความสุข
และความสะดวกสบายยิ่งขึ้น การวิจัยประเภทนี้ ได้แก่ การวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เช่น แพทย์
ศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และการวิจัยในสาขาสังคมศาสตร์ เช่น ศึกษาศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น
อาจได้ผลการวิจัยเป็นเทคนิควิธี นวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ
2.1.3 การวิจัยปฏิบัติการ (Action research) เป็นการวิจัยประยุกต์ในลักษณะหนึ่งที่มุ่งนา
ผลที่ได้ไปใช้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรืองานในหน้าที่ของตนเองหรือของทั้งหน่วยงาน เช่น ครูทาวิจัยในชั้นเรียน
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน เป็นต้น
2.2 การใช้เกณฑ์ระเบียบวิธีวิจัย แบ่งการวิจัยได้เป็น 3 ประเภท คือ
2.2.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical research) เป็นการวิจัยที่ศึกษาข้อเท็จจริง
หรือความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริงที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอดีต มักจะศึกษาจากร่องรอยหลักฐาน เอกสารต่าง ๆ
ทางประวัติศาสตร์
2.2.2 การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive research) เป็นการวิจัยที่ศึกษาเพื่อที่จะบรรยาย
หรืออธิบายปรากฎการณ์ในสภาพปัจจุบัน หรือสภาพเป็นจริงของสังคมใดสังคมหนึ่ง เช่น การศึกษาทัศนคติ
ของคนกรุงเทพมหานครต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การศึกษาสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
ของผู้ปกครองนักศึกษา การศึกษาปัญหาและความต้องการของเยาวชนไทย การศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้
ของนักศึกษาสายวิชาชีพ การศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าของคนไทยในชนบท เป็นต้น
2.2.3 การวิ จั ย เชิ ง ทดลอง (Experimental
research) เป็ น การวิ จั ย ที่ มุ่ ง ศึ ก ษา
ความสัมพันธ์ในลักษณะของการเป็นเหตุเป็นผลภายใต้สถานการณ์ที่พยายามจัดให้มีการควบคุม ตัวแปรแบบ
ต่าง ๆ เท่าที่สามารถจัดกระทาได้ เช่น การเปรียบเทียบวิธีส อน 2 วิธีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม การศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับความมีคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง เป็นต้น
2.3 การใช้เกณฑ์ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งการวิจัยได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.3.1 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) เป็นการวิจัยที่มุ่งเน้นข้อมูลที่อยู่ใน
รูปลักษณะตัวเลขหรือกาหนดเป็นปริมาณได้ การวิจัยประเภทนี้ใช้เครื่องมือที่มีความเป็นปรนัยในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล และใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยสถิติภาคบรรยาย
ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ มัธยฐาน ฐานนิยม ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติภาคอ้างอิงได้แก่ การ
ทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบค่า ซี (z-test)
2.3.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) หรือเชิงคุณลักษณะเป็นการวิจัยที่
มุ่งเน้นข้อมูลเชิงคุณลักษณะเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี วิถีการดารงชีวิต ความเชื่อ หรือพฤติกรรมมนุษย์ที่ได้
จากการรับรู้ การสังเกตของนักวิจัยที่เข้าไปสัมผัสในเหตุการณ์ทั้งมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม เครื่องมือสาคัญ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของการวิจัยประเภทนี้ก็คือ ตัวนักวิจัย ข้อมูลที่ได้ไม่จาเป็นต้องเป็นตัวเลขหรือเชิง
ปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis )
ล้วนและอังคณา (2538: 18 ) แบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ประเภท สรุปได้ดังนี้
1) การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic or pure research) มุ่งแสวงหาความรู้หรือ
ความจริงที่เป็น กฏ สูตร ทฤษฎี
2) การวิจัยประยุกต์ (Applied research) มุ่งแก้ปัญหาที่สามารถนาไปใช้ได้กับ
สภาพใดสภาพหนึ่ง
3) การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action research) มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นครั้งๆไปผลการวิจัยไม่
สามารถอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นเพราะมองในวงจากัด

More Related Content

What's hot

44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
ธีรวัฒน์
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
Chamada Rinzine
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัยแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัยCoverslide Bio
 
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդwhawhasa06006
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
rubtumproject.com
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
Ramkhamhaeng University
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
GolFy Faint Smile
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
guest65361fd
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
Watinee Prongmark
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1Prachyanun Nilsook
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
ณัฐวุฒิ จารุวงศ์
 

What's hot (20)

44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัยแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหมายและบทบาทการวิจัย
 
การนำผลการวิจัยไปใช้
การนำผลการวิจัยไปใช้การนำผลการวิจัยไปใช้
การนำผลการวิจัยไปใช้
 
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
 
2222
22222222
2222
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
 

Similar to maisooree

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัยphaholtup53
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
NU
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
salinkarn sampim
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
sudaphud
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
จงดี จันทร์เรือง
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449onchalermpong
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
Cha-am Chattraphon
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนNampeung Kero
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ยฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
สนุกคิด กับวิทยาศาสตร์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
สนุกคิด กับวิทยาศาสตร์
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 

Similar to maisooree (20)

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
Is5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียนIs5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียน
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

maisooree

  • 1. ความหมายและประเภทของการวิจัย ดร.เชาวรัตน์ เตมียกุล ครูเชี่ยวชาญ ค.ศ. 4 การวิจัย หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคาตอบในการแก้ไขปัญหา โดยวิธีการที่ เป็นระบบเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ โดยมีลาดับขั้นตอนในการวิจัยที่เริ่มจากการกาหนดปัญหาศึกษาเอกสาร ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการวิจัย สร้างเครื่องมือ เก็บ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและเขียนรายงานการวิจัย ประเภทของงานวิจัยจาแนกโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ 1) เกณฑ์ประโยชน์ของการวิจัย ได้แก่ การวิจัยบริสุทธิ์การวิจัยประยุกต์และการวิจัยปฏิบัติการ 2) เกณฑ์ ระเบียบวิธีวิจัย ได้แก่ การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ การวิจัยเชิงบรรยาย และการวิจัยเชิงทดลอง 3) เกณฑ์ ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ 1. ความหมายของการวิจัย คาว่า การวิจัย มาจากคาว่า Research ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก Re + Search Re แปลว่า ซ้า Search แปลว่า ค้นคว้า Research แปลว่า ค้นคว้าซ้าแล้วซ้าอีก อันหมายถึง การค้นคว้าหาความรู้ ความจริง โดยวิธีการค้นคว้าแล้ว ค้นคว้าอีก ซึ่งจะทาให้ได้รับคาตอบที่เป็นความรู้ความจริงอันน่าเชื่อถือ และถูกต้อง เพราะมีข้อมูลสนับสนุนเพียงพอต่อการสรุปเป็นองค์ความรู้ หากพิจารณาในรูปขององค์ประกอบ เชิงระบบการวิจัยจะต้องประกอบด้วยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน 3 ส่วน คือ 1) ปัจจัยนาเข้า (Input) ได้แก่ ปัญหาวิจัย ซึ่งหมายถึง สิ่งที่ยังไม่รู้ สิ่งที่เป็นข้อสงสัย หรือสิ่ง ที่ต้องการจะรู้ ต้องการค้นคว้าหาคาตอบ 2) กระบวนการ (Process) ได้แก่ กระบวนการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคาตอบหรือหาความรู้ใน การแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่เป็นระบบและเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ 3) ผลลัพธ์ (Output) ได้แก่ ผลผลิตหรือผลการวิจัย ซึ่งเป็นคาตอบหรือข้อความรู้ที่ได้จากการ วิจัย โดยสรุป การวิจัย หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคาตอบในการแก้ปัญหา โดยวิธีการที่เป็น ระบบเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ เพื่อให้ได้คาตอบที่ถูกต้องแม่นยาและที่สาคัญผลของการวิจัยต้องก่อให้เกิด ประโยชน์และคุ้มค่า การวิจัยจึงต้องมีลักษณะดังนี้ 1) เป็นการศึกษาค้นคว้าที่ต้องอาศัยความรู้ ทักษะความชานาญอย่างเป็นระบบ 2) การดาเนินงานที่มีเป้าหมายชัดเจน 3) มีเครื่องมือและเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่มีความเที่ยงตรง และเชื่อถือได้ 4) มีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง 5) เป็นการศึกษาค้นคว้าที่มุ่งหาความรู้ความจริง
  • 2. 6) ตอบสนองต่อสิ่งที่ต้องการรู้ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ 7) อาศัยความเพียรพยายาม ความซื่อสัตย์ และมีจรรยาบรรณ 8) มีการสรุปบันทึกและเขียนรายงานการวิจัยด้วยความเที่ยงตรงปราศจากอคติ 9) อยู่บนพื้นฐานของเหตุผลเป็นรูปธรรมที่สามารถตรวจสอบได้ 10) เป็นการหาคาตอบให้กับปัญหาหรือการทดสอบสมมติฐาน 2. ประเภทของงานวิจัย การวิจัยสามารถจาแนกได้มากมายหลากหลายประเภท และมักมีความซ้าซ้อนกันระหว่าง เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งการวิจัยแต่ละประเภท การเลือกใช้การวิจัยประเภทใด นักวิจัยจะต้องศึกษาให้เข้าใจ อย่างถ่องแท้ เพื่อจะได้เลือกประเภทของการวิจัยได้ถูกต้องเหมาะสมกับประเด็นปัญหาที่ต้องการศึกษาวิจัย ซึ่ง โดยทั่วไป ในการเลือกใช้ประเภทของการวิจัยจะพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย เป้าหมายของการวิจัย ประเด็นปัญหาของการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ลักษณะวิธีการที่จะเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรในการดาเนินการ วิจัย ซึ่งจะกล่าวถึงประเภทของการวิจัย โดยแบ่งตามเกณฑ์ ประโยชน์ของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยและ ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล ของพิชิต (2544: 18 – 19) ซึ่งกาหนดประเภทของการวิจัยไว้ดังนี้ 2.1 การใช้เกณฑ์ประโยชน์ของการวิจัย แบ่งการวิจัยได้เป็น 3 ประเภท คือ 2.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic or pure research) หมายถึง การวิจัยที่ได้ผลเป็นข้อความรู้ ทฤษฎี เป็นการวิจัยเพื่อสนองความอยากรู้ของมนุษย์หรือเพิ่มพูนความรู้ของ มนุษย์ ยังไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ในทันทีที่ได้ข้อค้นพบ มักกระทาในห้องปฏิบัติการหรือห้องทดลอง เช่น การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีพื้นฐานในวิชาฟิสิกส์ เคมีหรือชีววิทยา เป็นต้น 2.1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หมายถึง การวิจัยที่ได้นาผล จาก ข้อความรู้ ทฤษฎีที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์ เพื่อทาให้ชีวิตมนุษย์มีความสุข และความสะดวกสบายยิ่งขึ้น การวิจัยประเภทนี้ ได้แก่ การวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เช่น แพทย์ ศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และการวิจัยในสาขาสังคมศาสตร์ เช่น ศึกษาศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น อาจได้ผลการวิจัยเป็นเทคนิควิธี นวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ 2.1.3 การวิจัยปฏิบัติการ (Action research) เป็นการวิจัยประยุกต์ในลักษณะหนึ่งที่มุ่งนา ผลที่ได้ไปใช้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรืองานในหน้าที่ของตนเองหรือของทั้งหน่วยงาน เช่น ครูทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน เป็นต้น 2.2 การใช้เกณฑ์ระเบียบวิธีวิจัย แบ่งการวิจัยได้เป็น 3 ประเภท คือ 2.2.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical research) เป็นการวิจัยที่ศึกษาข้อเท็จจริง หรือความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริงที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอดีต มักจะศึกษาจากร่องรอยหลักฐาน เอกสารต่าง ๆ ทางประวัติศาสตร์ 2.2.2 การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive research) เป็นการวิจัยที่ศึกษาเพื่อที่จะบรรยาย หรืออธิบายปรากฎการณ์ในสภาพปัจจุบัน หรือสภาพเป็นจริงของสังคมใดสังคมหนึ่ง เช่น การศึกษาทัศนคติ
  • 3. ของคนกรุงเทพมหานครต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การศึกษาสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ของผู้ปกครองนักศึกษา การศึกษาปัญหาและความต้องการของเยาวชนไทย การศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ ของนักศึกษาสายวิชาชีพ การศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าของคนไทยในชนบท เป็นต้น 2.2.3 การวิ จั ย เชิ ง ทดลอง (Experimental research) เป็ น การวิ จั ย ที่ มุ่ ง ศึ ก ษา ความสัมพันธ์ในลักษณะของการเป็นเหตุเป็นผลภายใต้สถานการณ์ที่พยายามจัดให้มีการควบคุม ตัวแปรแบบ ต่าง ๆ เท่าที่สามารถจัดกระทาได้ เช่น การเปรียบเทียบวิธีส อน 2 วิธีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม การศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับความมีคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง เป็นต้น 2.3 การใช้เกณฑ์ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งการวิจัยได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.3.1 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) เป็นการวิจัยที่มุ่งเน้นข้อมูลที่อยู่ใน รูปลักษณะตัวเลขหรือกาหนดเป็นปริมาณได้ การวิจัยประเภทนี้ใช้เครื่องมือที่มีความเป็นปรนัยในการเก็บ รวบรวมข้อมูล และใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยสถิติภาคบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ มัธยฐาน ฐานนิยม ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติภาคอ้างอิงได้แก่ การ ทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบค่า ซี (z-test) 2.3.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) หรือเชิงคุณลักษณะเป็นการวิจัยที่ มุ่งเน้นข้อมูลเชิงคุณลักษณะเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี วิถีการดารงชีวิต ความเชื่อ หรือพฤติกรรมมนุษย์ที่ได้ จากการรับรู้ การสังเกตของนักวิจัยที่เข้าไปสัมผัสในเหตุการณ์ทั้งมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม เครื่องมือสาคัญ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของการวิจัยประเภทนี้ก็คือ ตัวนักวิจัย ข้อมูลที่ได้ไม่จาเป็นต้องเป็นตัวเลขหรือเชิง ปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis ) ล้วนและอังคณา (2538: 18 ) แบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ประเภท สรุปได้ดังนี้ 1) การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic or pure research) มุ่งแสวงหาความรู้หรือ ความจริงที่เป็น กฏ สูตร ทฤษฎี 2) การวิจัยประยุกต์ (Applied research) มุ่งแก้ปัญหาที่สามารถนาไปใช้ได้กับ สภาพใดสภาพหนึ่ง 3) การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action research) มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นครั้งๆไปผลการวิจัยไม่ สามารถอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นเพราะมองในวงจากัด