SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
วิชาทัศนศิลป์ 
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 /2557 
โดย ... นางสาวรัตติยา คาประชา 
***** เรื่อง**** 
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และหลักหรือเทคนิคต่างๆสาหรับการออกแบบ
ความรู้พื้นฐานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 
ในโลกธุรกิจยุคปัจจุบันที่มีการแข่งขันทางด้านการค้าสูง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความเข้มแข็งด้านการจัดการตลาด หรือการพัฒนา รูปแบบคงจึงยังไม่เพียงพอ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสงเสริม เพื่อการยกระดับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนขนาดกลางและขนาดเล็ก ให้มีความเข้มแข็งในการทาธุรกิจและขยายตลาด เบื้องต้นควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความ เป็นมาตลอดจนความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ เป็นแนวคิดในการเรียนรู้อดีต ศึกษาปัจจุบัน เพื่อก้าวไปในอนาคต ความเข้าใจเรื่องราวของ บรรจุภัณฑ์ในบทนี้จะช่วยให้การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเป็นทางเลือกของผู้ประกอบการ เล็งเห็น ความ สาคัญในการเลือกพัฒนาบรรจุภัณฑ์กับผลิตภัณฑ์ของตนเอง ได้อย่างโดดเด่นน่าสนใจ 
ความหมายของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 
1. ความหมายของการออกแบบ 
มีผู้เชี่ยวชาญได้ นิยามความหมายของการออกแบบ (Design) ไว้ ดังนี้ 
กูด (Good 1973:165) กล่าวว่า การออกแบบ เป็นการวางแผนหรือกาหนดรูปแบบรวมทั้งการตกแต่งในโครงสร้าง รูปทรงของงานศิลปะ ทัศนศิลป์ดนตรี ตลอดจนวรรณกรรม 
โกฟ (Gove 1956:611) เป็นการจัดแต่งองค์ประกอบมูลฐานในการสร้างงานศิลปกรรม เครื่องจักร หรือประดิษฐ์ กรรม 
ศิริพงศ์ พยอมแย้ม(2537:22) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง กระบวนการทางความคิดในอันที่จะวางแผนรวบรวม องค์ประกอบทั้งหลายเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสรรค์ หรือปรับปรุงประดิษฐกรรมต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้าน ประโยชน์ใช้สอยและด้านความงาม 
วิรุณ ตั้งเจริญ (2539:20) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง การวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบโดยการวางแผนจัด ส่วนประกอบของการออกแบบให้สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย วัสดุ และการผลิต 
มาโนช กงกะนันทน์ (2538:27) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง กระบวนการสร้างสรรค์หนึ่งของมนุษย์ โดยมีทัศนธาตุและ ลักษณะธาตุเป็นองค์ประกอบ 
สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ (2540:1) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง เป็นการสร้างสรรค์ที่มีผลปรากฏเป็นรูปธรรม คือ มี รูปร่างหรือรูปทรงซึ่งต้องใช้พื้นที่ในการ ดารงรูปร่างหรือรูปทรงนั้นๆ 
พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ (2530 : 596) การออกแบบ คือ การทาเป็นต้นแบบทาเป็น แผนผัง
2. ความหมายของบรรจุภัณฑ์ 
นิยามของคาว่าบรรจุภัณฑ์ (Packaging) มีนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ ได้กล่าวไว้ ดังนี้ 
กองส่งเสริมอุตสาหกรรม(2517:19) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในการขนส่งผลิตภัณฑ์ไปยังแหล่งใช้ ประโยชน์ โดยความประหยัดและปลอดภัย 
นิไกโด เคล็คเจอร์(Nikaido Clecture) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์เป็นเทคนิคที่ส่งเสริมการขายกับการประสานประโยชน์ ระหว่างวัตถุกับภาชนะบรรจุ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการคุ้มครองในระหว่างการขนส่งและการเก็บรักษาในคลัง 
ในพจนานุกรมใหม่ของ เว็บสเตอร์ส (Webster's new collegiate Dictionary:1956) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือ กล่องหรือหีบห่อที่ทาขึ้นเพื่อเก็บรักษาหรือเพื่อการขนส่ง 
สุดาดวง เรืองรุจิระ(2529:128) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง กิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้น ตลอดขบวนการทางการตลาดที่ เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบ สร้างสรรค์ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อให้กับผลิตภัณฑ์ 
ประชิด ทิณบุตร(2531:20)กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง หน่วยรูปแบบของวัตถุภายนอกของผลิตภัณฑ์ ที่ทาหน้าที่ปกป้อง คุ้มครอง หรือห่อหุ้มผลิตภัณฑ์ภายในไม่ให้เกิดความเสียหาย สะดวกในการขนส่ง และเอื้อประโยชน์ในทางการค้าและต่อการ บริโภค 
บริสตันและนีลล์(Briston And Neill,1972:1) ได้ให้ความหมายของบรรจุภัณฑ์ไว้ 2 ประการกว้างๆ คือ 
1) การบรรจุภัณฑ์ คือ ศิลปะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการตระเตรียมสินค้าเพื่อการขนส่งและการขาย 
2) การบรรจุภัณฑ์ คือวิธีการส่งมอบผลิตภัณฑ์ไปยังผู้บริโภคให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยสมบูรณ์และมีราคาที่เหมาะสม 
ดารณี พานทอง(2524:29) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือ สิ่งห่อหุ้มหรือบรรจุผลิตภัณฑ์รวมทั้งภาชนะที่ใช้ในการ ขนส่งผลิตภัณฑ์จากแหล่งผู้ผลิตไปยังแหล่งบริโภคหรือแหล่งใช้ประโยชน์ เพื่อวัตถุประสงค์เบื้องต้นในการป้องกันและรักษา ผลิตภัณฑ์ให้คงสภาพ ตลอดจนคุณภาพใกล้เคียงกัน เมื่อแรกผลิตให้มากที่สุดนอกจากนี้อาจกล่าวได้ว่า หีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์ เป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างหนึ่งในกระบวนการผลิตและหีบห่อ อาจสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านการตลาด วัตถุประสงค์ ทางด้านการเก็บรักษา เป็นต้น 
จรูญ โกสีย์ไกรนิรมล (2528:109) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือการนาเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยที่มีความแข็งแรง สวยงามได้สัดส่วนที่ถูกต้องสร้างภาพพจน์ที่ดี มี ภาษาในการติดต่อสื่อสาร และทาให้เกิดความพึงพอใจ จากผู้ซื้อสินค้า 
นอกจากนี้ยังมีผู้นิยามความหมายของบรรจุภัณฑ์ในอีกหลายความหมาย ได้แก่ 
การบรรจุภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบสร้างสรรค์ภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อให้กับผลิตภัณฑ์ 
การบรรจุภัณฑ์ หมายถึง การนาวัสดุ (เช่น กระดาษ แก้ว โลหะ) มาประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพื่อ ประโยชน์ด้านความแข็งแรง สวยงาม สร้างความพึงพอใจจากผู้ซื้อสินค้านั้น
บรรจุภัณฑ์ หมายถึง สิ่งห่อหุ้ม หรือบรรจุผลิตภัณฑ์ รวมถึงภาชนะที่ใช้เพื่อการขนส่งผลิตภัณฑ์ จากแหล่งผลิต ไป ยังแหล่งผู้บริโภค เพื่อประโยชน์ในการป้องกัน รักษาผลิตภัณฑ์ไม่ให้ชารุดเสียหาย 
3. ความหมายการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (packaging design) หมายถึง การกาหนดรูปแบบและโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ให้สัมพันธ์ กับหน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ เพื่อการคุ้มครองป้องกันไม่ให้สินค้าเสียหายและเพิ่มคุณค่าด้านจิตวิทยาต่อผู้บริโภค โดยอาศัยทั้งศาสตร์ และศิลป์ในการสร้างสรรค์ 
วัตถุประสงค์ของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 
1.เพื่อสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถเอื้อประโยชน์ด้านหน้าที่ใช้สอยได้ดี มีความปลอดภัย ประหยัดและมีประสิทธิภาพ 
2.เพื่อสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถสื่อสารและสร้างผลกระทบต่อผู้บริโภคโดยใช้ความรู้แขนงศิลปะเข้ามาสร้างคุณลักษณะ เช่น มี เอกลักษณ์มีลักษณะพิเศษที่ดึงดูดและสร้างการจดจาตลอดจนเข้าถึงความหมายและคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ 
3.เพื่อปกป้องคุ้มครองและรักษาคุณภาพสินค้า 
4.เป็นตัวชี้บ่งและสื่อสารรายละเอียดสินค้า ดึงดูดผู้บริโภค แสดงถึงภาพลักษณ์ 
5.เป็นต้นทุนในการผลิตสินค้า เมื่อบรรจุภัณฑ์ดีย่อมมีส่วนช่วยให้มูลค่าสินค้าสูงขึ้น 
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ 
การแบ่งบรรจุภัณฑ์แบ่งได้หลายวิธี เช่น แบ่งประเภทตามลักษณะกรรมวิธีการผลิตและวิธีการขนถ่ายผลิตภัณฑ์ การแบ่งและเรียกชื่อบรรจุ ภัณฑ์ อาจแตกต่างกันออกไป แต่มีวัตถุประสงค์หลักที่คล้ายกัน คือ เพื่อป้องกันผลิตภัณฑ์ เพื่อจาหน่ายผลิตภัณฑ์และเพื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ แบ่งออกได้ ดังนี้ 
1. บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย 
บรรจุภัณฑ์จะห่อหุ้มและสัมผัสกับ ผลิตภัณฑ์โดยตรง บรรจุภัณฑ์ชั้นในจะทา หน้าที่หลักในการป้องกันสินค้าจาก ความชื้นและอากาศ ที่จะทาให้ผลิตภัณฑ์ เสียคุณภาพ คุณลักษณะมีรูปร่างลักษณะ ต่าง ๆเช่น เป็นขวด กระป๋อง หลอด ถุง กล่อง การออกแบบสามารถทาให้มีลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทาให้มีรูปร่างที่เหมาะแก่การจับ ถือ และอานวยความสะดวกต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ภายใน พร้อมทั้งทาหน้าที่ให้ความปกป้องแก่ผลิตภัณฑ์โดยตรง
2. บรรจุภัณฑ์ชั้นใน 
ทาหน้าที่ในการห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ ชั้นในไม่ให้ได้รับแรงกระแทกจากภายนอก บรรจุภัณฑ์ ชั้นที่สองมีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกไว้ ด้วยกัน หรือเป็นชุดในการจาหน่ายรวมตั้งแต่ 2 – 24 ชิ้นขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ขั้นแรกคือ ป้องกันรักษา ผลิตภัณฑ์จากน้า ความชื้น ความร้อน แสง แรง กระทบกระเทือน และอานวยความสะดวกแก่การขาย ปลีกย่อย เพื่อความสะดวกในการป้องกันและขนส่ง และทาหน้าที่ขายด้วยจึงต้องทาการออกแบบให้สวยงามดึงดูดใจผู้บริโภค เช่น กล่อง บรรจุเครื่องดื่มกระป๋องชนิด 6 กระป๋อง กล่องกาแฟชนิด 50 ซองหรือกล่องบรรจุหลอดยาสีฟัน 
3. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด 
บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ ทาหน้าที่ใน การป้องกันผลิตภัณฑ์ การขนถ่ายสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วในระหว่างการขนส่ง ลักษณะของบรรจุภัณฑ์ นี้ ได้แก่ หีบ ไม้ลัง กล่องกระดาษค่อนข้างขนาดใหญ่ที่บรรจุสินค้าไว้ภายใน 
ความเป็นมาของบรรจุภัณฑ์ 
ความเป็นมาของบรรจุภัณฑ์ได้จากการสังเกตธรรมชาติสิ่งแวดล้อมรอบตัว แรงบันดาลใจของมนุษย์ที่มีต่อบรรจุภัณฑ์ เริ่มแรก จากการสังเกตธรรมชาติ ได้แก่ รูปทรงของไข่ รูปทรงโค้งของเปลือกไข่ทาหน้าที่คอยปกป้องแรงกระแทกของไข่ไม่ให้ส่งผล รุนแรงต่อเนื้อไข่ภายใน ลักษณะที่รีของเปลือกไข่ทาให้ไข่กลิ้งได้ไม่สะดวก พื้นผิวของเปลือกไข่มีรูพรุนทาให้มีอากาศภายในอย่าง เหมาะสม รูปโค้งของเปลือกไข่ทาให้ความอบอุ่นจากการกกเป็นไปอย่างทั่วถึง เนื้อไข่ขาวภายในมีความเหลวหนืดทาหน้าที่ปกป้องไข่ แดง
สิ่งที่ปรากฏในธรรมชาติอีกอย่างหนึ่ง ได้แก่ ฝักถั่วลันเตาที่นับว่าเป็นบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์แบบ เม็ดถั่วภายในเรียงตัวเป็นแถวตัวฝักมี ลักษณะเปรียบเหมือนเคลือบฟิล์ม2 ชั้น โดยมีชั้นนอกที่แข็งและชั้นในที่อ่อนนุ่ม ภายในฝักถั่วมีการปรับสภาพอากาศที่เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตของเมล็ดถั่ว 
ในการดารงชีวิตของมนุษย์มีความจาเป็นที่ต้อง บริโภคอาหาร ทาให้มนุษย์เรียนรู้การแก้ ปัญหาและ พัฒนาสิ่งที่อานวยความสะดวกในการบริโภค โดย การดัดแปลงสิ่งของที่อยู่รอบตัวด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้ใบไม้ เปลือกไม้ เปลือกหอย กระบอกไม้ กระเพาะสัตว์ มาผูกมัด เพื่อ 
ประกอบการรับประทานอาหาร และพัฒนาตกแต่ง ประดิษฐ์ เปลี่ยนแปลง ให้เหมาะสมกับการใช้สอย มากขึ้นรวมถึงการอานวยความสะดวกในการเก็บ รักษาและเคลื่อนย้ายอาหาร ได้แก่ การนาเอาส่วน ต่างๆของพืชหรือสัตว์ มาขัดสาน เย็บ มัด ห่อหุ้ม เป็นกระจาด ชะลอม สิ่งห่อหุ้ม ซึ่งถือเป็นบรรจุภัณฑ์ในยุคแรกๆ 
บรรจุภัณฑ์ยุคแรกเกี่ยวพันกับมนุษย์โครมันยอง (cromangnon) ที่รู้จักการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นพวกแรก ซึ่งมีอายุ ประมาณ 10,000-20,000 ปีก่อนคริสตกาล เมื่อมีการผลิตก็สืบเนื่องต่อถึงการแลกเปลี่ยนและค้าขายผลผลิต อันส่งผลต่อการ คิดค้นบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้สอย 
จากหลักฐานที่ปรากฏในสมัยประวัติศาสตร์ พบว่าเรื่องราวของภาพเขียนภายในพีระมิดในสมัยอียิปต์โบราณ มี ภาพเขียนแสดงเรื่องราวการใช้ใบปาล์มห่อมัดไก่สด เพื่อป้องกันการเน่าเสียปรากฏอยู่ด้วย 
ได้มีการค้นพบหลักฐานหลายอย่างในสมัยกรีกและโรมัน จากซากเรือที่จมในทะเลเมดิเตอเรเนียน อันเป็นเส้นทาง ค้าขายสินค้าในยุคนั้น พบสิ่งของต่างๆที่คาดว่าเป็นบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ ถังไม้ ลังไม้ ภาชนะเครื่องแก้ว เป็นต้น 
การแบ่งยุคสมัยของบรรจุภัณฑ์ จากการใช้วัสดุทาบรรจุภัณฑ์ จาแนกออก ได้ดังนี้ 
ยุคโบราณมนุษย์ยุคแรกใช้บรรจุภัณฑ์ที่ได้จากวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบไม้ เปลือกหอย หนังสัตว์ เปลือกผลไม้ ไม้ที่กลวง ในอดีตมนุษย์ยัง ไม่รู้จักการเพาะปลูก จึงต้องออกหาอาหารในป่า จึงได้คิดหาสิ่งรอบตัวมาช่วยในการขนของเพื่อให้ได้ของคราวละมาก ๆ
การใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ได้จากพืชในท้องถิ่น 
ประมาณ 5,000 ปี ก่อนพุทธกาล นาวัสดุจากพืชและสัตว์ มาทา ตะกร้า ถุง กระสอบ มนุษย์เริ่มประยุกต์สิ่งรอบตัวเดิมให้สะดวกต่อ การใช้งานและ มีการใช้ดินเผา เพื่อทาภาชนะบรรจุภัณฑ์ เพื่อความทนทานมากขึ้น ปรากฏหลักฐานการใช้เครื่องปั้นดินเผาในประเทศกรีซ 
ประมาณ 2,000 ปี ก่อนพุทธกาล เริ่มใช้บรรจุภัณฑ์แก้ว ในอารยธรรมแถบดินแดนเมโสโปเตเมีย 
ค้นพบเม็ดแก้วแต่ใช้ทาเป็นเครื่องประดับ ประมาณ 500 ปี ก่อนคริสตกาล เริ่มผลิตแก้วด้วยการเป่าแก้ว 
ประมาณ 600 ปี ก่อนคริสตกาล เริ่มมีการผลิตกระดาษ ครั้งแรก ในดินแดนอียิปต์โบราณ และ ประเทศจีนโบราณ 
ยุคเริ่มแรก 
ค.ศ. 1702 เริ่มมีการ ผลิตบรรจุภัณฑ์กระดาษขึ้นใช้ 
ค.ศ. 1809 ใช้ บรรจุภัณฑ์กระป๋อง สนองการค้นพบ วิธีการถนอมอาหารด้วยความร้อน 
ค.ศ. 1871 มี การจดลิขสิทธ์ในการผลิตกล่องกระดาษ ลูกฟูก 
ค.ศ. 1892 นายวิลเลียม เพ้นเทอร์ ชาวสหรัฐอเมริกา คิดค้นฝาจีบใช้กับขวดแก้วสาเร็จ 
ค.ศ. 1894 มีการใช้กล่องกระดาษลูกฟูก เป็นบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่งทางรถไฟ 
ค.ศ. 1898 ใช้บรรจุภัณฑ์ระบบสุญญากาศ สาหรับยาสูบ ในประเทศอังกฤษ 
ยุคปัจจุบัน ค.ศ.1960 ผลิตถุงพลาสติกที่สามารถต้มในน้าร้อนได้ ค.ศ. 1963 เริ่มผลิตกระป๋องอะลูมิเนียม สาหรับเครื่องดื่มและ กระป๋องสเปรย์ 
ยุคคลาสสิค (ระหว่างช่วง ค.ศ.1960 – 1989) เริ่มมีการแบ่ง บรรจุสินค้า มีการบ่งบอกยี่ห้อและสรรพคุณบนบรรจุภัณฑ์ พัฒนา กระป๋องบรรจุ ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์สาหรับบุหรี่ และขนมปัง กรอบ เกิดหลอดบีบ (collapsible tube) ใช้เป็นบรรจุ ภัณฑ์สาหรับยาสีฟัน เริ่มมีการขึ้นรูปของกระดาษ โดยเริ่มแรกมี
ลักษณะเป็นกล่อง 
ยุคนูโว (ระหว่างช่วง ค.ศ. 1900 – 1919)ใช้ศิลปะอาร์ตนูโว ซึ่งมีลักษณะวิจิตรบรรจงนิยมใช้เส้นโค้งเลียนแบบธรรมชาติ เกิด บรรจุภัณฑ์ชนิดใหม่คือ อลูมีเนียม ฟอยล์ (aluminium foil) และ เซลโลเฟรน ฟิล์ม (cellophane film) 
ยุคเดคโค (ระหว่างช่วง ค.ศ. 1920 – 1929) ฟิล์มบางใส นิยมใช้ในห่อขนมหรือหุ้มรอบซองและกล่อง ใช้อลูมิเนียมทาหลอดยา สีฟัน ออกแบบกล่องกระดาษแข็งเคลือบไขสาหรับสินค้าที่ต้องการเก็บไว้ได้นาน ใช้ถ้วยกระดาษบรรจุไอสครีม นม 
ยุคเทคโนโลยีและนักออกแบบสร้างสรรค์ (ระหว่างช่วง ค.ศ. 1960–1989) นิยมบรรจุภัณฑ์ขวดพลาสติก กล่องกระดาษเคลือบไข กระป๋องโลหะนามา บรรจุเครื่องดื่ม มีการใช้อลูมิเนียม 
ฟอยล์ แพร่หลายยิ่งขึ้น เริ่มมีการใช้ฝาขวดที่เป็นอลูมิเนียม และฝาขวดชนิดฝาเกลียว ขวดพลาสติก เพทบรรจุภัณฑ์สาหรับเครื่องดื่ม น้าอัดลม บรรจุภัณฑ์พลาสติกระบบบรรจุภัณฑ์สุญญากาศ ค.ศ. 1981 เริ่มมีการนากล่องกระดาษประกบกับฟิล์มพลาสติก เพื่อทา บรรจุภัณฑ์นมและเครื่องดื่ม 
ยุคปัจจุบัน (ระหว่างช่วง ค.ศ.1990–1999) ให้ ความสาคัญกับบรรจุภัณฑ์ปลอดเชื้อ คานึงความปลอดภัยของผู้บริโภค นิยมใช้บรรจุภัณฑ์น้าหนักเบา แบ่งการบรรจุออกเป็นหน่วยย่อย คานึงถึง ความสะดวกสบาย ความสวยงามมากขึ้น อีกทั้งยังคานึงถึงต้นทุนบรรจุ ภัณฑ์และการนาบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ใช้หลัก 3 R (Recycle - Reuse - Reduce) เน้นสุขภาพของผู้บริโภค รูปแบบ ดึงดูด ความสนใจ ใช้กราฟิกและรูปร่างแปลกใหม่ สิ่งแวดล้อม เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม 
จุดเด่นของบรรจุภัณฑ์ปี ค.ศ. 2003 บรรจุภัณฑ์มีรูปทรง สีสันแปลกใหม่ เล่นลวดลายและกราฟิก พกพาง่าย สะดวกต่อการใช้งาน ขนาดเล็กลงมีการใช้วัสดุร่วม บรรจุภัณฑ์สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีหลากหลายเพิ่มทางเลือกให้กับ ผู้บริโภค 
จากอดีตถึงปัจจุบัน พัฒนาการของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมาก สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก จากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมอุตสาหกรรม และกาลังก้าวสู่สังคมวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ที่เอื้อต่อการสร้างสรรค์รูปแบบและการใช้วัสดุ แปลกใหม่ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ 
แนวคิดเดิมในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อความจาเป็นในการดารงชีวิต เปลี่ยนแปลงเป็นการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการค้า การ ขนส่ง การป้องกันตัวสินค้า มีระบบการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการพัฒนาวัสดุและเทคโนโลยีในการผลิตบรรจุภัณฑ์ ถ้าหากจะสรุป ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนารูปแบบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แบ่งออกเป็น ความก้าวหน้าของกรรมวิธีการผลิตกระดาษและ ศิลปะ การพิมพ์ 
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์อย่างเป็นระบบ มีมานานกว่าสองศตวรรษแล้ว โดยเริ่มต้น จากการ ที่ผู้ผลิตสินค้าต้องการ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ถึงแม้ว่า การใช้งานของบรรจุภัณฑ์นั้น จะมีไว้เพียงเพื่อบรรจุ และเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันได้มีการพัฒนา และเพิ่มความหลากหลายมากขึ้นกว่าที่เคยมีมา
ความก้าวหน้า ของเครือข่ายการคมนาคมขนส่งในโลกทุกวันนี้ รวมไปถึงความซับซ้อน ของการค้าปลีก สมัยใหม่ ทาให้การบรรจุภัณฑ์มี ความสาคัญมากที่สุด ในการเก็บรักษาและป้องกัน ไม่ให้ผลิตภัณฑ์เกิดความเสียหาย ระหว่างการขนส่งจากโรงงานผลิต ไปยังร้านค้าปลีก หรือผู้บริโภค 
นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์ ยังถูกใช้ให้เป็น สื่อโฆษณา ที่สามารถเคลื่อนที่ได้ ป้องกันไม่ให้ผลิตภัณฑ์มีรอยขีดข่วน แสดงรายละเอียด การใช้ หรือแม้แต่เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์เอง 
ต้นกาเนิดของการบรรจุภัณฑ์ จากวันนี้ย้อนกลับไปในอดีต ช่วงปลาย ศตวรรษที่สิบแปดในยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ครั้งใหญ่ในอุตสาหกรรมการผลิต ขณะที่ก่อนหน้านั้น กระบวนการผลิตส่วนใหญ่ที่ เป็นงานหนัก ต้องอาศัยแรงงานของกรรมกร และผลผลิตที่ได้ ก็มีจานวนน้อย เครื่องจักรที่สามารถผลิตสินค้าจานวนมาก จึงได้ถูกนาไปใช้ เพื่อเพิ่มจานวนการผลิต ของผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน ไม่เพียงแต่ผลิตสินค้า อย่างเดียวเท่านั้นยังรวมไปถึง การผลิตบรรจุภัณฑ์ด้วย 
ในช่วงแรกอาหารจะนาไปบรรจุ ในภาชนะโลหะที่ปิดผนึกและถูกหลัก อนามัย คือกระป๋องบรรจุอาหารที่ทาจากดีบุกหรือกล่องกระดาษแข็ง ได้มีการนาไปใช้ กันอย่างกว้างขวางเพราะมีน้าหนักเบาและสามารถพิมพ์ข้อมูลหรือภาพทับลงบน กระดาษ บนแผ่นกระดาษได้ง่ายและ 
เป็นการประหยัดพื้นที่อีกด้วย กล่องโลหะก็ได้รับการพัฒนากันอย่างกว้างขวาง เช่น เดียวกันในเวลานั้น เพราะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ ดีกว่าการใช้กล่องกระดาษแข็ง โดยเฉพาะสินค้าที่บูดเน่าได้ เช่น ขนมปังกรอบ หรือ ขนมหวาน ส่งผลให้ระดับความต้องการที่จะเก็บรักษา สินค้าเพิ่มจานวนมากขึ้น 
ปัจจุบันนี้เทคนิค ในการผลิตได้ก้าวไกล ทาให้บรรจุภัณฑ์โลหะเหล่านี้ มีรูปแบบหรือรูปทรงต่างๆได้ตามต้องการ ด้วยการนา เทคนิคคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิต รวมถึงพลาสติกที่ได้ รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนสามารถนามาใช้สอยในทุกวันนี้ 
เทคนิคการพิมพ์ที่เจริญก้าวหน้ามาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่19 ต้องการพัฒนาในเรื่องเทค นิคการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่มีความ รวดเร็ว ตราผลิตภัณฑ์หรือยี่ห้อที่ติดอยู่บนภาชนะบรรจุภัณฑ์ไม่ว่าจะเป็นวัสดุ ประเภท ขวดแก้ว หม้อดินเผา กล่อง กระป๋องโลหะ กล่อง กระดาษแข็ง หรือกระดาษห่อ 
ธรรมดาๆ ต้องมีฉลากที่จะบอกยี่ห้อของผลิตภัณฑ์นั้น ส่งผลในเรื่องของการเพิ่มคุณ ค่ามูลค่าและความสนใจให้กับสินค้าทั่วไป 
การพิมพ์รูปภาพและข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ มีความสามารถสาคัญต่อการรับรู้ตราสัญลักษณ์ ยี่ห้อ และรายละเอียดของสินค้าให้ เหมาะสมพอดี การพัฒนาของการพิมพ์สีทาให้ผู้ออกแบบ ได้สร้างสรรค์รูปแบบสาหรับผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจยิ่งขึ้น 
ปัจจุบันเครื่องหมายการค้าหรือตราของผลิตภัณฑ์ ได้กลายมาเป็นส่วนสาคัญเท่ากับตัวของผลิตภัณฑ์ และเป็นเกณฑ์ในการ ตัดสินใจเลือกซื้อของผู้บริโภค รูปแบบที่ประสบความสาเร็จที่มีอยู่มากมาย มิติใหม่ของบรรจุภัณฑ์ คือการนาหลักการทางศิลปะและการ ออกแบบมาพัฒนากราฟิกบรรจุภัณฑ์ให้ได้รูปแบบมาตรฐาน ให้เป็นที่ยอมรับกันในปัจจุบัน พร้อมไปกับความใหญ่โตและความ สลับซับซ้อนของระบบธุรกิจอุตสาหกรรม สื่อโฆษณา การแข่งขันเพื่อช่วงชิงส่วนแบ่งตลาด
บรรจุภัณฑ์โลหะ 
นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ 
ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ทาหน้าที่ออกแบบสร้างสรรค์รูปทรงบรรจุภัณฑ์ ภาชนะหีบห่อสาหรับสินค้า โดยคานึงถึงความ สวยงาม วัสดุที่นามาใช้ ตลอดจนขั้นตอนการผลิต ให้ถูกต้องตามวัสดุโครงสร้างการผลิตและประโยชน์ในการใช้สอย และสอดคล้องกับ พฤติกรรมผู้บริโภค 
ลักษณะงานผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้จะต้องทาการศึกษาการออกแบบและวิวัฒนาการของภาชนะ หีบห่อ หรือบรรจุภัณฑ์ วิเคราะห์ศึกษาลักษณะวัสดุต่างๆที่นามาใช้ผลิต นาเทคโนโลยีในการผลิตกับ การออกแบบมาผสมผสานกันในการออกแบบที่ต้อง สอดคล้องกับกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม นอกจากการออกแบบที่สวยงามแล้ว ยังต้องคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. สินค้าที่จะบรรจุในภาชนะ 2. แนวโน้มทางการตลาด และคู่แข่งขันของสินค้า 3. กลุ่มเป้าหมายผู้บริโภค ตลอดจนความสัมพันธ์ สิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและพฤติกรรมของมนุษย์ 4. วัสดุและคุณภาพของวัสดุที่จะนามาใช้ แหล่งวัตถุดิบ ราคาวัตถุดิบ จากนั้นนาข้อมูล มาวิเคราะห์ แล้วจึงนาไปออกแบบ ประมาณราคาต้นทุนในการผลิตและแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทาแบบจาลอง และทดลองผลิตต้นแบบเพื่อให้ผู้ว่าจ้างพิจารณา แก้ไข นาผลิตภัณฑ์ต้นแบบมาแก้ไขตรวจสอบความถูกต้องตามเงื่อนไขที่ตกลงกับ ผู้ว่าจ้าง นอกจากนั้น ยังต้องตรวจสอบความปลอดภัย ความแข็งแรง และความทนทานอีกด้วย ควบคุมดูแลงานรายละเอียด ในขั้นตอนการผลิตจนชิ้นงาน ส่งถึงมือลูกค้า 
สาหรับนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจะได้รับอัตราค่าจ้างเป็น เงินเดือนขั้นต้นประมาณ 7,000-9,000 บาท ซึ่งขึ้นอยู่กับผลงานการออกแบบ และผลงานการฝึกงาน ที่นาเสนอ อาจได้ค่าตอบแทนจูงใจเมื่อทางานเสร็จแต่ ละโครงงานโดยได้รับเป็น 2 - 3 เท่าของ เงินเดือน ส่วนโบนัส ขึ้นอยู่กับผลประกอบการของสถานประกอบกิจการ และได้รับ ผลประโยชน์อย่างอื่นตามกฎหมายแรงงาน ผู้ประกอบอาชีพนี้ ในสถานประกอบกิจการดังกล่าว จะมีกรอบกาหนดในการทางานรวมทั้งชั่วโมง การทางาน คือวันละ 8 ชั่วโมง หรือสัปดาห์ละ 40 - 48 ชั่วโมง และอาจต้องทางานล่วงเวลา ทางานใน วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด แต่ถ้าเปลี่ยนไป ประกอบอาชีพส่วนตัวโดยเปิดสานักงานหรือใช้บ้านเป็น ที่ทางาน รับจ้างทางานให้สถานประกอบกิจการเดิม หรือผู้ว่าจ้างอื่นๆ เป็น โครงงาน ไป ค่าตอบแทนจะคิดเป็นงานเหมา หรืออาจได้รับเงินค่าตอบแทนมากกว่าเดิม กาหนด เวลาทางานก็จะไม่แน่นอน
สภาพการทางานบรรยากาศในการทางานสาหรับผู้ประกอบอาชีพนี้ จะเหมือนกับฝ่ายศิลปกรรมอื่นๆ ที่มีพื้นที่ ปฏิบัติงานเป็นสัดส่วนมีอุปกรณ์เครื่องมือในการออกแบบครบถ้วน ถ้าประกอบธุรกิจที่บ้านจะมีลักษณะเป็นสตูดิโอ การทางานที่มีอุปกรณ์ครบถ้วนเช่นกัน เมื่อปฏิบัติงานตามที่มีผู้ว่าจ้างแล้วเสร็จ ผู้ประกอบ อาชีพนี้ อาจจะออกแบบผลงานของตนเองอันไม่จากัดความคิด และรูปแบบ อาจเป็นทั้งบรรจุภัณฑ์อเนกประสงค์ หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ เพื่อ นาไปจาหน่ายเชิงพาณิชย์ ด้วยตนเอง 
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรม, ศิลปกรรม และสาขาพาณิชย์ศิลป์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือนิเทศ ศิลป์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง 2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีไหวพริบและความสนใจความเคลื่อนไหวของธุรกิจและการตลาด เท่าๆ กับนักการตลาด 3. มีความรู้ในเรื่องวัสดุและวัตถุดิบต่างๆ ที่ใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์ 4. มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัยสูง มีความอดทน 5. มีความสามารถในการประมาณราคาวัสดุ แบบหีบห่อ ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ได้ 6. มีความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีในการผลิตเข้ามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ และใน การผลิต 7. สามารถทางานเป็นทีมได้ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 8. ใจกว้างสามารถรับฟังคาแนะนา และติชมได้ 
ปัจจุบัน อาชีพนี้มีการจ้างแรงงานอยู่ในระดับปานกลาง ถึงมาก ส่วนมากบริษัทผู้ว่าจ้าง นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ คือ บริษัทตัวแทนรับจ้างรับจัดโฆษณาประชาสัมพันธ์ บริษัทออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือบริษัทที่ผู้ผลิตสินค้าเป็นจานวนหลายประเภทและยี่ห้อ นอกเหนือจากผู้ปฏิบัติอาชีพนี้ จะมีทางเลือกในการทางานแบบอุตสาหกรรมแล้ว ปัจจุบันชุมชน ทั่วประเทศต่างหันมาทา การค้ากันระหว่างชุมชนทั่วประเทศโดยมีการส่งเสริมจากภาครัฐในการให้ ความช่วยเหลือให้ผลิตผลิตภัณฑ์สินค้าพื้นบ้านเพื่อการพาณิชย์ และการส่งออก ดังนั้นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ เหล่านั้นต่างต้องการภาชนะ และหีบห่อที่ร่วมสมัย และทันสมัยเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของสินค้า และดึงดูด เรียกร้องความสนใจจากผู้ซี้อหาหรือผู้บริโภค เป็นโอกาสอีกช่องทางหนึ่ง ที่ผู้ออกแบบบรรจุภัณฑ์สามารถ มีทางเลือกในการ ประกอบอาชีพนอกเหนือจากการทางานในสถานประกอบกิจการ และประกอบอาชีพอิสระในการผลิตสินค้าที่ระลึกและของขวัญ และ ส่วนมากผู้ประกอบอาชีพนี้สามารถสร้างสรรค์งานได้หลากหลายโดยไม่ยึดติดกับรูปแบบของงาน 
โอกาสก้าวหน้า ผู้ที่ปฏิบัติงานอาชีพ นี้ในสถานประกอบกิจการผลิต อาจได้รับการเลื่อนตาแหน่งไปจนถึงตาแหน่งสูงสุด ตามโครงสร้างขององค์กร เช่นผู้จัดการฝ่ายออกแบบบรรจุภัณฑ์ ถ้าประกอบอาชีพอิสระ อาจทาหน้าที่เป็นผู้ขายผลิตภัณฑ์ที่สร้างสรรค์ขึ้นเองหรือของผู้อื่นด้วย 
อาชีพที่เกี่ยวเนื่องนักออกแบบผลิตภัณฑ์ นักอออกแบบตรา และงานศิลป์บนบรรจุภัณฑ์ที่สาเร็จรูปแล้ว ศิลปินที่ทางาน ด้านศิลป เปิดบริษัทโพรดัคชั่นเฮาส์ ที่รับออกแบบงานทุกประเภท ผู้ประสานงานการผลิต ผู้ส่งออกสินค้า 
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องต้องศึกษาก่อนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ 
1. การสร้างและประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์ 
2. การบรรจุและปิดผนึก 
3. เครื่องจักรกลบรรจุภัณฑ์
4. การทดสอบบรรจุภัณฑ์ 
5. กระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ 
6. คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ 
7. เศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 
8. การตลาด 
9. กฎและข้อบังคับทางกฎหมาย 
10. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ 
11. การออกแบบพาณิชย์ศิลป์ 
ความแตกต่างระหว่างคาว่า ภาชนะบรรจุ กับ บรรจุภัณฑ์ 
ยกตัวอย่างถ้าซื้อซอสพริกหนึ่งขวดเป็นบรรจุภัณฑ์ แต่เมื่อจะบริโภคโดยเทซอสพริกลงในถ้วยเล็ก ถือเป็นภาชนะ บรรจุ เมื่อใดที่ภาชนะบรรจุมีการผนึกและนาส่ง ภาชนะบรรจุนั้นก็จะเป็นบรรจุภัณฑ์ แม้ว่าจะไม่มีการพิมพ์ยี่ห้อหรือฉลากก็ตาม 
สาหรับคาศัพท์ภาษาอังกฤษ คาว่า packing (อ่านว่าแพ็คกิ้ง) และคาว่า packaging (อ่านว่าแพ็คเกตจิ้ง) โดย ปกติคาว่า packing มีความหมายใกล้เคียงกับคาว่าการบรรจุหีบห่อ packing สื่อความหมายถึงการบรรจุห่อเพื่อการขนส่ง คา ว่าpackaging มีความหมายกว้างกว่าตรงกับคาว่าบรรจุภัณฑ์ในภาษาไทย (ปุ่น คงเจริญเกียรติ , 2531 , หน้า 7) 
ภาชนะบรรจุ สาหรับผลิตภัณฑ์ 
หน้าที่และประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์ 
ทาหน้าที่ทั้งต่อตัวผลิตภัณฑ์โดยตรง และหน้าที่สื่อข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ 
1. การทาหน้าที่บรรจุใส่สินค้า เช่น ใส่ห่อสินค้า ด้วยการชังตวงวัดหรือนับ
2. การทาหน้าที่คุ้มครองป้องกันตัวผลิตภัณฑ์ ไม่ให้สินค้าเสียรูปแตกหักไหลซึม 
3. ทาหน้าที่รักษาคุณภาพอาหาร เช่น ป้องกันอากาศซึมผ่าน ป้องกันแสง ป้องกันความชื้น เป็นต้น 
4. ทาหน้าที่เป็นฉลากแสดงข้อมูลรายละเอียดของสินค้า เช่นเครื่องหมายการค้า ข้อมูลส่วน ผสม แหล่งผลิต เป็นต้น 
5. ทาให้ตั้งราคาขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความสวยงามของบรรจุภัณฑ์จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า 
6. เพื่ออานวยความสะดวกในการจัดวางขนส่งและจัดแสดง 
7. สร้างความน่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค เป็นการส่งเสริมการขายและเพิ่มยอดขาย 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาของบรรจุภัณฑ์ 
ในกระบวนการสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ มีองค์ประกอบที่เข้ามาเกี่ยวข้องที่ส่งผลต่อราคาของการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ทั้งต่อราคารวมและ ราคาต่อหน่วย ดังนี้ 
1. ราคาต้นทุนของวัสดุบรรจุภัณฑ์ 
2. ราคาของกรรมวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์ 
3. ราคาของการเก็บรักษาและการขนส่ง 
4. ราคาของเครื่องมือเครื่องจักร ที่ใช้ในการผลิตและบรรจุภัณฑ์ 
5. ราคาของการใช้แรงงานที่เกี่ยวข้อง 
สรุป 
จากนิยามของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แสดงให้เห็นถึงบทบาทหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ที่มีต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เกิดประสิทธิภาพ ทั้ง ในด้านการคุ้มครองผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการเพิ่มมูลค่า การส่งเสริมการขาย จึงควรเรียนรู้การนาองค์ความรู้ด้านบรรจุภัณฑ์ ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ตอบสนองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นต่อไปในอนาคต 
กาลเวลาที่ผ่านมาส่งผลต่อการเลือกใช้วัสดุ พร้อมกับการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ ได้อย่างน่าสนใจ โดยเริ่มต้นจาก ช่วงแรกเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติ รูปแบบเรียบง่าย 
ไม่ซับซ้อน วัสดุยุคต่อมาเริ่มมีการพัฒนาเทคนิคการผลิตที่มีกระบวนการ ได้แก่ กระบวนการผลิตกระดาษ กระบวนการผลิต เครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น และล่วงเลยจนถึงยุคปัจจุบันเริ่มให้ความสาคัญกับแนวคิดบรรจุภัณฑ์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการใช้บรรจุ ภัณฑ์เป็นช่องทางในการสื่อสารข้อมูล วัตถุประสงค์ดั้งเดิม เพื่อคุ้มครองผลิตภัณฑ์ ก็เปลี่ยนเป็นบรรจุภัณฑ์ที่สามารถสื่อสารกับ ผู้บริโภค ส่งผลให้เกิดปฏิสัมพันธ์ และสร้างเจตคติที่ดีระหว่างผลิตภัณฑ์กับผู้บริโภคได้ชัดเจนมากขึ้น
ทบทวนบทเรียน 
แบบฝึกหัด 
(คะแนนเต็ม 25 คะแนน) 
1. นักศึกษาทาแบบฝึกหัดต่อไปนี้ให้ครบทุกข้อ ให้ได้คะแนนรวมไม่น้อยกว่า 80% (ทาถูกต้องอย่างน้อย 3 ข้อ) 
2. เมื่อทาเสร็จแล้วให้ส่งอาจารย์โดยตรงเพื่อเก็บคะแนน 
1. ให้นักศึกษาสารวจและสังเกตบรรจุภัณฑ์ที่มีในปัจจุบัน ให้เขียนภาพแสดงให้เห็นรูปทรงและองค์ประกอบของบรรจุภัณฑ์มา จานวน 10 ชิ้น พยายามเลือกบรรจุภัณฑ์ที่มีความแตกต่างกัน และทดลองนิยามความหมายของบรรจุภัณฑ์ ตามคุณลักษณ์และองค์ประกอบที่ ปรากฏ 
2. ให้นักศึกษาเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันเช่น ขนม ของใช้ เป็นต้น โดยที่ผลิต ภัณฑ์ชิ้นแรกไม่มีบรรจุภัณฑ์กับผลิตภัณฑ์ชิ้น ที่สองมีบรรจุภัณฑ์ นักศึกษาคิดว่าของทั้งสองชิ้นแตก ต่างกันอย่างไร แยกแยะประเด็นไม่น้อยกว่า 5 ข้อ 
3. ให้นักศึกษาวัสดุบรรจุภัณฑ์ตามประวัติศาสตร์ มีมากมายหลายชนิด และมีรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกัน ให้เลือกวัสดุบรรจุภัณฑ์มา 5 ชนิด พร้อมบอกลักษณะการใช้งานประกอบ 
4. ยกตัวอย่างในธรรมชาติอะไรที่เป็นแรงบันดาลใจ ให้มนุษย์สร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์พร้อม ยกตัวอย่างประกอบ 3 ตัวอย่าง 
5. ให้นักศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของการบรรจุหีบห่อ( packing ) กับบรรจุภัณฑ์ (packaging )

More Related Content

What's hot

ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานKrooIndy Csaru
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel Meaw Sukee
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราSilver Bullet
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1korn jose
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพรา
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 

Similar to การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และหลักหรือเทคนิคต่างๆสำหรับการออกแบบ

พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033
พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033
พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033ladyployda
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
โครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocxโครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocxWaritsanan Chot
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจสร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจisamare-hesheit
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชSaranpattara Jace
 
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมJaohjaaee
 

Similar to การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และหลักหรือเทคนิคต่างๆสำหรับการออกแบบ (20)

พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033
พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033
พิชชากานต์ หงษ์ทอง 51011123033
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Principle of marketing
Principle of marketingPrinciple of marketing
Principle of marketing
 
Principle of marketing
Principle of marketingPrinciple of marketing
Principle of marketing
 
001
001001
001
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
โครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocxโครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocx
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจสร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และหลักหรือเทคนิคต่างๆสำหรับการออกแบบ

  • 1. วิชาทัศนศิลป์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 /2557 โดย ... นางสาวรัตติยา คาประชา ***** เรื่อง**** การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และหลักหรือเทคนิคต่างๆสาหรับการออกแบบ
  • 2. ความรู้พื้นฐานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ในโลกธุรกิจยุคปัจจุบันที่มีการแข่งขันทางด้านการค้าสูง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความเข้มแข็งด้านการจัดการตลาด หรือการพัฒนา รูปแบบคงจึงยังไม่เพียงพอ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสงเสริม เพื่อการยกระดับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนขนาดกลางและขนาดเล็ก ให้มีความเข้มแข็งในการทาธุรกิจและขยายตลาด เบื้องต้นควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความ เป็นมาตลอดจนความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ เป็นแนวคิดในการเรียนรู้อดีต ศึกษาปัจจุบัน เพื่อก้าวไปในอนาคต ความเข้าใจเรื่องราวของ บรรจุภัณฑ์ในบทนี้จะช่วยให้การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเป็นทางเลือกของผู้ประกอบการ เล็งเห็น ความ สาคัญในการเลือกพัฒนาบรรจุภัณฑ์กับผลิตภัณฑ์ของตนเอง ได้อย่างโดดเด่นน่าสนใจ ความหมายของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 1. ความหมายของการออกแบบ มีผู้เชี่ยวชาญได้ นิยามความหมายของการออกแบบ (Design) ไว้ ดังนี้ กูด (Good 1973:165) กล่าวว่า การออกแบบ เป็นการวางแผนหรือกาหนดรูปแบบรวมทั้งการตกแต่งในโครงสร้าง รูปทรงของงานศิลปะ ทัศนศิลป์ดนตรี ตลอดจนวรรณกรรม โกฟ (Gove 1956:611) เป็นการจัดแต่งองค์ประกอบมูลฐานในการสร้างงานศิลปกรรม เครื่องจักร หรือประดิษฐ์ กรรม ศิริพงศ์ พยอมแย้ม(2537:22) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง กระบวนการทางความคิดในอันที่จะวางแผนรวบรวม องค์ประกอบทั้งหลายเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสรรค์ หรือปรับปรุงประดิษฐกรรมต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้าน ประโยชน์ใช้สอยและด้านความงาม วิรุณ ตั้งเจริญ (2539:20) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง การวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบโดยการวางแผนจัด ส่วนประกอบของการออกแบบให้สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย วัสดุ และการผลิต มาโนช กงกะนันทน์ (2538:27) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง กระบวนการสร้างสรรค์หนึ่งของมนุษย์ โดยมีทัศนธาตุและ ลักษณะธาตุเป็นองค์ประกอบ สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ (2540:1) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง เป็นการสร้างสรรค์ที่มีผลปรากฏเป็นรูปธรรม คือ มี รูปร่างหรือรูปทรงซึ่งต้องใช้พื้นที่ในการ ดารงรูปร่างหรือรูปทรงนั้นๆ พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ (2530 : 596) การออกแบบ คือ การทาเป็นต้นแบบทาเป็น แผนผัง
  • 3. 2. ความหมายของบรรจุภัณฑ์ นิยามของคาว่าบรรจุภัณฑ์ (Packaging) มีนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ ได้กล่าวไว้ ดังนี้ กองส่งเสริมอุตสาหกรรม(2517:19) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในการขนส่งผลิตภัณฑ์ไปยังแหล่งใช้ ประโยชน์ โดยความประหยัดและปลอดภัย นิไกโด เคล็คเจอร์(Nikaido Clecture) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์เป็นเทคนิคที่ส่งเสริมการขายกับการประสานประโยชน์ ระหว่างวัตถุกับภาชนะบรรจุ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการคุ้มครองในระหว่างการขนส่งและการเก็บรักษาในคลัง ในพจนานุกรมใหม่ของ เว็บสเตอร์ส (Webster's new collegiate Dictionary:1956) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือ กล่องหรือหีบห่อที่ทาขึ้นเพื่อเก็บรักษาหรือเพื่อการขนส่ง สุดาดวง เรืองรุจิระ(2529:128) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง กิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้น ตลอดขบวนการทางการตลาดที่ เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบ สร้างสรรค์ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อให้กับผลิตภัณฑ์ ประชิด ทิณบุตร(2531:20)กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง หน่วยรูปแบบของวัตถุภายนอกของผลิตภัณฑ์ ที่ทาหน้าที่ปกป้อง คุ้มครอง หรือห่อหุ้มผลิตภัณฑ์ภายในไม่ให้เกิดความเสียหาย สะดวกในการขนส่ง และเอื้อประโยชน์ในทางการค้าและต่อการ บริโภค บริสตันและนีลล์(Briston And Neill,1972:1) ได้ให้ความหมายของบรรจุภัณฑ์ไว้ 2 ประการกว้างๆ คือ 1) การบรรจุภัณฑ์ คือ ศิลปะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการตระเตรียมสินค้าเพื่อการขนส่งและการขาย 2) การบรรจุภัณฑ์ คือวิธีการส่งมอบผลิตภัณฑ์ไปยังผู้บริโภคให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยสมบูรณ์และมีราคาที่เหมาะสม ดารณี พานทอง(2524:29) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือ สิ่งห่อหุ้มหรือบรรจุผลิตภัณฑ์รวมทั้งภาชนะที่ใช้ในการ ขนส่งผลิตภัณฑ์จากแหล่งผู้ผลิตไปยังแหล่งบริโภคหรือแหล่งใช้ประโยชน์ เพื่อวัตถุประสงค์เบื้องต้นในการป้องกันและรักษา ผลิตภัณฑ์ให้คงสภาพ ตลอดจนคุณภาพใกล้เคียงกัน เมื่อแรกผลิตให้มากที่สุดนอกจากนี้อาจกล่าวได้ว่า หีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์ เป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างหนึ่งในกระบวนการผลิตและหีบห่อ อาจสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านการตลาด วัตถุประสงค์ ทางด้านการเก็บรักษา เป็นต้น จรูญ โกสีย์ไกรนิรมล (2528:109) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือการนาเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยที่มีความแข็งแรง สวยงามได้สัดส่วนที่ถูกต้องสร้างภาพพจน์ที่ดี มี ภาษาในการติดต่อสื่อสาร และทาให้เกิดความพึงพอใจ จากผู้ซื้อสินค้า นอกจากนี้ยังมีผู้นิยามความหมายของบรรจุภัณฑ์ในอีกหลายความหมาย ได้แก่ การบรรจุภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบสร้างสรรค์ภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อให้กับผลิตภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์ หมายถึง การนาวัสดุ (เช่น กระดาษ แก้ว โลหะ) มาประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพื่อ ประโยชน์ด้านความแข็งแรง สวยงาม สร้างความพึงพอใจจากผู้ซื้อสินค้านั้น
  • 4. บรรจุภัณฑ์ หมายถึง สิ่งห่อหุ้ม หรือบรรจุผลิตภัณฑ์ รวมถึงภาชนะที่ใช้เพื่อการขนส่งผลิตภัณฑ์ จากแหล่งผลิต ไป ยังแหล่งผู้บริโภค เพื่อประโยชน์ในการป้องกัน รักษาผลิตภัณฑ์ไม่ให้ชารุดเสียหาย 3. ความหมายการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (packaging design) หมายถึง การกาหนดรูปแบบและโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ให้สัมพันธ์ กับหน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ เพื่อการคุ้มครองป้องกันไม่ให้สินค้าเสียหายและเพิ่มคุณค่าด้านจิตวิทยาต่อผู้บริโภค โดยอาศัยทั้งศาสตร์ และศิลป์ในการสร้างสรรค์ วัตถุประสงค์ของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 1.เพื่อสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถเอื้อประโยชน์ด้านหน้าที่ใช้สอยได้ดี มีความปลอดภัย ประหยัดและมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถสื่อสารและสร้างผลกระทบต่อผู้บริโภคโดยใช้ความรู้แขนงศิลปะเข้ามาสร้างคุณลักษณะ เช่น มี เอกลักษณ์มีลักษณะพิเศษที่ดึงดูดและสร้างการจดจาตลอดจนเข้าถึงความหมายและคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ 3.เพื่อปกป้องคุ้มครองและรักษาคุณภาพสินค้า 4.เป็นตัวชี้บ่งและสื่อสารรายละเอียดสินค้า ดึงดูดผู้บริโภค แสดงถึงภาพลักษณ์ 5.เป็นต้นทุนในการผลิตสินค้า เมื่อบรรจุภัณฑ์ดีย่อมมีส่วนช่วยให้มูลค่าสินค้าสูงขึ้น ประเภทของบรรจุภัณฑ์ การแบ่งบรรจุภัณฑ์แบ่งได้หลายวิธี เช่น แบ่งประเภทตามลักษณะกรรมวิธีการผลิตและวิธีการขนถ่ายผลิตภัณฑ์ การแบ่งและเรียกชื่อบรรจุ ภัณฑ์ อาจแตกต่างกันออกไป แต่มีวัตถุประสงค์หลักที่คล้ายกัน คือ เพื่อป้องกันผลิตภัณฑ์ เพื่อจาหน่ายผลิตภัณฑ์และเพื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ แบ่งออกได้ ดังนี้ 1. บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย บรรจุภัณฑ์จะห่อหุ้มและสัมผัสกับ ผลิตภัณฑ์โดยตรง บรรจุภัณฑ์ชั้นในจะทา หน้าที่หลักในการป้องกันสินค้าจาก ความชื้นและอากาศ ที่จะทาให้ผลิตภัณฑ์ เสียคุณภาพ คุณลักษณะมีรูปร่างลักษณะ ต่าง ๆเช่น เป็นขวด กระป๋อง หลอด ถุง กล่อง การออกแบบสามารถทาให้มีลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทาให้มีรูปร่างที่เหมาะแก่การจับ ถือ และอานวยความสะดวกต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ภายใน พร้อมทั้งทาหน้าที่ให้ความปกป้องแก่ผลิตภัณฑ์โดยตรง
  • 5. 2. บรรจุภัณฑ์ชั้นใน ทาหน้าที่ในการห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ ชั้นในไม่ให้ได้รับแรงกระแทกจากภายนอก บรรจุภัณฑ์ ชั้นที่สองมีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกไว้ ด้วยกัน หรือเป็นชุดในการจาหน่ายรวมตั้งแต่ 2 – 24 ชิ้นขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ขั้นแรกคือ ป้องกันรักษา ผลิตภัณฑ์จากน้า ความชื้น ความร้อน แสง แรง กระทบกระเทือน และอานวยความสะดวกแก่การขาย ปลีกย่อย เพื่อความสะดวกในการป้องกันและขนส่ง และทาหน้าที่ขายด้วยจึงต้องทาการออกแบบให้สวยงามดึงดูดใจผู้บริโภค เช่น กล่อง บรรจุเครื่องดื่มกระป๋องชนิด 6 กระป๋อง กล่องกาแฟชนิด 50 ซองหรือกล่องบรรจุหลอดยาสีฟัน 3. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ ทาหน้าที่ใน การป้องกันผลิตภัณฑ์ การขนถ่ายสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วในระหว่างการขนส่ง ลักษณะของบรรจุภัณฑ์ นี้ ได้แก่ หีบ ไม้ลัง กล่องกระดาษค่อนข้างขนาดใหญ่ที่บรรจุสินค้าไว้ภายใน ความเป็นมาของบรรจุภัณฑ์ ความเป็นมาของบรรจุภัณฑ์ได้จากการสังเกตธรรมชาติสิ่งแวดล้อมรอบตัว แรงบันดาลใจของมนุษย์ที่มีต่อบรรจุภัณฑ์ เริ่มแรก จากการสังเกตธรรมชาติ ได้แก่ รูปทรงของไข่ รูปทรงโค้งของเปลือกไข่ทาหน้าที่คอยปกป้องแรงกระแทกของไข่ไม่ให้ส่งผล รุนแรงต่อเนื้อไข่ภายใน ลักษณะที่รีของเปลือกไข่ทาให้ไข่กลิ้งได้ไม่สะดวก พื้นผิวของเปลือกไข่มีรูพรุนทาให้มีอากาศภายในอย่าง เหมาะสม รูปโค้งของเปลือกไข่ทาให้ความอบอุ่นจากการกกเป็นไปอย่างทั่วถึง เนื้อไข่ขาวภายในมีความเหลวหนืดทาหน้าที่ปกป้องไข่ แดง
  • 6. สิ่งที่ปรากฏในธรรมชาติอีกอย่างหนึ่ง ได้แก่ ฝักถั่วลันเตาที่นับว่าเป็นบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์แบบ เม็ดถั่วภายในเรียงตัวเป็นแถวตัวฝักมี ลักษณะเปรียบเหมือนเคลือบฟิล์ม2 ชั้น โดยมีชั้นนอกที่แข็งและชั้นในที่อ่อนนุ่ม ภายในฝักถั่วมีการปรับสภาพอากาศที่เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตของเมล็ดถั่ว ในการดารงชีวิตของมนุษย์มีความจาเป็นที่ต้อง บริโภคอาหาร ทาให้มนุษย์เรียนรู้การแก้ ปัญหาและ พัฒนาสิ่งที่อานวยความสะดวกในการบริโภค โดย การดัดแปลงสิ่งของที่อยู่รอบตัวด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้ใบไม้ เปลือกไม้ เปลือกหอย กระบอกไม้ กระเพาะสัตว์ มาผูกมัด เพื่อ ประกอบการรับประทานอาหาร และพัฒนาตกแต่ง ประดิษฐ์ เปลี่ยนแปลง ให้เหมาะสมกับการใช้สอย มากขึ้นรวมถึงการอานวยความสะดวกในการเก็บ รักษาและเคลื่อนย้ายอาหาร ได้แก่ การนาเอาส่วน ต่างๆของพืชหรือสัตว์ มาขัดสาน เย็บ มัด ห่อหุ้ม เป็นกระจาด ชะลอม สิ่งห่อหุ้ม ซึ่งถือเป็นบรรจุภัณฑ์ในยุคแรกๆ บรรจุภัณฑ์ยุคแรกเกี่ยวพันกับมนุษย์โครมันยอง (cromangnon) ที่รู้จักการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นพวกแรก ซึ่งมีอายุ ประมาณ 10,000-20,000 ปีก่อนคริสตกาล เมื่อมีการผลิตก็สืบเนื่องต่อถึงการแลกเปลี่ยนและค้าขายผลผลิต อันส่งผลต่อการ คิดค้นบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้สอย จากหลักฐานที่ปรากฏในสมัยประวัติศาสตร์ พบว่าเรื่องราวของภาพเขียนภายในพีระมิดในสมัยอียิปต์โบราณ มี ภาพเขียนแสดงเรื่องราวการใช้ใบปาล์มห่อมัดไก่สด เพื่อป้องกันการเน่าเสียปรากฏอยู่ด้วย ได้มีการค้นพบหลักฐานหลายอย่างในสมัยกรีกและโรมัน จากซากเรือที่จมในทะเลเมดิเตอเรเนียน อันเป็นเส้นทาง ค้าขายสินค้าในยุคนั้น พบสิ่งของต่างๆที่คาดว่าเป็นบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ ถังไม้ ลังไม้ ภาชนะเครื่องแก้ว เป็นต้น การแบ่งยุคสมัยของบรรจุภัณฑ์ จากการใช้วัสดุทาบรรจุภัณฑ์ จาแนกออก ได้ดังนี้ ยุคโบราณมนุษย์ยุคแรกใช้บรรจุภัณฑ์ที่ได้จากวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบไม้ เปลือกหอย หนังสัตว์ เปลือกผลไม้ ไม้ที่กลวง ในอดีตมนุษย์ยัง ไม่รู้จักการเพาะปลูก จึงต้องออกหาอาหารในป่า จึงได้คิดหาสิ่งรอบตัวมาช่วยในการขนของเพื่อให้ได้ของคราวละมาก ๆ
  • 7. การใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ได้จากพืชในท้องถิ่น ประมาณ 5,000 ปี ก่อนพุทธกาล นาวัสดุจากพืชและสัตว์ มาทา ตะกร้า ถุง กระสอบ มนุษย์เริ่มประยุกต์สิ่งรอบตัวเดิมให้สะดวกต่อ การใช้งานและ มีการใช้ดินเผา เพื่อทาภาชนะบรรจุภัณฑ์ เพื่อความทนทานมากขึ้น ปรากฏหลักฐานการใช้เครื่องปั้นดินเผาในประเทศกรีซ ประมาณ 2,000 ปี ก่อนพุทธกาล เริ่มใช้บรรจุภัณฑ์แก้ว ในอารยธรรมแถบดินแดนเมโสโปเตเมีย ค้นพบเม็ดแก้วแต่ใช้ทาเป็นเครื่องประดับ ประมาณ 500 ปี ก่อนคริสตกาล เริ่มผลิตแก้วด้วยการเป่าแก้ว ประมาณ 600 ปี ก่อนคริสตกาล เริ่มมีการผลิตกระดาษ ครั้งแรก ในดินแดนอียิปต์โบราณ และ ประเทศจีนโบราณ ยุคเริ่มแรก ค.ศ. 1702 เริ่มมีการ ผลิตบรรจุภัณฑ์กระดาษขึ้นใช้ ค.ศ. 1809 ใช้ บรรจุภัณฑ์กระป๋อง สนองการค้นพบ วิธีการถนอมอาหารด้วยความร้อน ค.ศ. 1871 มี การจดลิขสิทธ์ในการผลิตกล่องกระดาษ ลูกฟูก ค.ศ. 1892 นายวิลเลียม เพ้นเทอร์ ชาวสหรัฐอเมริกา คิดค้นฝาจีบใช้กับขวดแก้วสาเร็จ ค.ศ. 1894 มีการใช้กล่องกระดาษลูกฟูก เป็นบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่งทางรถไฟ ค.ศ. 1898 ใช้บรรจุภัณฑ์ระบบสุญญากาศ สาหรับยาสูบ ในประเทศอังกฤษ ยุคปัจจุบัน ค.ศ.1960 ผลิตถุงพลาสติกที่สามารถต้มในน้าร้อนได้ ค.ศ. 1963 เริ่มผลิตกระป๋องอะลูมิเนียม สาหรับเครื่องดื่มและ กระป๋องสเปรย์ ยุคคลาสสิค (ระหว่างช่วง ค.ศ.1960 – 1989) เริ่มมีการแบ่ง บรรจุสินค้า มีการบ่งบอกยี่ห้อและสรรพคุณบนบรรจุภัณฑ์ พัฒนา กระป๋องบรรจุ ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์สาหรับบุหรี่ และขนมปัง กรอบ เกิดหลอดบีบ (collapsible tube) ใช้เป็นบรรจุ ภัณฑ์สาหรับยาสีฟัน เริ่มมีการขึ้นรูปของกระดาษ โดยเริ่มแรกมี
  • 8. ลักษณะเป็นกล่อง ยุคนูโว (ระหว่างช่วง ค.ศ. 1900 – 1919)ใช้ศิลปะอาร์ตนูโว ซึ่งมีลักษณะวิจิตรบรรจงนิยมใช้เส้นโค้งเลียนแบบธรรมชาติ เกิด บรรจุภัณฑ์ชนิดใหม่คือ อลูมีเนียม ฟอยล์ (aluminium foil) และ เซลโลเฟรน ฟิล์ม (cellophane film) ยุคเดคโค (ระหว่างช่วง ค.ศ. 1920 – 1929) ฟิล์มบางใส นิยมใช้ในห่อขนมหรือหุ้มรอบซองและกล่อง ใช้อลูมิเนียมทาหลอดยา สีฟัน ออกแบบกล่องกระดาษแข็งเคลือบไขสาหรับสินค้าที่ต้องการเก็บไว้ได้นาน ใช้ถ้วยกระดาษบรรจุไอสครีม นม ยุคเทคโนโลยีและนักออกแบบสร้างสรรค์ (ระหว่างช่วง ค.ศ. 1960–1989) นิยมบรรจุภัณฑ์ขวดพลาสติก กล่องกระดาษเคลือบไข กระป๋องโลหะนามา บรรจุเครื่องดื่ม มีการใช้อลูมิเนียม ฟอยล์ แพร่หลายยิ่งขึ้น เริ่มมีการใช้ฝาขวดที่เป็นอลูมิเนียม และฝาขวดชนิดฝาเกลียว ขวดพลาสติก เพทบรรจุภัณฑ์สาหรับเครื่องดื่ม น้าอัดลม บรรจุภัณฑ์พลาสติกระบบบรรจุภัณฑ์สุญญากาศ ค.ศ. 1981 เริ่มมีการนากล่องกระดาษประกบกับฟิล์มพลาสติก เพื่อทา บรรจุภัณฑ์นมและเครื่องดื่ม ยุคปัจจุบัน (ระหว่างช่วง ค.ศ.1990–1999) ให้ ความสาคัญกับบรรจุภัณฑ์ปลอดเชื้อ คานึงความปลอดภัยของผู้บริโภค นิยมใช้บรรจุภัณฑ์น้าหนักเบา แบ่งการบรรจุออกเป็นหน่วยย่อย คานึงถึง ความสะดวกสบาย ความสวยงามมากขึ้น อีกทั้งยังคานึงถึงต้นทุนบรรจุ ภัณฑ์และการนาบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ใช้หลัก 3 R (Recycle - Reuse - Reduce) เน้นสุขภาพของผู้บริโภค รูปแบบ ดึงดูด ความสนใจ ใช้กราฟิกและรูปร่างแปลกใหม่ สิ่งแวดล้อม เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม จุดเด่นของบรรจุภัณฑ์ปี ค.ศ. 2003 บรรจุภัณฑ์มีรูปทรง สีสันแปลกใหม่ เล่นลวดลายและกราฟิก พกพาง่าย สะดวกต่อการใช้งาน ขนาดเล็กลงมีการใช้วัสดุร่วม บรรจุภัณฑ์สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีหลากหลายเพิ่มทางเลือกให้กับ ผู้บริโภค จากอดีตถึงปัจจุบัน พัฒนาการของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมาก สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก จากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมอุตสาหกรรม และกาลังก้าวสู่สังคมวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ที่เอื้อต่อการสร้างสรรค์รูปแบบและการใช้วัสดุ แปลกใหม่ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ แนวคิดเดิมในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อความจาเป็นในการดารงชีวิต เปลี่ยนแปลงเป็นการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการค้า การ ขนส่ง การป้องกันตัวสินค้า มีระบบการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการพัฒนาวัสดุและเทคโนโลยีในการผลิตบรรจุภัณฑ์ ถ้าหากจะสรุป ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนารูปแบบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แบ่งออกเป็น ความก้าวหน้าของกรรมวิธีการผลิตกระดาษและ ศิลปะ การพิมพ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์อย่างเป็นระบบ มีมานานกว่าสองศตวรรษแล้ว โดยเริ่มต้น จากการ ที่ผู้ผลิตสินค้าต้องการ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ถึงแม้ว่า การใช้งานของบรรจุภัณฑ์นั้น จะมีไว้เพียงเพื่อบรรจุ และเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันได้มีการพัฒนา และเพิ่มความหลากหลายมากขึ้นกว่าที่เคยมีมา
  • 9. ความก้าวหน้า ของเครือข่ายการคมนาคมขนส่งในโลกทุกวันนี้ รวมไปถึงความซับซ้อน ของการค้าปลีก สมัยใหม่ ทาให้การบรรจุภัณฑ์มี ความสาคัญมากที่สุด ในการเก็บรักษาและป้องกัน ไม่ให้ผลิตภัณฑ์เกิดความเสียหาย ระหว่างการขนส่งจากโรงงานผลิต ไปยังร้านค้าปลีก หรือผู้บริโภค นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์ ยังถูกใช้ให้เป็น สื่อโฆษณา ที่สามารถเคลื่อนที่ได้ ป้องกันไม่ให้ผลิตภัณฑ์มีรอยขีดข่วน แสดงรายละเอียด การใช้ หรือแม้แต่เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์เอง ต้นกาเนิดของการบรรจุภัณฑ์ จากวันนี้ย้อนกลับไปในอดีต ช่วงปลาย ศตวรรษที่สิบแปดในยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ครั้งใหญ่ในอุตสาหกรรมการผลิต ขณะที่ก่อนหน้านั้น กระบวนการผลิตส่วนใหญ่ที่ เป็นงานหนัก ต้องอาศัยแรงงานของกรรมกร และผลผลิตที่ได้ ก็มีจานวนน้อย เครื่องจักรที่สามารถผลิตสินค้าจานวนมาก จึงได้ถูกนาไปใช้ เพื่อเพิ่มจานวนการผลิต ของผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน ไม่เพียงแต่ผลิตสินค้า อย่างเดียวเท่านั้นยังรวมไปถึง การผลิตบรรจุภัณฑ์ด้วย ในช่วงแรกอาหารจะนาไปบรรจุ ในภาชนะโลหะที่ปิดผนึกและถูกหลัก อนามัย คือกระป๋องบรรจุอาหารที่ทาจากดีบุกหรือกล่องกระดาษแข็ง ได้มีการนาไปใช้ กันอย่างกว้างขวางเพราะมีน้าหนักเบาและสามารถพิมพ์ข้อมูลหรือภาพทับลงบน กระดาษ บนแผ่นกระดาษได้ง่ายและ เป็นการประหยัดพื้นที่อีกด้วย กล่องโลหะก็ได้รับการพัฒนากันอย่างกว้างขวาง เช่น เดียวกันในเวลานั้น เพราะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ ดีกว่าการใช้กล่องกระดาษแข็ง โดยเฉพาะสินค้าที่บูดเน่าได้ เช่น ขนมปังกรอบ หรือ ขนมหวาน ส่งผลให้ระดับความต้องการที่จะเก็บรักษา สินค้าเพิ่มจานวนมากขึ้น ปัจจุบันนี้เทคนิค ในการผลิตได้ก้าวไกล ทาให้บรรจุภัณฑ์โลหะเหล่านี้ มีรูปแบบหรือรูปทรงต่างๆได้ตามต้องการ ด้วยการนา เทคนิคคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิต รวมถึงพลาสติกที่ได้ รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนสามารถนามาใช้สอยในทุกวันนี้ เทคนิคการพิมพ์ที่เจริญก้าวหน้ามาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่19 ต้องการพัฒนาในเรื่องเทค นิคการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่มีความ รวดเร็ว ตราผลิตภัณฑ์หรือยี่ห้อที่ติดอยู่บนภาชนะบรรจุภัณฑ์ไม่ว่าจะเป็นวัสดุ ประเภท ขวดแก้ว หม้อดินเผา กล่อง กระป๋องโลหะ กล่อง กระดาษแข็ง หรือกระดาษห่อ ธรรมดาๆ ต้องมีฉลากที่จะบอกยี่ห้อของผลิตภัณฑ์นั้น ส่งผลในเรื่องของการเพิ่มคุณ ค่ามูลค่าและความสนใจให้กับสินค้าทั่วไป การพิมพ์รูปภาพและข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ มีความสามารถสาคัญต่อการรับรู้ตราสัญลักษณ์ ยี่ห้อ และรายละเอียดของสินค้าให้ เหมาะสมพอดี การพัฒนาของการพิมพ์สีทาให้ผู้ออกแบบ ได้สร้างสรรค์รูปแบบสาหรับผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจยิ่งขึ้น ปัจจุบันเครื่องหมายการค้าหรือตราของผลิตภัณฑ์ ได้กลายมาเป็นส่วนสาคัญเท่ากับตัวของผลิตภัณฑ์ และเป็นเกณฑ์ในการ ตัดสินใจเลือกซื้อของผู้บริโภค รูปแบบที่ประสบความสาเร็จที่มีอยู่มากมาย มิติใหม่ของบรรจุภัณฑ์ คือการนาหลักการทางศิลปะและการ ออกแบบมาพัฒนากราฟิกบรรจุภัณฑ์ให้ได้รูปแบบมาตรฐาน ให้เป็นที่ยอมรับกันในปัจจุบัน พร้อมไปกับความใหญ่โตและความ สลับซับซ้อนของระบบธุรกิจอุตสาหกรรม สื่อโฆษณา การแข่งขันเพื่อช่วงชิงส่วนแบ่งตลาด
  • 10. บรรจุภัณฑ์โลหะ นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ทาหน้าที่ออกแบบสร้างสรรค์รูปทรงบรรจุภัณฑ์ ภาชนะหีบห่อสาหรับสินค้า โดยคานึงถึงความ สวยงาม วัสดุที่นามาใช้ ตลอดจนขั้นตอนการผลิต ให้ถูกต้องตามวัสดุโครงสร้างการผลิตและประโยชน์ในการใช้สอย และสอดคล้องกับ พฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะงานผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้จะต้องทาการศึกษาการออกแบบและวิวัฒนาการของภาชนะ หีบห่อ หรือบรรจุภัณฑ์ วิเคราะห์ศึกษาลักษณะวัสดุต่างๆที่นามาใช้ผลิต นาเทคโนโลยีในการผลิตกับ การออกแบบมาผสมผสานกันในการออกแบบที่ต้อง สอดคล้องกับกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม นอกจากการออกแบบที่สวยงามแล้ว ยังต้องคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. สินค้าที่จะบรรจุในภาชนะ 2. แนวโน้มทางการตลาด และคู่แข่งขันของสินค้า 3. กลุ่มเป้าหมายผู้บริโภค ตลอดจนความสัมพันธ์ สิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและพฤติกรรมของมนุษย์ 4. วัสดุและคุณภาพของวัสดุที่จะนามาใช้ แหล่งวัตถุดิบ ราคาวัตถุดิบ จากนั้นนาข้อมูล มาวิเคราะห์ แล้วจึงนาไปออกแบบ ประมาณราคาต้นทุนในการผลิตและแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทาแบบจาลอง และทดลองผลิตต้นแบบเพื่อให้ผู้ว่าจ้างพิจารณา แก้ไข นาผลิตภัณฑ์ต้นแบบมาแก้ไขตรวจสอบความถูกต้องตามเงื่อนไขที่ตกลงกับ ผู้ว่าจ้าง นอกจากนั้น ยังต้องตรวจสอบความปลอดภัย ความแข็งแรง และความทนทานอีกด้วย ควบคุมดูแลงานรายละเอียด ในขั้นตอนการผลิตจนชิ้นงาน ส่งถึงมือลูกค้า สาหรับนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจะได้รับอัตราค่าจ้างเป็น เงินเดือนขั้นต้นประมาณ 7,000-9,000 บาท ซึ่งขึ้นอยู่กับผลงานการออกแบบ และผลงานการฝึกงาน ที่นาเสนอ อาจได้ค่าตอบแทนจูงใจเมื่อทางานเสร็จแต่ ละโครงงานโดยได้รับเป็น 2 - 3 เท่าของ เงินเดือน ส่วนโบนัส ขึ้นอยู่กับผลประกอบการของสถานประกอบกิจการ และได้รับ ผลประโยชน์อย่างอื่นตามกฎหมายแรงงาน ผู้ประกอบอาชีพนี้ ในสถานประกอบกิจการดังกล่าว จะมีกรอบกาหนดในการทางานรวมทั้งชั่วโมง การทางาน คือวันละ 8 ชั่วโมง หรือสัปดาห์ละ 40 - 48 ชั่วโมง และอาจต้องทางานล่วงเวลา ทางานใน วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด แต่ถ้าเปลี่ยนไป ประกอบอาชีพส่วนตัวโดยเปิดสานักงานหรือใช้บ้านเป็น ที่ทางาน รับจ้างทางานให้สถานประกอบกิจการเดิม หรือผู้ว่าจ้างอื่นๆ เป็น โครงงาน ไป ค่าตอบแทนจะคิดเป็นงานเหมา หรืออาจได้รับเงินค่าตอบแทนมากกว่าเดิม กาหนด เวลาทางานก็จะไม่แน่นอน
  • 11. สภาพการทางานบรรยากาศในการทางานสาหรับผู้ประกอบอาชีพนี้ จะเหมือนกับฝ่ายศิลปกรรมอื่นๆ ที่มีพื้นที่ ปฏิบัติงานเป็นสัดส่วนมีอุปกรณ์เครื่องมือในการออกแบบครบถ้วน ถ้าประกอบธุรกิจที่บ้านจะมีลักษณะเป็นสตูดิโอ การทางานที่มีอุปกรณ์ครบถ้วนเช่นกัน เมื่อปฏิบัติงานตามที่มีผู้ว่าจ้างแล้วเสร็จ ผู้ประกอบ อาชีพนี้ อาจจะออกแบบผลงานของตนเองอันไม่จากัดความคิด และรูปแบบ อาจเป็นทั้งบรรจุภัณฑ์อเนกประสงค์ หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ เพื่อ นาไปจาหน่ายเชิงพาณิชย์ ด้วยตนเอง คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรม, ศิลปกรรม และสาขาพาณิชย์ศิลป์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือนิเทศ ศิลป์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง 2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีไหวพริบและความสนใจความเคลื่อนไหวของธุรกิจและการตลาด เท่าๆ กับนักการตลาด 3. มีความรู้ในเรื่องวัสดุและวัตถุดิบต่างๆ ที่ใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์ 4. มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัยสูง มีความอดทน 5. มีความสามารถในการประมาณราคาวัสดุ แบบหีบห่อ ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ได้ 6. มีความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีในการผลิตเข้ามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ และใน การผลิต 7. สามารถทางานเป็นทีมได้ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 8. ใจกว้างสามารถรับฟังคาแนะนา และติชมได้ ปัจจุบัน อาชีพนี้มีการจ้างแรงงานอยู่ในระดับปานกลาง ถึงมาก ส่วนมากบริษัทผู้ว่าจ้าง นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ คือ บริษัทตัวแทนรับจ้างรับจัดโฆษณาประชาสัมพันธ์ บริษัทออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือบริษัทที่ผู้ผลิตสินค้าเป็นจานวนหลายประเภทและยี่ห้อ นอกเหนือจากผู้ปฏิบัติอาชีพนี้ จะมีทางเลือกในการทางานแบบอุตสาหกรรมแล้ว ปัจจุบันชุมชน ทั่วประเทศต่างหันมาทา การค้ากันระหว่างชุมชนทั่วประเทศโดยมีการส่งเสริมจากภาครัฐในการให้ ความช่วยเหลือให้ผลิตผลิตภัณฑ์สินค้าพื้นบ้านเพื่อการพาณิชย์ และการส่งออก ดังนั้นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ เหล่านั้นต่างต้องการภาชนะ และหีบห่อที่ร่วมสมัย และทันสมัยเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของสินค้า และดึงดูด เรียกร้องความสนใจจากผู้ซี้อหาหรือผู้บริโภค เป็นโอกาสอีกช่องทางหนึ่ง ที่ผู้ออกแบบบรรจุภัณฑ์สามารถ มีทางเลือกในการ ประกอบอาชีพนอกเหนือจากการทางานในสถานประกอบกิจการ และประกอบอาชีพอิสระในการผลิตสินค้าที่ระลึกและของขวัญ และ ส่วนมากผู้ประกอบอาชีพนี้สามารถสร้างสรรค์งานได้หลากหลายโดยไม่ยึดติดกับรูปแบบของงาน โอกาสก้าวหน้า ผู้ที่ปฏิบัติงานอาชีพ นี้ในสถานประกอบกิจการผลิต อาจได้รับการเลื่อนตาแหน่งไปจนถึงตาแหน่งสูงสุด ตามโครงสร้างขององค์กร เช่นผู้จัดการฝ่ายออกแบบบรรจุภัณฑ์ ถ้าประกอบอาชีพอิสระ อาจทาหน้าที่เป็นผู้ขายผลิตภัณฑ์ที่สร้างสรรค์ขึ้นเองหรือของผู้อื่นด้วย อาชีพที่เกี่ยวเนื่องนักออกแบบผลิตภัณฑ์ นักอออกแบบตรา และงานศิลป์บนบรรจุภัณฑ์ที่สาเร็จรูปแล้ว ศิลปินที่ทางาน ด้านศิลป เปิดบริษัทโพรดัคชั่นเฮาส์ ที่รับออกแบบงานทุกประเภท ผู้ประสานงานการผลิต ผู้ส่งออกสินค้า องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องต้องศึกษาก่อนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ 1. การสร้างและประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์ 2. การบรรจุและปิดผนึก 3. เครื่องจักรกลบรรจุภัณฑ์
  • 12. 4. การทดสอบบรรจุภัณฑ์ 5. กระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ 6. คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ 7. เศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8. การตลาด 9. กฎและข้อบังคับทางกฎหมาย 10. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ 11. การออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ความแตกต่างระหว่างคาว่า ภาชนะบรรจุ กับ บรรจุภัณฑ์ ยกตัวอย่างถ้าซื้อซอสพริกหนึ่งขวดเป็นบรรจุภัณฑ์ แต่เมื่อจะบริโภคโดยเทซอสพริกลงในถ้วยเล็ก ถือเป็นภาชนะ บรรจุ เมื่อใดที่ภาชนะบรรจุมีการผนึกและนาส่ง ภาชนะบรรจุนั้นก็จะเป็นบรรจุภัณฑ์ แม้ว่าจะไม่มีการพิมพ์ยี่ห้อหรือฉลากก็ตาม สาหรับคาศัพท์ภาษาอังกฤษ คาว่า packing (อ่านว่าแพ็คกิ้ง) และคาว่า packaging (อ่านว่าแพ็คเกตจิ้ง) โดย ปกติคาว่า packing มีความหมายใกล้เคียงกับคาว่าการบรรจุหีบห่อ packing สื่อความหมายถึงการบรรจุห่อเพื่อการขนส่ง คา ว่าpackaging มีความหมายกว้างกว่าตรงกับคาว่าบรรจุภัณฑ์ในภาษาไทย (ปุ่น คงเจริญเกียรติ , 2531 , หน้า 7) ภาชนะบรรจุ สาหรับผลิตภัณฑ์ หน้าที่และประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์ ทาหน้าที่ทั้งต่อตัวผลิตภัณฑ์โดยตรง และหน้าที่สื่อข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ 1. การทาหน้าที่บรรจุใส่สินค้า เช่น ใส่ห่อสินค้า ด้วยการชังตวงวัดหรือนับ
  • 13. 2. การทาหน้าที่คุ้มครองป้องกันตัวผลิตภัณฑ์ ไม่ให้สินค้าเสียรูปแตกหักไหลซึม 3. ทาหน้าที่รักษาคุณภาพอาหาร เช่น ป้องกันอากาศซึมผ่าน ป้องกันแสง ป้องกันความชื้น เป็นต้น 4. ทาหน้าที่เป็นฉลากแสดงข้อมูลรายละเอียดของสินค้า เช่นเครื่องหมายการค้า ข้อมูลส่วน ผสม แหล่งผลิต เป็นต้น 5. ทาให้ตั้งราคาขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความสวยงามของบรรจุภัณฑ์จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า 6. เพื่ออานวยความสะดวกในการจัดวางขนส่งและจัดแสดง 7. สร้างความน่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค เป็นการส่งเสริมการขายและเพิ่มยอดขาย ปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาของบรรจุภัณฑ์ ในกระบวนการสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ มีองค์ประกอบที่เข้ามาเกี่ยวข้องที่ส่งผลต่อราคาของการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ทั้งต่อราคารวมและ ราคาต่อหน่วย ดังนี้ 1. ราคาต้นทุนของวัสดุบรรจุภัณฑ์ 2. ราคาของกรรมวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์ 3. ราคาของการเก็บรักษาและการขนส่ง 4. ราคาของเครื่องมือเครื่องจักร ที่ใช้ในการผลิตและบรรจุภัณฑ์ 5. ราคาของการใช้แรงงานที่เกี่ยวข้อง สรุป จากนิยามของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แสดงให้เห็นถึงบทบาทหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ที่มีต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เกิดประสิทธิภาพ ทั้ง ในด้านการคุ้มครองผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการเพิ่มมูลค่า การส่งเสริมการขาย จึงควรเรียนรู้การนาองค์ความรู้ด้านบรรจุภัณฑ์ ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ตอบสนองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นต่อไปในอนาคต กาลเวลาที่ผ่านมาส่งผลต่อการเลือกใช้วัสดุ พร้อมกับการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ ได้อย่างน่าสนใจ โดยเริ่มต้นจาก ช่วงแรกเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติ รูปแบบเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน วัสดุยุคต่อมาเริ่มมีการพัฒนาเทคนิคการผลิตที่มีกระบวนการ ได้แก่ กระบวนการผลิตกระดาษ กระบวนการผลิต เครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น และล่วงเลยจนถึงยุคปัจจุบันเริ่มให้ความสาคัญกับแนวคิดบรรจุภัณฑ์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการใช้บรรจุ ภัณฑ์เป็นช่องทางในการสื่อสารข้อมูล วัตถุประสงค์ดั้งเดิม เพื่อคุ้มครองผลิตภัณฑ์ ก็เปลี่ยนเป็นบรรจุภัณฑ์ที่สามารถสื่อสารกับ ผู้บริโภค ส่งผลให้เกิดปฏิสัมพันธ์ และสร้างเจตคติที่ดีระหว่างผลิตภัณฑ์กับผู้บริโภคได้ชัดเจนมากขึ้น
  • 14. ทบทวนบทเรียน แบบฝึกหัด (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) 1. นักศึกษาทาแบบฝึกหัดต่อไปนี้ให้ครบทุกข้อ ให้ได้คะแนนรวมไม่น้อยกว่า 80% (ทาถูกต้องอย่างน้อย 3 ข้อ) 2. เมื่อทาเสร็จแล้วให้ส่งอาจารย์โดยตรงเพื่อเก็บคะแนน 1. ให้นักศึกษาสารวจและสังเกตบรรจุภัณฑ์ที่มีในปัจจุบัน ให้เขียนภาพแสดงให้เห็นรูปทรงและองค์ประกอบของบรรจุภัณฑ์มา จานวน 10 ชิ้น พยายามเลือกบรรจุภัณฑ์ที่มีความแตกต่างกัน และทดลองนิยามความหมายของบรรจุภัณฑ์ ตามคุณลักษณ์และองค์ประกอบที่ ปรากฏ 2. ให้นักศึกษาเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันเช่น ขนม ของใช้ เป็นต้น โดยที่ผลิต ภัณฑ์ชิ้นแรกไม่มีบรรจุภัณฑ์กับผลิตภัณฑ์ชิ้น ที่สองมีบรรจุภัณฑ์ นักศึกษาคิดว่าของทั้งสองชิ้นแตก ต่างกันอย่างไร แยกแยะประเด็นไม่น้อยกว่า 5 ข้อ 3. ให้นักศึกษาวัสดุบรรจุภัณฑ์ตามประวัติศาสตร์ มีมากมายหลายชนิด และมีรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกัน ให้เลือกวัสดุบรรจุภัณฑ์มา 5 ชนิด พร้อมบอกลักษณะการใช้งานประกอบ 4. ยกตัวอย่างในธรรมชาติอะไรที่เป็นแรงบันดาลใจ ให้มนุษย์สร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์พร้อม ยกตัวอย่างประกอบ 3 ตัวอย่าง 5. ให้นักศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของการบรรจุหีบห่อ( packing ) กับบรรจุภัณฑ์ (packaging )