SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ภาษาถิ่น
ภาษาถิ่น หมายถึงภาษาที่ใช้กันอยู่ในเฉพาะถิ่นหนึ่งๆ ที่ย่อยลงไปจากภาษากลางและในกลุ่มที่มีภาษากลางเดียวกันในต่างถิ่นสามารถ
เข้าใจได้(การใช้คาศัพท์-ไวยากรณ์ สอดคล้องกัน)
ภาษาไทยประกอบด้วยภาษาถิ่นที่แบ่งตามการตั้งรกรากถิ่นฐานของบรรพบุรุษในพื้นที่ต่างๆ คือ ภาษาถิ่นเหนือ(คาเมือง) ภาษาถิ่นอีสาน
ภาษาถิ่นกลางและ ภาษาถิ่นใต้ อันมีภาษาถิ่นย่อยแตกแขนงออกไปอีก จัดเป็นส่วนประกอบย่อยของภาษาไทย (ภาษาไทยอยู่ในภาษาตระกูลย่อย
ของ ตระกูลภาษาไทย-กะได) ซึ่งภาษาถิ่นจะมีหน่วยเสียง-พยัญชนะ-วรรณยุกต์ ต่างกันไปในแต่ละถิ่น เช่นคาว่า “เรือด” ที่หมายถึงแมลงปรสิตดูด
เลือดชนิดหนึ่ง ภาษาถิ่นเหนือเรียกว่า “เฮือด” ซึ่งต่างกันที่เสียงพยัญชนะ
ภาษาถิ่นสามารถเปลี่ยนแปลงไปได้ในยุคหนึ่งๆ(มีวิวัฒนาการ) ไม่ว่าจะเป็นการออกเสียง การสรรคา หรือการรับคาใหม่ๆมาใช้ และใน
ขณะเดียวกันก็ถ่ายทอดภาษาถิ่นสู่ถิ่นอื่นได้
ภาษาถิ่น เปรียบเสมือนรากฐานโครงสร้างของภาษากลางและภาษาไทย ที่มีหลักเกณฑ์ในการยึดภาษาใดภาษาหนึ่งเป็นภาษากลางตาม
ถิ่นที่เป็นที่ตั้งของเมืองหลวง และยึดภาษานั้นเป็นหลัก เช่น ประเทศไทย มีกรุงเทพมหานครฯ เป็นเมืองหลวง จึงยึดภาษาถิ่นกลางกรุงเทพ เป็น
ภาษากลาง และใช้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสมาคมกับชาวไทยถิ่นต่างๆ หรือ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีนครหลวง
เวียงจันทน์ เป็นเมืองหลวง ยึดภาษาลาวถิ่นเวียงจันทน์(ลาวเวียง) เป็นภาษากลางโดยปริยาย
สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย
ภาษาต่างๆมีการยืมคากันใช้ ชาติที่เจริญย่อมมีคาในภาษาใช้มากกว่าชาติที่ด้อยพัฒนาฉะนั้นเมื่อชาติที่ด้อยพัฒนารับความเจริญต่างๆมา
จากชาติที่เจริญแล้วก็ย่อมรับภาของเขามาใช้ด้วย จึงสรุปเหตุของการนาคาภาต่างประทศมาใช้ได้
๑.รับคาภาษาต่างประเทศมาใช้ เนื่องจากคานั้นๆไม่มีใช้ในภาษาเดิมหรือในภาเดิมมีคาที่มีความหมายลักษณะนั้นใช้แต่เป็นความหมายที่แคบ
๒.รับภาต่างประเทศมาใช้เนื่องจากเรามี่คาเดิมอยู่แล้ว แต่ต้องการให้มีคาไวพจน์ต่างเสียงมากขึ้นเพื่อประโยชน์ในการประพันธ์แม้คานั้นๆจะมี
ความหมายแคบก็ตามเช่น บิดา มารดา เป็นคาไวพจน์ของพ่อ แม่
๓.ความเจริญทางศิลปะวิทยาการ และเครื่องใช้ไม้สอยต่างๆทาให้ต้องรับภาต่างประเทศมาใช้ไม่ต้องคิดคาขึ้นใหม่ เช่น ฟุตบอล
๔.คาที่เป็นสากล เป็นคาที่เป็นสมบัติกลางของมนุษย์ไม่เป็นคาเฉพาะของชาติใดชาติหนึ่ง ชาติใดคัดคานั้นขึ้นมาชาติอื่นๆนาไปใช้ได้เลยไม่
จาเป็นต้องคิดคาขึ้นใช้อีก เช่น แก๊ส
๕.รับคาภาต่างประเทสมาใช้เนื่องจากคานิยม ภูมิใจที่ได้ใช้คาภาต่างประเทศซึ่งแสดงให้คนอื่นเห็นว่าภูมิรู่ของตนใช้ได้อยู่ในระดับที่ต่างจากผู้ฟังคา
ในภาษาไทยที่เหมาะสมกับข้อความมิใช้แต่ไม่ใช่ เช่น การใช้คาว่าคอมเฟิม แทนคาว่า ยืนยัน เป็นต้น
ความจาเป็นดังกล่าวเป็นปัจจัยให้ภาษาต่างๆปะปนกันจนบางคาเจ้าของภาษาไม่รู้ว่าเป็นภาษาของตนแท้หรือมาจากภาษาอื่น
ภาษาทุกภาษาย่อมมีการยืมคาจากภาต่างๆเข้ามาใช้ในภาของตน ภาไทยก็เช่นเดียวกันได้ปรากฏหลักฐานในเอกสารต่างๆว่ามีการนาคา
ภาต่างประเทศเข้ามาใช้นานแล้ว การนาคาภาษาต่างๆเข้ามาใช้ในภาไทยของเรามีสาเหตุหลายประการดังนี้
๑.สาเหตุทางด้านภูมิศาสตร์ ประเทศไทยมีอาราเขตติดต่อกันกับประเทศอื่นๆหลายประเทศทาให้ติกต่อสัมพันธ์กัน จนมีการยืมคาใน
ภาษาอื่นมาใช้ ซึ่งกันและกัน
๒.สาเหตุทางด้านประวัติสาสตร์และการทาสงคราม การทาสงครามทาให้มีการปะบนของภาษาเกิดขึ้น
๓.สาเหตุทางด้านการเมืองและการทาสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ ประเทศไทยมีการทาสัมพันธ์ไมตรีกับนานาชาติอยู่เสมอทาให้การ
นาคาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในภาษาไทย
๔.สาเหตุทางด้านศาสนา มีการรับศาสนาพุทธเข้ามาเป็นศาสนาประจาชาติ ทาให้มีภาบาลีสันสกฤตเข้ามาใช้และยังเปิดโอกาสให้
สาสนาอื่นๆ เข้ามาเผยแพร่ศาสนาในประเทศไทยได้
๕.สาเหตุทางด้านการพาณิชย์ ประเทศไทยมีการติดต่อกับต่างประเทศ ทาให้ต้องติดต่อสื่อสารกันและมีคาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้
ในภาษาไทย
๖.สาเหตุทางด้านศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ อิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมต่างๆได้ถ่ายทอดมายังประเทศไทย
เป็นเวลานานทาให้ได้รับวัฒนธรรม เช่น วรรณคดี
๗.สาเหตุทางด้านการศึกษา มีการเดินทางไปศึกษาสรรพวิทายาการสาขาต่างๆยังต่างประเมศของคนไทยในปัจจุปัน
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย
ภาษาต่างปะเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น มีอิทธิพลต่อภาษาไทย คือ ทาให้ลักษณะของภาษาไทย
เปลี่ยนไปจากเดิม ดังนี้
1.) คามีพยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเป็นภาษาตระกูลคาโดด คาส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง เดิน ยืน นั่ง นอน ป่า น้า เป็นต้น
เมื่อยืมคาภาษาอื่นมาใช้ ทาให้คามีมากพยางค์ขึ้น เช่น
- คาสองพยางค์ เช่น บิดา มารดา เชษฐา กนิษฐา ยาตรา ธานี จันทร กุญชร วิฬาร์ เป็นต้น
- คาสามพยางค์ เช่นโทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน ปรารถนา บริบูรณ์ เป็นต้น
- คามากกว่าสามพยางค์ เช่น กัลปาวสาน สาธารณะ อุทกภัย วินาศกรรม ประกาศนียบัตร เป็นต้น
2.) มีคาควบกล้าใช้มากขึ้น โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มีคาควบกล้า เมื่อรับภาษาอื่นเข้ามาใช้เป็นเหตุให้มีคาควบกล้ามากขึ้น เช่น บาตร
ศาสตร์ ปราชญ์ พรหม ปราศรัย โปร เป็นต้น
3.) มีคาไวพจน์ใช้มากขึ้น (คาที่มีความหมายเหมือนกัน) ซึ่งสะดวกและสามารถเลือกใช้คาได้เหมาะสมตามความต้องการและวัตถุประสงค์ เช่น
-ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ บุหงา ผกา สุมาลี -ท้องฟ้า คคนานต์ ทิฆัมพร นภดล โพยม อัมพร
-น้า คงคา ชลาลัย ธารา มหรรณพ สาคร -พระจันทร์ แข จันทร์ นิศากร บุหลัน รัชนีกร
4.) มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา คาไทยแท้ส่วนใหญ่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เมื่อได้รับอิทธิพลภาษาต่างประเทศ คาใหม่จึงมีตัวสะกดไม่ตรงตาม
มาตราจานวนมาก เช่น พิพาท โลหิต สังเขป มิจฉาชีพ นิเทศ ประมาณ ผจญ กัปตัน โฟกัส เป็นต้น
5.) ทาให้โครงสร้างของภาษาเปลี่ยนไป เช่น
- ใช้คา สานวน หรือประโยคภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เช่น เขาพบตัวเองอยู่ในห้อง (สานวนภาษาไทย เขาอยู่ในห้อง)
นวนิยายเรื่องนี้เขียนโดยทมยันตี (สานวนภาษาไทย ทมยันตีเขียนนวนิยายเรื่องนี้)
- ใช้คาภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทั้ง ๆ ที่บางคามีคาภาษาไทยใช้ เช่น เธอไม่แคร์ ฉันไม่มายด์ เขาไม่เคลียร์
ผลดีของการรับคาภาษาต่างประเทศเข้ามาในภาษาไทย
๑ ใช้เป็นคาราชาศัพท์ ซึ่งส่วนใหญ่ได้มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น
-ภาษาเขมร เช่น พระขนง พระขนอง พระเขนย พระกรรบิต ฯลฯ
-ภาษาบาลีกับภาษาไทย เช่น พระอู่ พระที่ พระเต้า ฯลฯ
-ภาษาบาลี สันสกฤต เช่น พระเศียร พระนลาฏ พระหัตถ์ พระบาท ฯลฯ
๒ ใช้เป็นคาศัพท์ในวรรณคดี ภาษาในวรรณคดีย่อมต้องการความไพเราะสละสลวย
๓ ใช้เป็นคาศัพท์ทางศาสนา เพื่อให้ดูศักดิ์สิทธิ์
๔ ใช้เป็นคาศัพท์สามัญที่ใช้กันในชีวิตประจาวัน จนติดปากคิดว่าเป็นภาษาของเราเอง
๕ ใช้เป็นคาศัพท์บัญญัติทางวิชาการ ได้แก่ คาที่เราสร้างใหม่ เพราะได้รับอิทธิพลจากวิทยาการตะวันตก รวมทั้งอารยธรรมและเครื่องมือ
เครื่องใช้และอุปกรณ์ต่างๆเข้ามาทาให้ต้องรับคาเข้ามาด้วย
ผลเสียของการนาคาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศไทย
๑ การนาคาทับศัพท์ของภาษาอังกฤษมาใช้ คนไทยมักถ่ายเสียงแล้วสะกดเป็นภาษาไทยกันตามความสะดวก เพราะไม่มีแบบแผนทีจะให้ยึดถือ
หรือ หาข้อยุติไม่ได้ว่า เขียนอย่างไร อย่างเช่น
-Sauce ซ้อส เขียนได้หลายแบบ เช่น ซ๊อส ซ็อส ซอส ซ้อส -Cake เค้ก เขียนได้หลายแบบ เช่น เค๊ก เค้ก เคก เค้ก
นอกจากคาทับศัพท์ภาษาอังกฤษแล้ว ก็ยังมีคาศัพท์บัญญัติอีกส่วนหนึ่งที่ยังไม่ได้จดบันทึกไว้ในพจนานุกรม จึงไม่มีข้อยุติในการเขียน ทา
ให้เกิดไขว้เขวว่าจะสะกดให้ถูกต้องอย่างไร เช่น สัญลักขณ์ สัญลักษณ์, อุดมการณ์ อุดมการ ,วิกฤตการณ์ วิกฤตการ ฯลฯ
๒ การอ่านคาที่ถ่ายเสียงคาทับศัพท์เป็นภาษาไทยแล้ว บางคาออกเสียงไม่ตรงกับเสียงในภาษาเดิม เช่น คอมพิวเตอร์ ออกเสียงว่า คอม-พิ้ว- เต้อ
, เดนมาร์ก ออกเสียงว่า เดน-หมาก
๓ การทับศัพท์มีอิทธิพลต่อโครงสร้างและระเบียบการใช้ภาษาไทยบางประการ เช่น การไม่ใช้ลักษณะนาม ตารวจรวบ 2 วัยรุ่นจอมซ่าส์ , การ
ใช้กรรมวาจกผิดที่ เขาถูกลงโทษโดยธรรมชาติ, การใช้คาขยายผิดที่ เช่น ซุปเปอร์มันส์ นิวภัคตาคาร
๔ ข้อที่เป็นผลเสียต่อภาษาที่เห็นได้ชัดอีกข้อหนึ่ง คือ ภาษาพูดที่เราใช้ในการสร้างคา วลี สานวน มีทั้งแปลจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น
“ ทีใครทีมัน” ที who ที it
๕ ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด เมื่อมีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนมักจะเขียนอ่านกันผิดๆเพราะปัจจุบันคนไทยเราไม่ได้ ศึกษาภาษาไทยให้
ลึกซึ้ง เช่น ประณีต มักเขียนผิดเป็น ปราณีต, ชมพู่ มักเขียนผิดเป็น ชมภู่, โน้ต มักเขียนผิดเป็น โน้ต
ภาษาไทยมีลักษณะเป็นของตนเอง ดังนั้น การศึกษาลักษณะของภาษาไทยแท้จะทาให้สามารถทาให้รู้ลักษณะของภาษาไทยเป็นอย่างดี
ลักษณะของภาษาไทยแท้ มีดังนี้
1. ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด คือ มีการใช้คาอิสระไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคาเพื่อบอกเพศ วัย พจน์ กาลหรืออาจทราบจากบริบท ดังนี้
-คาบางคา บอกเพศอยู่แล้ว เช่น พ่อ หนุ่ม นาย พระ เณร ขอกเพศชาย และ หญิง สาว นาง ชี บอกเพศหญิง หรือจะนาคามาประกอบ
เช่น ลูกเขย ลูกสะใภ้ ช้างพัง ช้างพลาย เป็นต้น
-คาไทยไม่นิยมเปลี่ยนรูปคาเพื่อบอกพจน์ แต่จะนามาประกอบการบอกจานวน เช่น บ้านหลายหลังถูกน้าท่วม เขามาคนเดียว
-มีคากริยาบอกกาล เช่น ฝนกาลังตก (ปัจจุบัน) มะรืนนี้ฉันไปดูหนัง (อนาคต) ปีที่แล้วฉันไปเที่ยวหลวงพระบาง (อดีต)
2. คาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว มีความหมายสมบูรณ์ เข้าใจโดยทันที เช่น ฝูง พ่อ พวก ไก่ หมู หรือมีการลงอุปสรรค เช่น เดี๋ยว–ประเดี๋ยว
3. คาไทยแท้มีตัวสะกดตรงมาตรา 8 มาตรา และไม่มีตัวการันต์ ได้แก่
-มาตราแม่ กก ใช้ ก สะกด -มาตราแม่ กด ใช้ ด สะกด -มาตราแม่ กบ ใช้ บ สะกด
-มาตราแม่ กง ใช้ ง สะกด -มาตราแม่ กน ใช้ น สะกด -มาตราแม่ กม ใช้ ม สะกด
-มาตราแม่ เกย ใช้ ก สะกด -มาตราแม่ เกอว ใช้ ว สะกด
4.ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ ทาให้ต่างเสียงและความหมายต่างกันมีความไพเราะเฉกเช่นเสียงดนตรี และมีพยัญชนะต่างเสียง อักษรสูง กลาง ต่า
5. เมื่อมีคาจากัดไม่พอใช้ จึงนาคาต่างประเทศมาใช้โดยวิธีการประสมคา ซ้อนคา และ ซ้าคา
6. หากเรียงประโยคผิดก็จะเกิดความหมายใหม่ เช่น ฉันรักแม่-แม่รักฉัน
7. คาขยายในภาษาไทยจะเรียงหลังคาที่ถูกขยายเสมอ เช่น มาลีเดินช้า ยายกับตาสวมเสื้อสีแดง เป็นต้น
8. คาไทยมีลักษณะนาม เช่น ขลุ่ย-เลา ตะเกียบ-คู่ ทหาร-หมวด เกวียน-เล่ม ซึ่งมีข้อสังเกต 2 ประการ ดังนี้
-ตามปกติคาลักษณะนามจะอยู่หลังคาวิเศษณ์บอกจานวนที่เป็นตัวเลข เช่น แม่เลี้ยงหมา10ตัว ฉันมีปากกาด้ามเดียว เป็นต้น
-ใช้ตามหลังลักษณะนามเพื่อเน้นคุณสมบัติของลักษณะนามนั้นๆ เช่น ผ้าผืนนี้ยาวมาก
9. ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียน หากเว้นไม่ถูก ประโยคจะเปลี่ยนความหมาย เช่น
-ลูกประคา ดีควาย รากขี้เหล็กทั้งห้า  ลูกประคาดี ควายรากขี้ เหล็กทั้งห้า
-ยานี้ดี กินแล้วแข็งแรง มีมีโรคภัยเบียดเบียน  ยานี้ดี กินแล้วแข็ง แรงไม่มี โรคภัยเบียดเบียน
10. ภาษาไทยมีระดับ ขึ้นอยู่กับคู่สนทนา และบุคคลที่สาม เช่น พระมหากษัตริย์ พระภิกษุ เจ้านายชั้นต่างๆ และ สามัญชน
ภาษาต่างประเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทย
1.) ภาษาอังกฤษ
ประเทศไทยและอังกฤษเริ่มมีการติดต่อค้าขายมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ.๒๑๕๕ อังกฤษนั้นติดต่อกับไทยทั้งด้านการทูตและ
การค้าจนกระทั่งถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ส่งทูตไปทาการค้าขายถึง ๒ ครั้ง มีการปรากฏหลักฐานว่า มีการรับเอาคาทับศัพท์
ภาอังกฤษมาใช้บ้างแล้วตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ บรรดาเจ้านายและข้าราชการไทย ได้มีโอกาสศึกษาภาษาอังกฤษกับชาว
อังกฤษที่เข้ามาอยู่ในไทยจนสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีการใช้ภาษาอังกฤษอย่างแพร่หลายมากขึ้น ในปัจจุบันภาษาอังกฤษเข้ามาปะปนใน
ไทยอย่างมาก จากสาเหตุต่างๆ เช่น การเจริญทางการศึกษา การติดต่อสื่อสาร การเดินทางระหว่างประเทศ วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น ส่วน
สาเหตุที่ทาให้มีการรับคาภาษาอังกฤษเข้ามาใช้ในภาษาไทย มีดังนี้
1. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์และการค้าขาย : อังกฤษเป็นชนชาติที่ ๓ ที่เข้ามาติดต่อค้าขายในกรุงศรีอยุธยาและได้มีการตั้งสถานีการค้า
ในอยุธยา มีการทาสัญญาการค้ากันหลายฉบับเพื่อติดต่อค้าขายกันในรัชกาลที่ ๕ เมื่อรัชกาลที่ ๕ เสด็จไปประเทศอังกฤษได้รับการต้อนรับอย่างดี
ทาให้ไทยและอังกฤษมีความสัมพันธ์อันดีมากทาให้ไทยเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเจริญเท่าเทียมกับประเทศในยุโรปและภาษาอังกฤษเข้ามาในไทย
ลักษณะคาทับศัพท์มากขึ้น
2. ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและวิชาการ : การสอนภาษาไทยในประเทศไทย เริ่มมีมาตั้งตั้งสมัยของรัชกาลที่ ๔ แต่เป็นการสอนเฉพาะใน
ราชสานัก จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ ๕ ท่านได้ทรงส่งพระราชโอรสและข้าราชการในสานักไปศึกษายังประเทศอังกฤษ บุคคลที่มีฐานะดีก็นิยมส่ง
บุตรไปเรียนในต่างประเทศ รวมทั้งมีคณะมิชชันนารีเข้ามาสอนภาษาอังกฤษให้คนไทยด้วยทาให้ภาษาอังกฤษแพร่หลายในไทยมากขึ้น
๓. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม : ประเทศไทยเริ่มมีการปรับปรุงบ้านเมืองตามแบบวัฒนธรรมตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ ๕
ทรงให้เลิกทาส และมีการรับวรรณกรรมสมัยใหม่จากอังกฤษโดยตรง ทาให้เกิดคาทับศัพท์และสานวนต่างๆที่รับมาจากอังกฤษมากมาย
4. ความสัมพันธ์ทางวิทยาการสมัยใหม่ : ในสมัยรัชกาลที่ ๔ได้มีการรับวิทยาการสมัยใหม่ของยุโรปเข้ามาสู่ไทย ในปัจจุบันประเทศ
ลักษณะของภาษาไทย
แท้
ก็ยังมีการรับเอาเทคโนโลยีของประเทศตะวันตกเข้ ามาเสมอจึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการใช้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ
5. ความสัมพันธ์ทางด้านค่านิยม : ค่านิยมแบบตะวันตกหลายอย่างกลายเป็นสิ่งสามารถแสดงถึง ความเป็นผู้ทันสมัยของคนไทยได้ เช่น มีการนา
ภาษาอังกฤษมาตั้งเป็นชื่อร้าน ห้าง หรือชื่อบุคคลค่านิยมเหล่านี้จึงเป็นสาเหตุให้คนไทยรับภาษาอังกฤษเข้ามาแพร่หลายอยู่ในชีวิตคนไทย
การเปลี่ยนแปลงความหมายของคาภาษาอังกฤษในภาษาไทย
๑.ความหมายแคบเข้าเมื่อใช้ในภาษาไทยจะมีความหมายแคบจากัดขอบเขตมากกว่าที่อยู่ในภาษาเดิม เช่น
คาอังกฤษ ความหมาย ไทยใช้ ความหมาย
Card กระดาษแข็งนามบัตร การ์ด บัตรเชิญ
๒.ความหมายกว้างออก เมื่อไทยรับเอาภาษาต่างประเทศมาใช้จะมีความหมายชัดกว่าเดิม เช่น
คาอังกฤษ ความหมาย ไทยใช้ ความหมาย
Bank ธนาคาร แบงค์ ธนาคาร ธนบัตร
๓.ความหมายย้ายที่ เมื่อไทยนามาใช่ ความหมายจะแตกต่างออกไปจากภาษาเดิมเช่น
คาอังกฤษ ความหมาย ไทยใช้ ความหมาย
Kiwi นกชนิดหนึ่งบินไม่ได้ กีวี น้ายา-ครีมขัดรองเท้า
2.) ภาษาบาลี-สันสกฤต
ภาษาบาลีและสันสกฤตจัดเป็นภาษาประเภทที่มีวิภัตติปัจจัย สาขาอินเดีย-ยุโรป เป็นภาษาสังเคราะห์ซึ่งหมายถึงภาษาที่สร้างขึ้นมามิได้
วิวัฒนาการมาจากธรรมชาติ
สาเหตุที่ภาษาบาลีเข้ามาปะปนในภาษาไทย
เป็นภาษาที่ไทยรับสืบเนื่องมาจากการรับอารยธรรมในด้านต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ ปรากฏ
หลักฐานการใช้ครั้งแรกราวพ.ศ. ๑๘๒๕ ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง(หลักที่๑) จากหลักฐานพบว่าภาษาสันสกฤตนั้นเข้ามาในประเทศไทย
ก่อนภาษาบาลี
ลักษณะภาษาบาลีและสันสกฤต
ประกอบด้วยหน่วยเสียงสาคัญ ๒ หน่วยเสียงคือ พยัญชนะและหน่วยเสียงสระ ภาษาทั้งสองจัดอยู่ในตระกูลภาษาอินเดียอารยัน แม้
ภาษาทั้งสองจะจัดอยู่ในตระกูลภาษาเดียวกันและมีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่แต่ก็มีที่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่คือเรื่องเสียงคือออกเสียง
แตกต่างกัน
ระบบเสียงภาษาบาลี-สันสกฤต
-เสียงสระ
ภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี
อ อา อิ อึ อุ อู ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เอ ไอ โอ เอา อ อะ อ อา อิ อึ อุ อู เอ โอ
- เสียงพยัญชนะ
ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะ ๓๔ ตัว โดยแบ่งเป็นพยัญชนะวรรและอวรรค พยัยชนะวรรคแบ่งออกเป็น ๕ วรรค วรรคละ ๕ ตัว รวมเป็น
๒๕ ตัว พยัญชนะอวรรค ๙ ตัว รวมเป็น ๓๔ ตัว ดังนี้
อโฆษะ โฆษะ
วรรค กะ ก ข ค ฆ ง (ห)
วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ (ศ ย)
วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ (ร ษ ฬ)
วรรค ตะ ต ถ ท ธ น (ส ล)
วรรคปะ ป ผ พ ภ ม (ว)
เศษวรรค ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ
นอกจากนี้มีพยัญชนะประสมอีก ๒ ตัว คือ กฺษ ชฺญ
ภาษาบาลีมีพยัญชนะ ๓๓ ตัวรวมทั้งนิคหิต (๐) โดยแบ่งเป็นพยัญชนะวรรคและอวรรคเหมือนกับภาษาสันสกฤต
-พยัญชนะสะกด ออกเสียง ๒ แบบ
1.นิคหิต (ฐ) ภาษาบาลีจักนิคหิตไว้ในระบบเสียงพยัญชนะ ไม่นิยมเป็นพยัญชนะต้น บาลีออกเสียง ง สะกด ส่วนภาสันสกฤต ออกเสียง
ม สะกด เช่น
ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต
พุทธ อ่านว่า พุด-ทัง พุทธม อ่านว่า พุด-ทัม
2.พยัญชนะการันต์ หมายถึงพยัญชนะตัวสุดท้ายคา เช่น มนสฺ (ใจ) สฺ เป็นพยัญชนะการันต์ มีใช้ในภาษาสันสกฤต ส่วนภาษาบาลีมี
เฉพาะสระการันต์อย่างเดียว เช่น มน (ใจ) จัดเป็น อะ การันต์
-พยัญชนะคู่ในภาษาบาลี-สันสกฤต
พยัญชนะคู่ หมายถึงพยัญชนะที่มาด้วยกัน ๒ ตัว แช่น กฺก ในคาว่า สกฺก (สามารถ) ซึ่งพยัญชนะคู่ในบาลีสันสกฤตแบ่งออกเป็น ๒ ชิดคือ
1 พยัญชนะซ้อน มีหลักการดังนี้
-พยัญชนะแถวที่ ๑ สะกด พยัญชนะแถวที่ ๑ หรือ ๒ ตามได้ เช่น ทุกฺข อตฺต
-พยัญชนะวรรคแถวที่ ๓ สะกด พยัญชนะแถวที่ ๓ หรือ ๔ ตามได้ เช่น วชฺฌ สพฺพ
-พยัญชนะวรรคแถวที่ ๔ สะกด พยัญชนะวรรคอื่นๆ แต่ละวรรคตามได้ เช่น สงฺกา องฺค ธมฺม สนฺต เป็นต้น
-พยัญชนะอวรรคหรือเศษวรรค เป็นการซ้อนพยัญชนะเดียวกัน คือ ซ้อนตัวเอง เช่น อยฺยกา สลฺล ส่วน ร ฬ ว ห ไม่นิยมซ้อนตัวเอง
๒ พยัญชนะประสม มีหลักการดังนี้
-พยัญชนะอโฆษะมาด้วยกัน เช่น กฺต (มุกฺต-มุกดา) ปฺต(สปฺต-สัปดาห์) ษฏ(อษฺฏ – แปด)
-พยัญชนะโฆษาด้วยกัน เช่น คฺธ(สุนิคฺธ-เรียบ) พฺท(ศพฺท-เสียง)
-พยัญชนะเสียงอ่อนมาข้างหน้าหรือข้างหลังพยัญชนะเสียงแข็ง ไม่กาหนดเรื่องพยัญชนะอโฆษะและโฆษะ
-พยัญชนะเสียงอ่อนมาข้างหลังพยัญชนะเสียงแข็งที่เป็ยอโฆษะ คือ พยยชนะวรรคสะกดเศษววรคตาม(สันสกฤต)
พยัญชนะเสียงอ่อนมาข้างหน้าพยัญชนะเสียงแข็งที่เป็นโฆษะ คือ เศษวรรคสะกดพยัญชนะวรรคตาม(สันสกฤต) เช่น รฺป (สรฺป–งู)
-พยัญชนะประสมมีใช้ในภาษาสันสกฤต ภาษาบาลียืมคาประสมของสันสกฤตมาใช้เหมือนกัน เช่น วฺยคฺฆ(เสือ) ทฺวิ(สอง พฺยาธิ(พยาธิ) ทฺวาร(ประตู)
ความแตกต่างระหว่างภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤต
-สระเดี่ยว มีลักษณะต่างกันด้วยการใช้เสียงสระที่ตนเองมีอยู่แทนเสียงสระที่ตนเองไม่มี ภาษาบาลีไม่มีเสียง ฤ จึงใช้เสียงสระ อะ อิ อุ แทนเสียง
ฤ ในสันสกฤต ดังนี้
ภาษาสันสกฤตใช้เสียง ฤ บาลีใช้เสียง อะ เช่น
สันสกฤต บาลี
คฤห คห (บ้าน)
ภาษาสันสกฤตใช้เสียง ฤ บาลีใช้เสียง อุ เช่น
สันสกฤต บาลี
ปิตฤ ปิตุ (พ่อ)
คาสันสกฤตที่มีพยัญชนะเสียงประสมมากับเสียงยาว
เมื่อมีการแทรกเสียงในภาษาบาลีเสียงยาว
ในคาสันสกฤตจะกลายเป็นเสียงสั้นในภาษาบาลี ดังนี้
สันสกฤต บาลี
อา อารุย อะ อริย (เจริญ)
ภาษาบาลีและสันสกฤตใช้ อิ ตรงกัน ดังนี้
นิจฺจ นิตฺย (เสมอ , ต่อเนื่องกัน)
ภาษาสันสกฤตใช้เสียง ฤ บาลีใช้เสียง อิ เช่น
สันสกฤต บาลี
ตฤณ ติณ (หญ้า)
ภาษาบาลีใช้เสียงสระสั้น ส่วนคาสันสกฤตที่มีพยัญชนะ
ประสมมากับสระเสียงยาว เมื่อมีการกลมกลืนเสียงพยัญชนะ
ซ้อน สระเสียงยาวในสันสกฤตจะกลายเป็นสระเสียงสั้นใน
ภาษาบาลี ดังนี้
สันสกฤต บาลี
อี กีรฺติ อิ กิตฺติ (ชื่อเสียง)
ภาษาบาลีที่ใช้สระเดี่ยว แต่สันสกฤตใช้สระประสม ดังนี้
ภาษาบาลีใช้สระ อิ สันสกฤตใช้สระ ไอ หรือ เอ
บาลี สันสกฤต
วิสาข ไวศาข (เดือนหก)
ภาษาบาลีใช้สระ อุ สันสกฤตใช้สระ โอ หรือ เอา ดังนี้
บาลี สันสกฤต
อุ มหุสฺสว โอ มโหตฺสว (มหรสพ)
ภาษาบาลีและสันสกฤตใช้ เอ ตรงกัน ดังนี้
บาลี สันสกฤต
เกศ เกศ (ผม)
ภาษาบาลีใช้เสียงสระ เอ สันสกฤตใช้เสียงสระ ไอ ดังนี้
บาลี สันสกฤต
เอ เกลาส ไอ ไกลาส (ภูเขาไกลาศ)
-เสียงพยัญชนะบาลีสันสกฤตแตกต่างกัน ดังนี้
การใช้เสียงพยัญชนะเท่าที่มีอยู่แทนเสียงพยัญชนะที่ตนเองไม่มี บาลีใช้ ส ตัวเดียวไม่มี ศ ษ ส่วนสันสกฤตใชเพราะฉะนั้นบาลีใช้ ศ แทน
ศ ษ ในสันสกฤต ดังนี้
บาลี สันสกฤต
ส สาสนา ศ ศาสนา (ศาสนา)
พยัญชนะรูป ฬ มีทั้งบาลีและสันสกฤต ภาษาสันสกฤตไม่ใช้ ฬ กลับไปใช้พยัญชนะ ฑ ฎ ล ฒ หรือ ณ ฤ แทนดังนี้
บาลี สันสกฤต
ฬ กีฬา ฑ กรีฑา (การเล่น)
ฬ ครุฬ ฑ ครุฑ (ครุฑ)
3.) ภาษาจีน
กับจีนมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดทางด้านเชื้อชาติ และถิ่นที่อยู่อาศัยความสัมพันธ์นี้ติดต่อกันมาอย่างช้านานก่อนสมัย
ประวัติศาสตร์ไทย
ลักษณะทั่วไปของภาษาจีนเป็นภาษาคาโดด (Isolating language) เช่นเดียวกับภาษาไทย จีนเป็นประเทศกว้างใหญ่จึงมีหลายภาษา
เช่น กวางตุ้ง แต้จิ่ว แคะ อกเกี้ยน ใหหลา และจีนกลาง(แมนดาริน/ปักกิ่ง) เป็นต้น
ภาษาจีนจัดอยู่ในตระกูลภาษาคาโดด (Isolating language)เข่นเดียวกับภาษาไทย ไม่มีการสร้างคาโดยการเติมคาหน้ากลางหรือหลัง
ภาษาจีนจึงมีการใช้วรรณยุกต์ คาลักษณะนาม และการเรียบเรียงประโยคถือเป็นเรื่องสาคัญ ลักษณะทั่วไปของภาษาจีนมีดังนี้
๑.มีคาพยางค์เดียวและไม่มีเสียงควบกล้า เช่น (ฟ่าน) ข้าวสุก
๒.เมื่อจะสร้างคาใหม่ก็ใช้คาประสม เช่น (เค่อเหริน) แขกผู้มาหา
๓.คานามบางคามีส่วนลงท้ายคล้ายปัจจัยแสดงว่าเป็นคานาม
๔.คานามไม่มีเครื่องหมายแสดงเพศ พจน์ หรือมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อแสดงกาล มาลา วาจก
๕.คากริยาไม่มีเครื่องหมายหรือการเปลี่ยนแปลงในคาเพื่อแสดงกาล มาลา วาจก ใช้คาอื่นประสมเช่นเดียวกับคานาม
๖.วาจก หรือ การรก สาหรับกริยาและนามนั้นรู้ได้ด้วยการเรียงลาดับคาตามธรรมดา ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เพื่อการแสดงความเกี่ยวข้อง
ระหว่างคา
๗.มีการลง น ท้ายบุรุษสรรพนามเมื่อต้องการแสดงความสุภาพหรือยกย่อง
๘.ภาษาจีนมีเสียงสูงต่าเช่นเดียวกับภาษาไทย เสียงหนึ่งมีความหมายอย่างหนึ่งเมื่อเสียงสูงคานั้นเปลี่ยนไป
ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษาจีน
๑.ภาษาจีนเรียงคุณศัพท์ไว้หน้าคาที่ขยายนอกจากจานวนนับจะเรียงเหมือนกับคาภาษาไทยภาษาไทยจะเรียงคาคุณศัพท์ไว้ข้างหลัง
เช่น เล่านั๊ง (คนแก่) ซาโก๊ (สามอัน)
๒.ภาษาจีนเรียงลักษณะนามไว้หน้าคุณศัพท์หรือหลังคุณศัพท์ก็ได้ ภาษาไทยเรียงลักษณะนามไว้หลังคุณศัพท์ เช่น กี หมายถึง แท่ง
เจ้กกีปิ้ก หมายถึง ดินสอหนึ่งแท่ง
ภาษาบาลีและสันสกฤตใช้สระ อุ ตรงกันก็มี ดังนี้
บาลี สันสกฤต
อุ สุข อุ สุข (ความสุข)
ภาษาบาลีใช้เสียงสระ โอ สันสกฤตใช้เสียงสระ เอา ดังนี้
บาลี สันสกฤต
โอ โอรส เอา เอารส (ลูกชาย)
๓.ภาษาจีนเรียงกริยาวิเศษณ์ไหว้หน้าคาที่ขยาย แต่ภาษาไทยเรียงไว้ข้างหลัง
๔.ภาษาจีนเรียงบุพบทไว้หลังคานาม ภาษาไทยเรียงบุพบทไว้หน้าคานามคายืมภาษาจีนในภาษาไทย
คายืมภาษาจีนในภาษาไทย
๑.ทับศัพท์ : คือออกเสียงตรงตามคาเดิมในภาษาจีนจะผิดเพี้ยนไปบ้างก็แค่เสียงสูงต่า ส่วนความหมายก็คงเดิม เช่น ตั๋ว มาจาก ตัว
แปลว่า ใบสาคัญ
๒.ทับศัพท์แต่เสียงเปลี่ยนไปคาบางคาเสียงเปลี่ยนไปไม่อาจกาหนดได้แน่ว่าเสียงที่เปลี่ยนไปนั้นเปลี่ยนไปจากคาภาษาจีนกลาง
ต้องพิจารณาเป็นคาๆไป เช่น แซ่ มาจาก แส่
๓.ใช้คาไทยแปลเป็นภาษาจีน เช่น ไชเท้า เป็น หัวผักกาด ไซโป๊ คือ หัวผักกาดเค็ม
๔.ใช้คาไทยประสมหรือซ้อนกับคาจีน
๕.สร้างคาใหม่หรือความหมายใหม่ เช่น โอวเลี้ยง หมายถึง กาแฟไม่ใส่นมแล่ะน้าแข็ง เกาเหลา หมายถึง อาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวแต่
ไม่ใส่เส้น
๖.ความหมายกลายไป เช่น
-กุ๊ย แปลว่า ผี ไทยนามาใช้ในความหมายว่า คนเลว
-เซียม แปลว่า เป็นหนี้ ไทยนามาใช้ในความหมายว่า ตระหนี่
-ซีซ้า แปลว่า ตกทุกข์ได้ยาก ไทยนามาใช้ในความหมายว่า ซ้าใจ
4.) ภาษาเขมร
ภาษาเขมรในปัจจุบันมีปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าเป็นภาษาเดียวกับภาษาขอมในสมัยก่อนนั้นหรือไม่แต่คนไทยสาคัญว่าเป็นชนชาติ
เดียวกัน จึงใช้ขอมแทนเขมรแต่ในประวัติศาสตร์กล่าวถึงชนชาติขอมที่มีอานาจแฟ่ไปทั่วดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันนี้ ทั้งมีการนาคา
ภาษาเขมรมาใช้เป็นคาราชาศัพท์อีกด้วยแม้คาบาลี-สันสกฤตที่ใช้อยู่ก็น่าสงสัยว่าที่ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากเดิมก็คงเป็นอิทธิพลของเขมรแต่ต่อมา
ภายหลังเขมรก็ได้รับอิทธิพลภาษาไทยได้ใช้คาไทยเป็นคาราชาศัพท์ด้วยเช่นกัน
ไทยกับเขมรมีความสัมพันธุ์กันมายาวนาน ต่างก็ได้รับวัฒนธรรมและอารยธรรมของกันและกันที่เด่นชัดคือ วัฒนธรรมทางภาษา
สมัยก่อนไทยนาอักษรเขมรมาใช้โดยเฉาะขอมบรรจงและขอมหวัดมาใช้บนจารึกแผ่นหิน
ในด้านวรรณคดีก็นาอักษรขอมหวัดมาใช้ในการชุบลงสมุดข่อยต่างๆและผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเชี่ยวชาญทางภาษาในอดีตจะต้องมีความรู้อ่าน
เขียนในภาษาขอมโบราณใต้ มีข้อสังเกตว่าไทยนาอักษรขอมมาใช้แต่ก็ไม่ทั้งหมดด้วยเหตุผลว่าเสียง คาและไวยากรณ์มีความแตกต่างกันอยู่ไม่
น้อย จึงมีการดัดแปลงปรับปรุงแล้วนาไปปะปนกับการเรียนตัวอักษรของชาติอื่นๆที่คนไทยเข้าใจในสมัยนั้นถึงเกิดอักษรขอมไทยในประเทศไทย
ในด้านคาถาอาคมต่างๆ คนไทยมีความเชื่อตามคนเขมร คาถาอาคมต่างๆจึงใช้เป็นอักษรเขมรหรือเรียกว่า “อักขระขอมโบราณ” จนกระทั่ง
ปัจจุบันความนิยมยังไม่เสื่อมไป
ในด้านการปกครองประมาณปี พ.ศ.๑๔๙๓ อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ไทยรับเอาการปกครองของขอมโบราณมาใช้ โดยนับถือกษัตริย์เป็นพระเจ้า
การใช้ถ้อยคากับพระมหากษัตริย์จึงต้องใช้ “คาราชาศัพท์”
ในด้านวรรณคดีการแต่งวรรณคดีร้อยกรองประเภทกาพย์ โคลง กลอน ฉันท์และร่ายถึงต้องพิถีพิถันในด้านการใช้คาเป็นพิเศษ นอกจากความ
ไพเราะ มีสัมผัสคล้องจองตามแบบฉันทลักษณ์ ยังต้องการความศักดิ์ศิทธิ์อีกด้วยโดยเฉพาะในวรรณคดีประเภทศาสนาและพิธีกรรม เช่น
ลิลตโองการแข่งน้าและเรื่องคาฉันท์ดุษฏีสังเวยกล่อมช้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา
สาเหตุการนาคาภาษาเขมรมาใช้ในภาไทย
ภาษาไทยนาภาษาเขมรมาใช้เพราะสาเหตุหลายประการ ดังนี้
-สาเหตุด้านภาษา
๑.ภาษาเขมรมีจานวนหน่วยเสียงใกล้เคียงภาษาไทย และมีเสียงคล้ายคลึงกัน
๒.ชาวไทยและเขมรมีความนิยมนับถือภาษาของกันและกัน
๓.ไทยรับคาราชาศัพท์เขมรมาใช้เนื่องจากการรับรูปแบบการปกครองเทวราชามาใช้
๔.นักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้รู้ภาษาเขมร นาเอาภาษาเขมรมาสอดแทรกในคาจารึกและในคาประพันธ์ร้อยกรองร้อยแก้วเกี่ยวกับศาสนา
และพิธีกรรม
-สาเหตุด้านวัฒนธรรม
๑.ภิกษุศาสนาทางพระพุทธศาสนา ศึกษาอักษรขอมโบราณและถือว่าเป็นอักษรสาคัญและศักดิ์สิทธิ์ซึ่งใช้ในทางศาสนาและคาถาอาคม
๒.ไทยกับเขมรนิยมรับวัฒนธรรมด้านต่างๆกันมาเป็นระยะเวลานาน
การสังเกตภาษาเขมรในภาษาไทย
ภาษาเขมรมีปะปนในภาษาไทยประมาณ ๒ooo คา นับว่าเป็นรองภาษาบาลีและสันสกฤต ซึงเป็นภาษาทางศาสนา การสังเกตคา
ภาษาเขมรในภาษาไทยเป็นเรื่องยากเนื่องจากเป็นภาษาคาโดดบางคามีตัวสะกดตามมาตราตัวสะกดแบบไทยเช่นเดียวกันและไทยนามาใช้
กลมกลืนไปกับภาษาไทยและแยกออกได้ยาก แต่มีข้อสังเกตได้บ้าง ดังนี้
๑.สังเกตคา คือเป็นคาโดส่วนใหญ่ คาที่มีการเติมอุปสรรคเทียม เช่น แข=พระจันทร์ จุ=ทาให้ลง
๒.สังเกตตัวการันต์ ตัวสะกดการันต์ในภาษาเขมรจริงๆออกเสียงด้วย ต่างจากภาษาไทยซึ่งมักใช้ตัวสะกดตามมาตราตัวสะกดแต่ไม่ออก
เสียง ไม่นิยมใช้ตัวสะกดมากกว่า ๑ ตัว เช่น จาเนียร=จาเณร์ เฉนียน=ฉเนร์ คาเขมรในภาษาไทยที่ใช้ ข ญ ส เป็นตัวสะกด เช่น
เสด็จ ตรวจ สารบัญ สาคัญ หาญ เป็นต้น
๓.สังเกตการใช้วรรณยุกต์และเครื่องหมายอื่นๆ ภาษาเขมรไม่มีการใช้วรรณยุกต์ ดังนั้นจึงไม่มีรูปวรรณยุกต์ใช้ ส่วนเครื่องหมายอื่นๆมี
บ้าง มักแตกต่างไปจากภาษาไทย
๔.สังเกตคาควบกล้า คาควบกล้าในภาษาเขมรไม่เหมือนในภาษาไทย ยกเว้นควบกล้าด้วย ร ล และ ว เช่น กระบือ=ควาย เขลา=โง่
๕.สังเกตคาแผลง คาแผลงหรือคาแปลงรูปที่มีมากกว่า ๒ พยางค์
- ข เป็น กระ เช่น ขจาย-กระจาย ขจัด-กระจัด
- ผ เป็น ประ เช่น ผจญ-ประจญ ผชุม-ประชุม
ลักษณะภาษเขมร
ภาษาเขมรเป็นภาษาที่มีลักษณะรูปลักษณะติดต่อในตระกูลภาษามอญ ลักษณะเด่นสาคัญที่ทาให้นักภาษากาหนดเป็นภาษาคาติดต่อ
และการสร้างคา ส่วนประโยคและการเรียงลาดับคามีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาคาโดดและเมื่อเทียบกับภาษาไทยนับว่าเป็นลักษณะคล้ายคลึงกัน
อย่างยิ่ง ลักษณะของคากับลักษณะของประโยคต่างกันจนไม่น่าจะเป็นภาษาที่มีรูปลักษณะอย่างเดียวกัน ประโยคภาษาเขมรประกอบด้วย
คานามที่ทาหน้าที่ประธานกริยาและกรรมส่วนขยายนามและกริยาอยู่หลังคานามและกริยาที่ถูกขยายลักษณะคาส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียวและ
สองพยางค์ คาหลายพยางค์มักเป็นคาผสม คาสองพยางค์ในภาษาเขมรมีอยู่พวกหนึ่งซึ่งสัมพันธ์กับคาพยางค์เดียวในด้านเสียงหรือรูปคา
ความหมาย คาสองพยางค์เหล่านี้พิสูจน์ได้ว่าเป็นคาที่เปลี่ยนแปลงรูป มาจากคาพยางค์เดียวที่สัมพันธ์กันนั้นด้วยวีการเติมหน่วยหน้าศัพท์หรือ
อุปสรรคและหน่วยกลางศัพท์ คาพยางค์เดียวนั้นเป็นหน่วยคามูลฐาน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปคา แต่ในปัจจุบันเขมรไม่ค่อยสร้างคาด้วย
วิธีการเหล่านี้มากนักในด้านระบบเสียง ภาษาเขมรมีหน่วยเสียงพยัญชนะ และหน่วยเสียงสระเป็นหน่วยเสียงสาคัญ หน่วยเสียงพยัญชนะที่
ปรากฏในตาแหน่งพยัญชนะต้นเดี่ยว และพยัญชนะท้าย มีจานวนใกล้เคียงกับภาษาไทย มีหน่วยเสียงสระมากกว่าไทยเล็กน้อยแต่หน่วยเสียง
พยัญชนะต้นมีมากกว่าภาษาไทยเป็นจานวนมาก ภาษาเขมรไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่ในภาษาเขมรมีทานองเสียง
5.) ภาษาญี่ปุ่น
ภาษาญี่ปุ่น เข้าสู่ดินแดนสยามประเทศพร้อมกับการเข้ามาของคนญี่ปุ่นในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ โดยในปี พ.ศ.214 โชกุนอิเยยา
สุ ได้มีสานส์นมาถวายสมเด็จพระเอกาทศรถพร้อมด้วยดาบญี่ปุ่น 10 เล่ม และเกราะ 3สารับ ญี่ปุ่นทูลขอปืนใหญ่กับไม้หอมของทางอยุธยา
แลกเปลี่ยน จากนั้น ก็มีสารเสรีสาเภาสยาม ที่สามารถเข้าติดต่อค้าขายกับญี่ปุ่นได้อย่างเสรี จนกระทั่งสมัยสงครามโลกครั้งที่2
ตัวอย่างภาษาญี่ปุ่นในภาษาไทย
เกอิซา (โสเภณี) คามิกาเซ (การต่อสู้แบบพลีชีวิต) เคนโด้ (การฟันดาบไม้)
ซามูไร (นักดาบ) ซูโม่ (มวยปล้า) ฮาราคีรี (คว้านท้องฆ่าตัวตาย)
ภาษาญี่ปุ่น มีความแตกต่างจากภาษาไทยโดยชัดเจน โดยสังเกตได้ง่ายๆว่า ภาษาญี่ปุ่น นิยมนามาใช้โดยการทับศัพท์ และมีหน่วยเสียงที่
ต่างกัน
6.) ภาษาชวา มลายู
ภาษามลายูเป็นภาษาประจาของชาวมลายูบางภาค เมืองปาเลมบัง และเมืองยัมบี ซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางการปกครองอันรุ่งเรืองของ
อาณาจักรศรีวิชัย
สาเหตูของการนาคาภาษาชวา-มลายูมาใช้ในภาษาไทย
๑.ทางด้านภูมิศาสตร์ : ชวาเป็นเกาะที่ตั้งอยู่บริเวณชายแดนทางทิศใต้ของประเทศไทย
๒.ทางด้านประวัติศาสตร์ : ในสมัยสุโขทัย พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เคยขยายอาณาเขตลงไปทางตอนใต้ไปจนถึงบริเวณแถบแหลม
มลายู จึงเป็นสาเหตุที่สาคัญที่ทาให้ชนชาติทั้งสองปะปนกันอยู่จนถึงปัจจุบัน และเมื่อเป็นเช้นนี้ประตูภาษาจึงเปิดรับกันและกันอย่างเต็มที่
๓.ทางด้านศาสนา : ภาษาบาลีละสันสกฤต ภาษาอาหรับและเปอร์เซียเข้ามาปรอญู่จานวนมากในภาษชวา-มลายูด้วยเหตุทางด้านศาสนา
ภาษาดังกล่าวได้ผ่านเข้ามาสู่ภาษาไทยโดยไม่รู้สึกตัว
๔.ทางด้านวัฒนธรรมประเพณีและวรรณคดี : แทนที่ประเทศไทยจะรับจากประเทศอินเดียโดยทางตรง แต่กลับรับมาจากอินเดียตอนใต้
ละผ่านมาทางชวา-มลายู เช่น เรื่องรามเกียรติ์ วรรณคดีบางเรื่องก็เป็นของชวา-มลายูเอง เช่น เรื่องอิเหนา เป็นต้น ประเพณีอีกมากมายหลายๆ
ด้าน ไทยก็ได้รับเข้ามาจาก ชวา-มาลายู เช่น การมหรสพบางชนิด อาหารบางอย่าง เป็นต้น
ลักษณะของภาษาชวามลายู
ภาษาชวามลายูจัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเนเซียน หรือตระกูลมลาโยโพลีนีเซีย ใช้เป็นภาษาประจาชาติของอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งแต่
เดิมเคยมีอาราเขตกว้างขวางไปทั่วหมู่เกาะมลายูขึ้นมาจนถึงแหลมมลายู จันถึงเมืองไชยา ภาษามลายูจึงใช้กันอย่างกว้างขวาง
-ภาษาชวามลายูออกเสียงอักษรสูงไม่ได้ จึงต้องลดคาอักษรสูงให้เป็นเสียงต่า เช่น เสื้อสีขาว ออกเสียงว่า เซือซีคาว
-คาส่วนมากเป็นคา ๒ พยางค์ แต่คาพยางค์เดียวหรือคาหลายพยางค์ก็มีบ้าแต่เป็นคาที่รับมาจากภาษาอื่นๆ ตัวอักษรเดิมใช้อักษรยาวี คือ อักษร
อาหรับ แต่ในปัจจุบันใช้อักษรรูมี อักษรโรมัน คาศัพท์ใหม่ๆมลายูรับมากจากภาษาอังกฤษ เช่น หนังสือ เรียก บู-กู มาจาก book
ลักษณะการรับคาชวามลายูเข้ามาใช้ในภาษาไทย
๑.คาทับศัพท์ : ส่วนใหญ่ระดับเสียงมักใกล้เคียงกัน ต่บางคาก็อาจจะมีระดับเสียงที่แตกต่างไปจากคาเดิมในภาษาชวามลายูบ้าง เช่น
Kapak อ่านว่า กาปะ ไทยใช้ กะปะ เป็นชื่อของงูชนิดหนึ่ง หรือ Sepak อ่านว่า เซปะ ไทยใช้ เซปัก แปลว่า เตะ
๒.เปลี่ยนแปลงเสียง : เปลี่ยนแปลงให้ต่างจากคาเดิมโดยการเปลี่ยนแปลงสระของพยางค์ใดพยางค์หนึ่ง เช่น Nuri(นูรี)โนรา คือ
นกแก้วขนแดง หรือ Suda(ซีดา)สีดา คือ ช้าง
๓.เปลี่ยนแปลงพยัญชนะ : เปลี่ยนแปลงพยัญชนะต้นพยางค์ใดพยางค์หนึ่งหรือทุกพยางค์ เช่น Bukit(บูเก็ต)ภูเก็ต เป็นจังหวัด หรือ
เปลี่ยนพยัญชนะตัวสะกด Unta(อุนตา)อูฐ เป็นชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง
๔.ลากเข้าควบ : มีการเปลี่ยนแปลงคาชวามลายูบางคาที่ไทยรับเข้ามาใช้ให้มีเสียงพ้องกับคาไทย ซึ่งอาจมีความหมายพ้องกับคาเดิมด้วย
เช่น Pelara(เปอะตารา)ปลาร้า ป็นชื่ออาหารชนิดหนึ่ง
๕.ตัดพยางค์ให้คาสั้นลง : โดยวิธีการนาคาชวา มลายูบางคามารวบพยางค์หรือตัดพยางค์ เช่น Manggusta(มังคุสตา)มังคุด ป็นชื่อ
ผลไม้ชนิดหนึ่ง
๖.แปลความจากคาชวา มลายู : คาชวามลายูบางคาที่ปรากฏในภาษาไทย อาจไม่ได้ปรากฏในรูปของคาเดิมโดยตรง แต่ได้มาจากการ
แปลความในคาชวามลายูมาอีกทีหนึ่ง การรับคาเข้ามาโดยวิธีนี้ปรากฏใช้ในภาษาไทยอยู่น้อย เช่น Burong(บุหรง) Kayit(กุญิต) นกขมิ้น
๗.เปลี่ยนแปลงความหมาย : -ความหมายแคบเข้า เช่น Azab(อาซับ) อาการเจ็บโดยทั่วๆป ไทยใช้ อักเสบ พิษกาเริบสืบเนื่องจาก
บาดแผล
-ความหมายกว้างออก เช่น Bela(เบลา) การสละชีพโดยให้ภรรยาตายตามสามี ไทยใช้ แบหลาการฆ่าตัว
ตายตามสามี
-ความหมายย้ายที่ เช่น Rejam(เรอะยา) วิธีการทาโทษหรือทาร้ายโดยวิธีเขวี้ยงด้วยก้อนหินหรือกดศีรษะ
ให้จมน้าหรือจมโคลน ไทยใช้ ระยา ชั่วช้าเลวทราม
ตัวอย่างคาชวามลายู
Budu อ่านว่า บูดู ไทยใช้ บูดู คาแปล น้าเคยที่ได้จากการหมักเกลือ
Ganja อ่านว่า กันยา ไทยใช้ กัญชา คาแปล พันธุ์ไม้ล้มลุก สรรพคุณทาให้มันเมา
Setol อ่านว่า เชอะโดน ไทยใช้ กระท้อน คาแปล ผลไม้ชนิดหนึ่ง
7.) ภาษามอญ
มอญ (Mon) เป็นชนชาติที่เก่าแก่ชาติหนึ่งที่มีอารยธรรมอันรุ่งเรืองอยู่ในแหลมอินโดจีนในตระกูลออสโตรเอเชียติค ซึ่งเป้นเชื้อชาติของ
กลุ่มภาษามอญเขมร จากหลักฐานพงศาวดารของชนชาติมอญกล่าวว่ามอญเป็นชนชาติที่เคยอาศัยอยู่ในอินเดีย ในปัจจุบันมอญเป็นชนกลุ่มน้อยใน
ประเทศพม่าซึ่งอยู่กันหนาแน่นทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า บริเวณเมืองมะละแหม่งจนถึงเมืองเย้ อาณาจักรมอญเจริญรุ่งเรืองสูงสุดอยู่
บริเวณตอนกลางของประเทศไทยมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมในปัจจุบัน จารึกภาษาที่เก่าแก่ที่สุดคือจารึกที่พบที่วัดโพธิ์ร้าง จังหวัดนครปฐม
เป็นจารึกที่เก่าประมาณพ.ศ.๑๑๔๓ อักษรที่เป็นจารึกเป็นอักษรปัลวะซึ่งเป็นอักษรอินเดียฝ่ายใต้ จารึกเก่าแก่อีกหลักคือ จารึกเสาแปดเหลี่ยม ที่
ศาลพระกาฬ จังหวัดลพบุรีประมาณพ.ศ.๑๓๑๔ในประเทศไทยถิ่นที่มีชาวมอญอาศัยอยู่เป็นจานวนมากคือปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรี สามโคก
ปทุมธานี อาเภอสังขละบุรีจังหวัดกาญจนบุรีและยังกระจายยุอีกหลายจังหวัดแม้ว่ามอญจะไม่มีประเทศแต่ก็จัดว่าเป็นภาษาที่มีชีวิตเพราะยังมีคน
มอญจานวนมากยังคงภาษาในชีวิตประจาวัน
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและมอญ
๑.ความสัมพันธ์ทางด้านพระพุทธศาสนา : ไทยนับถือพุทธสาสนานิกายหินยานตามแบบลังกาวงศ์มาจากมอญตั้งแต่สมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา
แห่งกรุงศรีอยุธยา ซึ่งพระมหาเถระสาคัญคือพระมหาคันฉ่องเป็นผู้นาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ประชาชนชาวกรุงศรีอยุธยาทั่วไป
๒. ความสัมพันธ์ด้านอักษรศาสตร์ : ก่อนที่จะมีการประดิษฐ์ลายสือไทยในพ.ศ.๑๘๒๖ คนไทยได้ใช้อักษรมอญมาก่อนและชาวไทยคงจะได้ศึกษา
ภาษามอญและนาตัวอักษรมอญมาดัดแปลงใช้เขียนภาษาไทยเพราะลักษณะอักษรอาหม ลื้อและอักษรภูไทยที่ใช้กันทุกวันนี้ล้วนเป็นลักษณะอักษร
มอญเก่าทั้งสิ้น
ลักษณะภาษามอญ
ภาษามอญเป็นภาษาตระกูลมอญ-เขมร เป็นภาษาในสายโมนิค เมื่อพิจารณาลักษณะทางไวยากรณ์ภาษามอญจัดอยู่ในภาษาประเภท
ภาษาคาโดยซึ่งรูปภาษาคาติดต่อ (agglutinative language)ปะปนอยู่ด้วย ภาษามอญมีลักษณะเป็นคาพยางค์เดียวหรือสองพยางค์หรือหลาย
พยางค์ป็นคาที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ เช่นภาษาบาลีและสันสกฤต ภาษามอญเป็นภาษาที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีผันคานาม
คากริยา โครงสร้างประโยคประกอบด้วยประธาน กริยา และกรรมส่วนขยายอยู่หลังคาที่ถูกขยาย
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษามอญ
ลักษณะภาษามอญที่เหมือนภาษาไทย
๑ ลักษณะคา - คาในภาษาไทยและภาษามอญมักเป็นคาพยางค์เดียว
- คานามไม่เปลี่ยนแปลงรูปเพื่อแสดงเพศ พจน์ การก แต่จะใช้คาอื่นมาประกอบเพื่อแสดงเพศ พจน์ กาล
- คากริยา ไม่มีการเปลี่ยนรูป
- คาบางคามีความหมายหลายอย่างและทาหน้าที่ในประโยคได้หลายอย่าง
- มีการใช้คาลักษณะนาม
- มีการใช้คาแบบคาประสม
- มีการใช้คาซ้อนและคาซ้า
- มีการยืมคามาจากภาษาต่างประเทศต่างๆ เช่น ภาษาบาลี สันสกฤต มลายู เป็นต้น
๒ ลักษณะประโยค - โครงสร้างประโยคเรียงแบบประธาน กริยา กรรม
- คาขยายวางข้างคาที่ถูกขยาย
ลักษณะภาษามอญที่แตกต่างจากภาษาไทย
๑.ภาษามอญมีลักษณะเป็นภาษาคาติดต่อ มีการเติมคานาหน้าคาละกลางคาทาให้เป็นคาที่มีพยางค์มากขึ้น เปลี่ยนหน้าที่และความหมาย
๒.ภาษามอญมีพยัญชนะ ๓๕ตัว มีสระ๒๔ ตัวแบ่งเป็นสระลอย๑๒ ตัวและสระจม๑๒ตัวไม่มีรูปวรรณยุกต์ แต่ภาษาไทยมีพยัญชนะ ๔๔ตัว (๒๑
เสียง) เสียงสระ ๒๑เสียงมีรูปวรณยุกต์ ๔รูป ๕เสียง
๓.หน่วยเสียงพยัญชนะแตกต่างจากภาษาไทยดังนี้ เช่นพยัญชนะไทย ต ในภาษามอญใช้ ฑ ในภาษาไทยใช้ ศ ษ ส ภาษามอญมีพยัญชนะ ส เป็น
ต้น
๔.ภาษามอญกาหนดเสียงสระและความหมายของคาจากพยัญชนะอโฆษะและโฆษ ส่วนในภาษาไทยกาหนดเสียงของคาและความหมายจากเสียง
วรรณยุกต์
การรับคาภาษามอญเข้ามาใช้ในภาษาไทย
๑.ใช้เป็นคาธรรมดาในเรื่องต่างๆในชีวิตประจาวันทั่วไป สามารถแบ่งหมวดหมู่ได้ดังนี้
๑.๑ภูมิประเทศ เช่น เกาะ คลอง วัง หาด อ่าว ๑.๒บ้านเมือง เช่น ซอก ตรอก ซอย ร้าน โรง สะพาน
๑.๓บ้านเรือน เข่น กระท่อม หน้าต่าง ๑.๔ครอบครัว-ญาติ เช่น แม่ ม่าย สะใภ้ ยาย ย่า
๑.๕ร่างกาย เช่น เท้า ขา พุง ๑.๖โรค เช่น ป้าง (ไข้) แผล จาม
๑.๗ยานพาหนะ-เครื่องผ่อนแรง เช่น เกวียน กาปั้น สาปั้น(เรือ) รอก ๑.๘เครื่องดนตรี เช่น จระเข้ ปี่ เปิงมาง โหม่ง ฉาบ
๑.๙ของมีค่า เช่น ทอง พลอย ๑.๑๐อาวุธ เช่น ทวน แสง
๑.๑๑อาหาร เช่น ขนมจีน ขนมต้ม บัวลอย ข้าวหลาม อาจาด ๑.๑๒อุปกรณ์และเครื่องใช้ต่างๆ เช่น กระทะ กรรไกร โคม ชิงช้า
๑.๑๓ความเชื่อ เช่น คนทรง ผีพราย ๑.๑๔การลงโทษ เช่น จองจา คุก ตะราง
๑.๑๕สัตว์ต่างๆ เช่น กระต่าย ค่าง จักจั่น จิ้งจก จิ้งหรีด ตะกวด ๑.๑๖นกและสัตว์ปีก เช่น กระเรียน กระตุง กาเหว่า พิราบ ห่าน
๑.๑๗ปลา เช่น ปลากระดี่ ปลากระดัก ปลากะพง ๑.๑๘พืชผักและผลไม้ เช่น กระเจี๊ยบ กระวาน กลอย พลู ตะดก
๑.๑๙ผลไม้ เช่น ทุเรียน มะกอก มะกรูด มะขวิด มะนาว มังคุด สมอ
๒.ใช้เป็นคาซ้อนและ คาประสม ในภาษาไทย ดังนี้
- คาซ้อน เช่น แก่เฒ่า (เฒ่า+แก่) ตรอกซอก (ซอก ทางเดิน) ฝาละมี (ละมี = ฝาปิดหม้อดิน)
เรื่องราว (ราว = เรื่อง) ผุยผง ( ผง ผงละเอียด) หนทาง (หน = ทาง)
- คาประสม เช่น ดินสอพอง (พอง = ผง) ถึงคราว (ครา = เวลา อายุ) แมลงปอ ( ปอ = บิน)
แม่ครัว (ครัว = ผู้ปรุงอาหาร) เป็นต้น
๓.ใช้ในราชาศัพท์ สานวน โวหาร และวรรรคดีไทย
-ราชาศัพท์ เช่น ตาหนัก พระแสง วัง หมอบ ท้าว พญา
- สานวน เช่น ติเรือทั้งโกลน (โกลน = ทา) ตายทั้งกลม (กลม = มดลูก)
-วรรณกรรม เช่น ขุนช้างขุนแผน “จักจั่นเจื้อยร้องริมสองใน เสียงเรไรหริ่งหริ่งที่กิ่งรัง”
8.) ภาษาอาหรับ
ภาษาอาหรับแต่เดิมเรียกว่าภาษาอารยัน จัดอยู่ในตระกูลอินเดียยุโยป(Indo-European) เช่นเดียวกับภาษาบาลีและสันสกฤต ชนชาติ
อาหรับนับเป็นชนชาติที่เก่าแก่มากชาติหนึ่งที่ติดต่อกับประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการค้าและการพาณิชย์ ซึ่งทั้งสองชาติได้ติดต่อ
ค้าขายกันมาโดยตลอด และทางภาคใต้ของประเทศไทยประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮิสลามจึงทาให้ภาษาอาหรับเข้ามามีอิทธิพลในภาษาไทย
พอสมควรและปรากฏคาภาษาอาหรับใช้ในภาษาไทย เช่น
คาภาษาอาหรับ อ่านว่า ภาษาไทยใช้ว่า
Khelasi
Afyun
Rakum
Kalayi
เกาะลาซี
อัฟยูน
เราะกัม
กัลอี
กลาสี
ฝิ่น
ระกาไหเป็นการวาดลวดลายบนผ้า
กะไหล่ชุบโลหะ
9.) ภาษาโปรตุเกส
ชาวโปรตุเกสได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเพื่อการค้าขาย ทาให้มีการแลกเปลี่ยนภาษา แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม มีสาเหตุการนาคา
ภาษาโปรตุเกสเข้ามาใช้ในภาษาไทยดังนี้
1.ความสัมพัทธ์ทางการค้า : โปรตุเกสมีการตงลงทาสัญญาสัมพันธไมตรีกับไทย ทาให้ชายโปรตุเกสได้รับสิทธิพิเศษในการค้าขายทาง
การค้าในสมัย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
2.ความสัมพันธ์ทางการทหารและการปกครอง : ในการทาสงคราม ไทยได้รับการสนับสนุนจากโปรตุเกสหลายๆอย่าง เช่น ได้กองกาลัง
ทหารอาสาชาวโปรตุเกสมาช่วย
3.ความสัมพันธ์ด้านภาษา : ชาวโปรตุเกสที่อยู่ในไทย ได้ใช้ภาษาโปรตุเกสเพื่อเผยแพร่คริสต์ศาสนา มีการสร้างวัดของชาวโปรตุเกสใน
ชุมชนอีกด้วย
4.ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ : ไทยได้รับวัฒนธรรมจากโปรตุเกส ทางด้านอาหารและเครื่องแต่งกาย เช่น
เครื่องแบบต่างๆที่แต่งตามศักดิ์ในสมัยโบราณของเจ้านายและทหาร
ลักษณะของภาษาโปรตุเกส
ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาที่จัดอยู่ในตระกูล อินโด ยูโรเปียน ( Indo – European ) จัดเป็นภาษาที่มีวิภัติปัจจัย
ตัวอย่างคา เช่น Pinto = ปิ่นโต ( ภาชนะที่ซ้อนเป็นชั้น มีหูหิ้ว ) Pending = ปั้นเหน่ง ( เข็มขัด )
Ela = หลา ( มาตราวัด ) Leilao = เลหลัง ( ขายทอดตลาด )
10.) ภาษาฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสเข้ามามีสัมพันธไมตรีกับไทยในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตรงกับ พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ความสัมพันธ์ของ
ไทยและฝรั่งเศสมีลักษณะ ดังนี้
1.ความสัมพันธ์ทางศาสนา : บาทหลวงชาวฝรั่งเศสได้มาขอพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจดตั้ง โรงเรียนสอน
วิชาแผนใหม่ของชาวยุโรปขึ้นในกรุงศรีอยุธยาเปิดโรงพยาบาลรักษาคนป่วยโดยไม่คิดเงิน ทาให้มีภาษาฝรั่งเศสเข้ามาปนในภาษาไทย
2.ความสัมพันธ์ทางการทูต : พ.ศ.2228 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้แต่งตั้งราชทูตของฝรั่ง เพื่อไปทาสัญญาทางการค้าและเผยแพร่ศาสนา
ในขณะเดียวกัน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้แต่งตั้งคณะราชทูตเดินทางไปฝรั่งเศส เมื่อราชทูตเดินทางกลับ ได้มีคณะทูตจากฝรั่งเศสชุดที่ 2
เดินทางมาที่กรุงศรีอยุธยาด้วย
3.ความสัมพันธ์ทางการค้า : ความสัมพันธ์ทางการค้าดาเนินด้วยดีตลอดมา มีสินค้าของฝรั่งเศสเข้ามาในประเทศไทยอย่างหลากหลาย
เป็นผลทาให้ คาฝรั่งเศสที่คุ้นหู มีการนาคาทับศัพท์มาใช้ในภาษาไทยมากตามไปด้วย
4.ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและวิชาการต่างๆ : บาทหลวงฝรั่งเศสที่เข้ามาอยู่ในกรุงศรีอยุธยามีการตั้งโรงเรียนให้บุตรของ
ข้าราชการได้รับการศึกษา บาทหลวงฝรั่งเศสได้ริเริ่มการสอนฝรั่งเศส ไทยได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการต่างๆ มีอาจารย์ชาวฝรั่งเศสมาสอน
และในปัจจุบันก็มีการเรียนการสอนวิชาฝรั่งเศส ทาให้ภาษาฝรั่งเศสได้รีบความนิยมในไทย
5.ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม : สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระราชนิยมแบบฝรั่งเทศ และทรงพยายามปรับปรุงขนบธรรมเนียม
ประเพณีของไทยให้ทันสมัยยิ่งขึ้น โดยเฉพาะคาศัพท์ทางวัฒนธรรม
ลักษณะภาษาฝรั่งเศส
ภาษาฝรั่งเศส มีการเปลี่ยนแปลงคาตามเพศ ส่วนพจน์นั้นจะแบ่งออกเป็นเอกพจน์และพหูพจน์ ลักษณะโครงสร้างของภาษาจะคล้ายคลึง
กับภาษาไทย
ตัวอย่างคาฝรั่งเศสในภาษาไทย
Biere = เบียร์ Casino = คาสิโน ( บ่อนการพนัน )
Queue = คิว ( ลาดับการเข้าแถว ) Coupon = คูปอง ( ตั๋ว บัตร )
วิธีการใช้ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
1. การทับศัพท์ : ออกเสียงตามเดิม ใกล้เคียงคาเดิม และปรับให้เข้ากับภาษาไทยมากที่สุด เช่น กัปตัน(Captain) กงสุล(Consul)
2. การลากเข้าความ : รับเข้ามาโดยหาเสียง หรือคาที่คุ้นหู ยกเลิกในรัชกาลที่5 เช่น อยู่ในฟอร์ม(Uniform) ข้าวเฝ่(Cafe)
3. การแปลงศัพท์ : โดยการตัดเสียง(Double-เบิ้ล) เพิ่มเสียง(Kamro-กามะลอ) แปลงเสียงสระ พยัญชนะหรือวรรณยุกต์(Sign-เซ็น)
4. การแปลงความหมาย : ทาให้ความหมายย้ายที่ กว้างออก และแคบลง
5. การแปลศัพท์ : แปลโดยใช้ภาษาบาลี-สันสกฤตมาสมาส-สนธิ เช่น Television เป็น โทรทัศน์ (โทร+ทัศน์)
6. การบัญญัติศัพท์ : ศัพท์บัญญัติ เกิดมาจากความเจริญทางด้านศิลปะวิทยาการของโลก ซึ่งมีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ในช่วงแรกใช้ภาษาไทย
แท้เช่น Airplane-เครื่องบิน ต่อมาเมื่อมีคาไม่พอจึงยืมคาจากภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น Morals-ศีลธรรม

More Related Content

What's hot

การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการPuzzle Chalermwan
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพพัน พัน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศWilawun Wisanuvekin
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2Ponpirun Homsuwan
 

What's hot (20)

การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงานการเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
 

Similar to ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2DisneyP
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส11nueng11
 

Similar to ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ (20)

ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 

ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ

  • 1. ภาษาถิ่น ภาษาถิ่น หมายถึงภาษาที่ใช้กันอยู่ในเฉพาะถิ่นหนึ่งๆ ที่ย่อยลงไปจากภาษากลางและในกลุ่มที่มีภาษากลางเดียวกันในต่างถิ่นสามารถ เข้าใจได้(การใช้คาศัพท์-ไวยากรณ์ สอดคล้องกัน) ภาษาไทยประกอบด้วยภาษาถิ่นที่แบ่งตามการตั้งรกรากถิ่นฐานของบรรพบุรุษในพื้นที่ต่างๆ คือ ภาษาถิ่นเหนือ(คาเมือง) ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นกลางและ ภาษาถิ่นใต้ อันมีภาษาถิ่นย่อยแตกแขนงออกไปอีก จัดเป็นส่วนประกอบย่อยของภาษาไทย (ภาษาไทยอยู่ในภาษาตระกูลย่อย ของ ตระกูลภาษาไทย-กะได) ซึ่งภาษาถิ่นจะมีหน่วยเสียง-พยัญชนะ-วรรณยุกต์ ต่างกันไปในแต่ละถิ่น เช่นคาว่า “เรือด” ที่หมายถึงแมลงปรสิตดูด เลือดชนิดหนึ่ง ภาษาถิ่นเหนือเรียกว่า “เฮือด” ซึ่งต่างกันที่เสียงพยัญชนะ ภาษาถิ่นสามารถเปลี่ยนแปลงไปได้ในยุคหนึ่งๆ(มีวิวัฒนาการ) ไม่ว่าจะเป็นการออกเสียง การสรรคา หรือการรับคาใหม่ๆมาใช้ และใน ขณะเดียวกันก็ถ่ายทอดภาษาถิ่นสู่ถิ่นอื่นได้ ภาษาถิ่น เปรียบเสมือนรากฐานโครงสร้างของภาษากลางและภาษาไทย ที่มีหลักเกณฑ์ในการยึดภาษาใดภาษาหนึ่งเป็นภาษากลางตาม ถิ่นที่เป็นที่ตั้งของเมืองหลวง และยึดภาษานั้นเป็นหลัก เช่น ประเทศไทย มีกรุงเทพมหานครฯ เป็นเมืองหลวง จึงยึดภาษาถิ่นกลางกรุงเทพ เป็น ภาษากลาง และใช้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสมาคมกับชาวไทยถิ่นต่างๆ หรือ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีนครหลวง เวียงจันทน์ เป็นเมืองหลวง ยึดภาษาลาวถิ่นเวียงจันทน์(ลาวเวียง) เป็นภาษากลางโดยปริยาย สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ภาษาต่างๆมีการยืมคากันใช้ ชาติที่เจริญย่อมมีคาในภาษาใช้มากกว่าชาติที่ด้อยพัฒนาฉะนั้นเมื่อชาติที่ด้อยพัฒนารับความเจริญต่างๆมา จากชาติที่เจริญแล้วก็ย่อมรับภาของเขามาใช้ด้วย จึงสรุปเหตุของการนาคาภาต่างประทศมาใช้ได้ ๑.รับคาภาษาต่างประเทศมาใช้ เนื่องจากคานั้นๆไม่มีใช้ในภาษาเดิมหรือในภาเดิมมีคาที่มีความหมายลักษณะนั้นใช้แต่เป็นความหมายที่แคบ ๒.รับภาต่างประเทศมาใช้เนื่องจากเรามี่คาเดิมอยู่แล้ว แต่ต้องการให้มีคาไวพจน์ต่างเสียงมากขึ้นเพื่อประโยชน์ในการประพันธ์แม้คานั้นๆจะมี ความหมายแคบก็ตามเช่น บิดา มารดา เป็นคาไวพจน์ของพ่อ แม่ ๓.ความเจริญทางศิลปะวิทยาการ และเครื่องใช้ไม้สอยต่างๆทาให้ต้องรับภาต่างประเทศมาใช้ไม่ต้องคิดคาขึ้นใหม่ เช่น ฟุตบอล ๔.คาที่เป็นสากล เป็นคาที่เป็นสมบัติกลางของมนุษย์ไม่เป็นคาเฉพาะของชาติใดชาติหนึ่ง ชาติใดคัดคานั้นขึ้นมาชาติอื่นๆนาไปใช้ได้เลยไม่ จาเป็นต้องคิดคาขึ้นใช้อีก เช่น แก๊ส ๕.รับคาภาต่างประเทสมาใช้เนื่องจากคานิยม ภูมิใจที่ได้ใช้คาภาต่างประเทศซึ่งแสดงให้คนอื่นเห็นว่าภูมิรู่ของตนใช้ได้อยู่ในระดับที่ต่างจากผู้ฟังคา ในภาษาไทยที่เหมาะสมกับข้อความมิใช้แต่ไม่ใช่ เช่น การใช้คาว่าคอมเฟิม แทนคาว่า ยืนยัน เป็นต้น ความจาเป็นดังกล่าวเป็นปัจจัยให้ภาษาต่างๆปะปนกันจนบางคาเจ้าของภาษาไม่รู้ว่าเป็นภาษาของตนแท้หรือมาจากภาษาอื่น ภาษาทุกภาษาย่อมมีการยืมคาจากภาต่างๆเข้ามาใช้ในภาของตน ภาไทยก็เช่นเดียวกันได้ปรากฏหลักฐานในเอกสารต่างๆว่ามีการนาคา ภาต่างประเทศเข้ามาใช้นานแล้ว การนาคาภาษาต่างๆเข้ามาใช้ในภาไทยของเรามีสาเหตุหลายประการดังนี้ ๑.สาเหตุทางด้านภูมิศาสตร์ ประเทศไทยมีอาราเขตติดต่อกันกับประเทศอื่นๆหลายประเทศทาให้ติกต่อสัมพันธ์กัน จนมีการยืมคาใน ภาษาอื่นมาใช้ ซึ่งกันและกัน ๒.สาเหตุทางด้านประวัติสาสตร์และการทาสงคราม การทาสงครามทาให้มีการปะบนของภาษาเกิดขึ้น ๓.สาเหตุทางด้านการเมืองและการทาสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ ประเทศไทยมีการทาสัมพันธ์ไมตรีกับนานาชาติอยู่เสมอทาให้การ นาคาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในภาษาไทย ๔.สาเหตุทางด้านศาสนา มีการรับศาสนาพุทธเข้ามาเป็นศาสนาประจาชาติ ทาให้มีภาบาลีสันสกฤตเข้ามาใช้และยังเปิดโอกาสให้ สาสนาอื่นๆ เข้ามาเผยแพร่ศาสนาในประเทศไทยได้ ๕.สาเหตุทางด้านการพาณิชย์ ประเทศไทยมีการติดต่อกับต่างประเทศ ทาให้ต้องติดต่อสื่อสารกันและมีคาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ ในภาษาไทย ๖.สาเหตุทางด้านศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ อิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมต่างๆได้ถ่ายทอดมายังประเทศไทย เป็นเวลานานทาให้ได้รับวัฒนธรรม เช่น วรรณคดี ๗.สาเหตุทางด้านการศึกษา มีการเดินทางไปศึกษาสรรพวิทายาการสาขาต่างๆยังต่างประเมศของคนไทยในปัจจุปัน
  • 2. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ภาษาต่างปะเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น มีอิทธิพลต่อภาษาไทย คือ ทาให้ลักษณะของภาษาไทย เปลี่ยนไปจากเดิม ดังนี้ 1.) คามีพยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเป็นภาษาตระกูลคาโดด คาส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง เดิน ยืน นั่ง นอน ป่า น้า เป็นต้น เมื่อยืมคาภาษาอื่นมาใช้ ทาให้คามีมากพยางค์ขึ้น เช่น - คาสองพยางค์ เช่น บิดา มารดา เชษฐา กนิษฐา ยาตรา ธานี จันทร กุญชร วิฬาร์ เป็นต้น - คาสามพยางค์ เช่นโทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน ปรารถนา บริบูรณ์ เป็นต้น - คามากกว่าสามพยางค์ เช่น กัลปาวสาน สาธารณะ อุทกภัย วินาศกรรม ประกาศนียบัตร เป็นต้น 2.) มีคาควบกล้าใช้มากขึ้น โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มีคาควบกล้า เมื่อรับภาษาอื่นเข้ามาใช้เป็นเหตุให้มีคาควบกล้ามากขึ้น เช่น บาตร ศาสตร์ ปราชญ์ พรหม ปราศรัย โปร เป็นต้น 3.) มีคาไวพจน์ใช้มากขึ้น (คาที่มีความหมายเหมือนกัน) ซึ่งสะดวกและสามารถเลือกใช้คาได้เหมาะสมตามความต้องการและวัตถุประสงค์ เช่น -ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ บุหงา ผกา สุมาลี -ท้องฟ้า คคนานต์ ทิฆัมพร นภดล โพยม อัมพร -น้า คงคา ชลาลัย ธารา มหรรณพ สาคร -พระจันทร์ แข จันทร์ นิศากร บุหลัน รัชนีกร 4.) มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา คาไทยแท้ส่วนใหญ่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เมื่อได้รับอิทธิพลภาษาต่างประเทศ คาใหม่จึงมีตัวสะกดไม่ตรงตาม มาตราจานวนมาก เช่น พิพาท โลหิต สังเขป มิจฉาชีพ นิเทศ ประมาณ ผจญ กัปตัน โฟกัส เป็นต้น 5.) ทาให้โครงสร้างของภาษาเปลี่ยนไป เช่น - ใช้คา สานวน หรือประโยคภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เช่น เขาพบตัวเองอยู่ในห้อง (สานวนภาษาไทย เขาอยู่ในห้อง) นวนิยายเรื่องนี้เขียนโดยทมยันตี (สานวนภาษาไทย ทมยันตีเขียนนวนิยายเรื่องนี้) - ใช้คาภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทั้ง ๆ ที่บางคามีคาภาษาไทยใช้ เช่น เธอไม่แคร์ ฉันไม่มายด์ เขาไม่เคลียร์ ผลดีของการรับคาภาษาต่างประเทศเข้ามาในภาษาไทย ๑ ใช้เป็นคาราชาศัพท์ ซึ่งส่วนใหญ่ได้มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น -ภาษาเขมร เช่น พระขนง พระขนอง พระเขนย พระกรรบิต ฯลฯ -ภาษาบาลีกับภาษาไทย เช่น พระอู่ พระที่ พระเต้า ฯลฯ -ภาษาบาลี สันสกฤต เช่น พระเศียร พระนลาฏ พระหัตถ์ พระบาท ฯลฯ ๒ ใช้เป็นคาศัพท์ในวรรณคดี ภาษาในวรรณคดีย่อมต้องการความไพเราะสละสลวย ๓ ใช้เป็นคาศัพท์ทางศาสนา เพื่อให้ดูศักดิ์สิทธิ์ ๔ ใช้เป็นคาศัพท์สามัญที่ใช้กันในชีวิตประจาวัน จนติดปากคิดว่าเป็นภาษาของเราเอง ๕ ใช้เป็นคาศัพท์บัญญัติทางวิชาการ ได้แก่ คาที่เราสร้างใหม่ เพราะได้รับอิทธิพลจากวิทยาการตะวันตก รวมทั้งอารยธรรมและเครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ต่างๆเข้ามาทาให้ต้องรับคาเข้ามาด้วย ผลเสียของการนาคาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศไทย ๑ การนาคาทับศัพท์ของภาษาอังกฤษมาใช้ คนไทยมักถ่ายเสียงแล้วสะกดเป็นภาษาไทยกันตามความสะดวก เพราะไม่มีแบบแผนทีจะให้ยึดถือ หรือ หาข้อยุติไม่ได้ว่า เขียนอย่างไร อย่างเช่น -Sauce ซ้อส เขียนได้หลายแบบ เช่น ซ๊อส ซ็อส ซอส ซ้อส -Cake เค้ก เขียนได้หลายแบบ เช่น เค๊ก เค้ก เคก เค้ก นอกจากคาทับศัพท์ภาษาอังกฤษแล้ว ก็ยังมีคาศัพท์บัญญัติอีกส่วนหนึ่งที่ยังไม่ได้จดบันทึกไว้ในพจนานุกรม จึงไม่มีข้อยุติในการเขียน ทา ให้เกิดไขว้เขวว่าจะสะกดให้ถูกต้องอย่างไร เช่น สัญลักขณ์ สัญลักษณ์, อุดมการณ์ อุดมการ ,วิกฤตการณ์ วิกฤตการ ฯลฯ ๒ การอ่านคาที่ถ่ายเสียงคาทับศัพท์เป็นภาษาไทยแล้ว บางคาออกเสียงไม่ตรงกับเสียงในภาษาเดิม เช่น คอมพิวเตอร์ ออกเสียงว่า คอม-พิ้ว- เต้อ , เดนมาร์ก ออกเสียงว่า เดน-หมาก ๓ การทับศัพท์มีอิทธิพลต่อโครงสร้างและระเบียบการใช้ภาษาไทยบางประการ เช่น การไม่ใช้ลักษณะนาม ตารวจรวบ 2 วัยรุ่นจอมซ่าส์ , การ ใช้กรรมวาจกผิดที่ เขาถูกลงโทษโดยธรรมชาติ, การใช้คาขยายผิดที่ เช่น ซุปเปอร์มันส์ นิวภัคตาคาร ๔ ข้อที่เป็นผลเสียต่อภาษาที่เห็นได้ชัดอีกข้อหนึ่ง คือ ภาษาพูดที่เราใช้ในการสร้างคา วลี สานวน มีทั้งแปลจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น “ ทีใครทีมัน” ที who ที it ๕ ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด เมื่อมีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนมักจะเขียนอ่านกันผิดๆเพราะปัจจุบันคนไทยเราไม่ได้ ศึกษาภาษาไทยให้ ลึกซึ้ง เช่น ประณีต มักเขียนผิดเป็น ปราณีต, ชมพู่ มักเขียนผิดเป็น ชมภู่, โน้ต มักเขียนผิดเป็น โน้ต
  • 3. ภาษาไทยมีลักษณะเป็นของตนเอง ดังนั้น การศึกษาลักษณะของภาษาไทยแท้จะทาให้สามารถทาให้รู้ลักษณะของภาษาไทยเป็นอย่างดี ลักษณะของภาษาไทยแท้ มีดังนี้ 1. ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด คือ มีการใช้คาอิสระไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคาเพื่อบอกเพศ วัย พจน์ กาลหรืออาจทราบจากบริบท ดังนี้ -คาบางคา บอกเพศอยู่แล้ว เช่น พ่อ หนุ่ม นาย พระ เณร ขอกเพศชาย และ หญิง สาว นาง ชี บอกเพศหญิง หรือจะนาคามาประกอบ เช่น ลูกเขย ลูกสะใภ้ ช้างพัง ช้างพลาย เป็นต้น -คาไทยไม่นิยมเปลี่ยนรูปคาเพื่อบอกพจน์ แต่จะนามาประกอบการบอกจานวน เช่น บ้านหลายหลังถูกน้าท่วม เขามาคนเดียว -มีคากริยาบอกกาล เช่น ฝนกาลังตก (ปัจจุบัน) มะรืนนี้ฉันไปดูหนัง (อนาคต) ปีที่แล้วฉันไปเที่ยวหลวงพระบาง (อดีต) 2. คาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว มีความหมายสมบูรณ์ เข้าใจโดยทันที เช่น ฝูง พ่อ พวก ไก่ หมู หรือมีการลงอุปสรรค เช่น เดี๋ยว–ประเดี๋ยว 3. คาไทยแท้มีตัวสะกดตรงมาตรา 8 มาตรา และไม่มีตัวการันต์ ได้แก่ -มาตราแม่ กก ใช้ ก สะกด -มาตราแม่ กด ใช้ ด สะกด -มาตราแม่ กบ ใช้ บ สะกด -มาตราแม่ กง ใช้ ง สะกด -มาตราแม่ กน ใช้ น สะกด -มาตราแม่ กม ใช้ ม สะกด -มาตราแม่ เกย ใช้ ก สะกด -มาตราแม่ เกอว ใช้ ว สะกด 4.ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ ทาให้ต่างเสียงและความหมายต่างกันมีความไพเราะเฉกเช่นเสียงดนตรี และมีพยัญชนะต่างเสียง อักษรสูง กลาง ต่า 5. เมื่อมีคาจากัดไม่พอใช้ จึงนาคาต่างประเทศมาใช้โดยวิธีการประสมคา ซ้อนคา และ ซ้าคา 6. หากเรียงประโยคผิดก็จะเกิดความหมายใหม่ เช่น ฉันรักแม่-แม่รักฉัน 7. คาขยายในภาษาไทยจะเรียงหลังคาที่ถูกขยายเสมอ เช่น มาลีเดินช้า ยายกับตาสวมเสื้อสีแดง เป็นต้น 8. คาไทยมีลักษณะนาม เช่น ขลุ่ย-เลา ตะเกียบ-คู่ ทหาร-หมวด เกวียน-เล่ม ซึ่งมีข้อสังเกต 2 ประการ ดังนี้ -ตามปกติคาลักษณะนามจะอยู่หลังคาวิเศษณ์บอกจานวนที่เป็นตัวเลข เช่น แม่เลี้ยงหมา10ตัว ฉันมีปากกาด้ามเดียว เป็นต้น -ใช้ตามหลังลักษณะนามเพื่อเน้นคุณสมบัติของลักษณะนามนั้นๆ เช่น ผ้าผืนนี้ยาวมาก 9. ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียน หากเว้นไม่ถูก ประโยคจะเปลี่ยนความหมาย เช่น -ลูกประคา ดีควาย รากขี้เหล็กทั้งห้า  ลูกประคาดี ควายรากขี้ เหล็กทั้งห้า -ยานี้ดี กินแล้วแข็งแรง มีมีโรคภัยเบียดเบียน  ยานี้ดี กินแล้วแข็ง แรงไม่มี โรคภัยเบียดเบียน 10. ภาษาไทยมีระดับ ขึ้นอยู่กับคู่สนทนา และบุคคลที่สาม เช่น พระมหากษัตริย์ พระภิกษุ เจ้านายชั้นต่างๆ และ สามัญชน ภาษาต่างประเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทย 1.) ภาษาอังกฤษ ประเทศไทยและอังกฤษเริ่มมีการติดต่อค้าขายมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ.๒๑๕๕ อังกฤษนั้นติดต่อกับไทยทั้งด้านการทูตและ การค้าจนกระทั่งถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ส่งทูตไปทาการค้าขายถึง ๒ ครั้ง มีการปรากฏหลักฐานว่า มีการรับเอาคาทับศัพท์ ภาอังกฤษมาใช้บ้างแล้วตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ บรรดาเจ้านายและข้าราชการไทย ได้มีโอกาสศึกษาภาษาอังกฤษกับชาว อังกฤษที่เข้ามาอยู่ในไทยจนสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีการใช้ภาษาอังกฤษอย่างแพร่หลายมากขึ้น ในปัจจุบันภาษาอังกฤษเข้ามาปะปนใน ไทยอย่างมาก จากสาเหตุต่างๆ เช่น การเจริญทางการศึกษา การติดต่อสื่อสาร การเดินทางระหว่างประเทศ วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น ส่วน สาเหตุที่ทาให้มีการรับคาภาษาอังกฤษเข้ามาใช้ในภาษาไทย มีดังนี้ 1. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์และการค้าขาย : อังกฤษเป็นชนชาติที่ ๓ ที่เข้ามาติดต่อค้าขายในกรุงศรีอยุธยาและได้มีการตั้งสถานีการค้า ในอยุธยา มีการทาสัญญาการค้ากันหลายฉบับเพื่อติดต่อค้าขายกันในรัชกาลที่ ๕ เมื่อรัชกาลที่ ๕ เสด็จไปประเทศอังกฤษได้รับการต้อนรับอย่างดี ทาให้ไทยและอังกฤษมีความสัมพันธ์อันดีมากทาให้ไทยเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเจริญเท่าเทียมกับประเทศในยุโรปและภาษาอังกฤษเข้ามาในไทย ลักษณะคาทับศัพท์มากขึ้น 2. ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและวิชาการ : การสอนภาษาไทยในประเทศไทย เริ่มมีมาตั้งตั้งสมัยของรัชกาลที่ ๔ แต่เป็นการสอนเฉพาะใน ราชสานัก จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ ๕ ท่านได้ทรงส่งพระราชโอรสและข้าราชการในสานักไปศึกษายังประเทศอังกฤษ บุคคลที่มีฐานะดีก็นิยมส่ง บุตรไปเรียนในต่างประเทศ รวมทั้งมีคณะมิชชันนารีเข้ามาสอนภาษาอังกฤษให้คนไทยด้วยทาให้ภาษาอังกฤษแพร่หลายในไทยมากขึ้น ๓. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม : ประเทศไทยเริ่มมีการปรับปรุงบ้านเมืองตามแบบวัฒนธรรมตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ทรงให้เลิกทาส และมีการรับวรรณกรรมสมัยใหม่จากอังกฤษโดยตรง ทาให้เกิดคาทับศัพท์และสานวนต่างๆที่รับมาจากอังกฤษมากมาย 4. ความสัมพันธ์ทางวิทยาการสมัยใหม่ : ในสมัยรัชกาลที่ ๔ได้มีการรับวิทยาการสมัยใหม่ของยุโรปเข้ามาสู่ไทย ในปัจจุบันประเทศ ลักษณะของภาษาไทย แท้
  • 4. ก็ยังมีการรับเอาเทคโนโลยีของประเทศตะวันตกเข้ ามาเสมอจึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการใช้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ 5. ความสัมพันธ์ทางด้านค่านิยม : ค่านิยมแบบตะวันตกหลายอย่างกลายเป็นสิ่งสามารถแสดงถึง ความเป็นผู้ทันสมัยของคนไทยได้ เช่น มีการนา ภาษาอังกฤษมาตั้งเป็นชื่อร้าน ห้าง หรือชื่อบุคคลค่านิยมเหล่านี้จึงเป็นสาเหตุให้คนไทยรับภาษาอังกฤษเข้ามาแพร่หลายอยู่ในชีวิตคนไทย การเปลี่ยนแปลงความหมายของคาภาษาอังกฤษในภาษาไทย ๑.ความหมายแคบเข้าเมื่อใช้ในภาษาไทยจะมีความหมายแคบจากัดขอบเขตมากกว่าที่อยู่ในภาษาเดิม เช่น คาอังกฤษ ความหมาย ไทยใช้ ความหมาย Card กระดาษแข็งนามบัตร การ์ด บัตรเชิญ ๒.ความหมายกว้างออก เมื่อไทยรับเอาภาษาต่างประเทศมาใช้จะมีความหมายชัดกว่าเดิม เช่น คาอังกฤษ ความหมาย ไทยใช้ ความหมาย Bank ธนาคาร แบงค์ ธนาคาร ธนบัตร ๓.ความหมายย้ายที่ เมื่อไทยนามาใช่ ความหมายจะแตกต่างออกไปจากภาษาเดิมเช่น คาอังกฤษ ความหมาย ไทยใช้ ความหมาย Kiwi นกชนิดหนึ่งบินไม่ได้ กีวี น้ายา-ครีมขัดรองเท้า 2.) ภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาบาลีและสันสกฤตจัดเป็นภาษาประเภทที่มีวิภัตติปัจจัย สาขาอินเดีย-ยุโรป เป็นภาษาสังเคราะห์ซึ่งหมายถึงภาษาที่สร้างขึ้นมามิได้ วิวัฒนาการมาจากธรรมชาติ สาเหตุที่ภาษาบาลีเข้ามาปะปนในภาษาไทย เป็นภาษาที่ไทยรับสืบเนื่องมาจากการรับอารยธรรมในด้านต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ ปรากฏ หลักฐานการใช้ครั้งแรกราวพ.ศ. ๑๘๒๕ ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง(หลักที่๑) จากหลักฐานพบว่าภาษาสันสกฤตนั้นเข้ามาในประเทศไทย ก่อนภาษาบาลี ลักษณะภาษาบาลีและสันสกฤต ประกอบด้วยหน่วยเสียงสาคัญ ๒ หน่วยเสียงคือ พยัญชนะและหน่วยเสียงสระ ภาษาทั้งสองจัดอยู่ในตระกูลภาษาอินเดียอารยัน แม้ ภาษาทั้งสองจะจัดอยู่ในตระกูลภาษาเดียวกันและมีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่แต่ก็มีที่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่คือเรื่องเสียงคือออกเสียง แตกต่างกัน ระบบเสียงภาษาบาลี-สันสกฤต -เสียงสระ ภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี อ อา อิ อึ อุ อู ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เอ ไอ โอ เอา อ อะ อ อา อิ อึ อุ อู เอ โอ - เสียงพยัญชนะ ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะ ๓๔ ตัว โดยแบ่งเป็นพยัญชนะวรรและอวรรค พยัยชนะวรรคแบ่งออกเป็น ๕ วรรค วรรคละ ๕ ตัว รวมเป็น ๒๕ ตัว พยัญชนะอวรรค ๙ ตัว รวมเป็น ๓๔ ตัว ดังนี้ อโฆษะ โฆษะ วรรค กะ ก ข ค ฆ ง (ห) วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ (ศ ย) วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ (ร ษ ฬ) วรรค ตะ ต ถ ท ธ น (ส ล) วรรคปะ ป ผ พ ภ ม (ว) เศษวรรค ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ นอกจากนี้มีพยัญชนะประสมอีก ๒ ตัว คือ กฺษ ชฺญ
  • 5. ภาษาบาลีมีพยัญชนะ ๓๓ ตัวรวมทั้งนิคหิต (๐) โดยแบ่งเป็นพยัญชนะวรรคและอวรรคเหมือนกับภาษาสันสกฤต -พยัญชนะสะกด ออกเสียง ๒ แบบ 1.นิคหิต (ฐ) ภาษาบาลีจักนิคหิตไว้ในระบบเสียงพยัญชนะ ไม่นิยมเป็นพยัญชนะต้น บาลีออกเสียง ง สะกด ส่วนภาสันสกฤต ออกเสียง ม สะกด เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต พุทธ อ่านว่า พุด-ทัง พุทธม อ่านว่า พุด-ทัม 2.พยัญชนะการันต์ หมายถึงพยัญชนะตัวสุดท้ายคา เช่น มนสฺ (ใจ) สฺ เป็นพยัญชนะการันต์ มีใช้ในภาษาสันสกฤต ส่วนภาษาบาลีมี เฉพาะสระการันต์อย่างเดียว เช่น มน (ใจ) จัดเป็น อะ การันต์ -พยัญชนะคู่ในภาษาบาลี-สันสกฤต พยัญชนะคู่ หมายถึงพยัญชนะที่มาด้วยกัน ๒ ตัว แช่น กฺก ในคาว่า สกฺก (สามารถ) ซึ่งพยัญชนะคู่ในบาลีสันสกฤตแบ่งออกเป็น ๒ ชิดคือ 1 พยัญชนะซ้อน มีหลักการดังนี้ -พยัญชนะแถวที่ ๑ สะกด พยัญชนะแถวที่ ๑ หรือ ๒ ตามได้ เช่น ทุกฺข อตฺต -พยัญชนะวรรคแถวที่ ๓ สะกด พยัญชนะแถวที่ ๓ หรือ ๔ ตามได้ เช่น วชฺฌ สพฺพ -พยัญชนะวรรคแถวที่ ๔ สะกด พยัญชนะวรรคอื่นๆ แต่ละวรรคตามได้ เช่น สงฺกา องฺค ธมฺม สนฺต เป็นต้น -พยัญชนะอวรรคหรือเศษวรรค เป็นการซ้อนพยัญชนะเดียวกัน คือ ซ้อนตัวเอง เช่น อยฺยกา สลฺล ส่วน ร ฬ ว ห ไม่นิยมซ้อนตัวเอง ๒ พยัญชนะประสม มีหลักการดังนี้ -พยัญชนะอโฆษะมาด้วยกัน เช่น กฺต (มุกฺต-มุกดา) ปฺต(สปฺต-สัปดาห์) ษฏ(อษฺฏ – แปด) -พยัญชนะโฆษาด้วยกัน เช่น คฺธ(สุนิคฺธ-เรียบ) พฺท(ศพฺท-เสียง) -พยัญชนะเสียงอ่อนมาข้างหน้าหรือข้างหลังพยัญชนะเสียงแข็ง ไม่กาหนดเรื่องพยัญชนะอโฆษะและโฆษะ -พยัญชนะเสียงอ่อนมาข้างหลังพยัญชนะเสียงแข็งที่เป็ยอโฆษะ คือ พยยชนะวรรคสะกดเศษววรคตาม(สันสกฤต) พยัญชนะเสียงอ่อนมาข้างหน้าพยัญชนะเสียงแข็งที่เป็นโฆษะ คือ เศษวรรคสะกดพยัญชนะวรรคตาม(สันสกฤต) เช่น รฺป (สรฺป–งู) -พยัญชนะประสมมีใช้ในภาษาสันสกฤต ภาษาบาลียืมคาประสมของสันสกฤตมาใช้เหมือนกัน เช่น วฺยคฺฆ(เสือ) ทฺวิ(สอง พฺยาธิ(พยาธิ) ทฺวาร(ประตู) ความแตกต่างระหว่างภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤต -สระเดี่ยว มีลักษณะต่างกันด้วยการใช้เสียงสระที่ตนเองมีอยู่แทนเสียงสระที่ตนเองไม่มี ภาษาบาลีไม่มีเสียง ฤ จึงใช้เสียงสระ อะ อิ อุ แทนเสียง ฤ ในสันสกฤต ดังนี้ ภาษาสันสกฤตใช้เสียง ฤ บาลีใช้เสียง อะ เช่น สันสกฤต บาลี คฤห คห (บ้าน) ภาษาสันสกฤตใช้เสียง ฤ บาลีใช้เสียง อุ เช่น สันสกฤต บาลี ปิตฤ ปิตุ (พ่อ) คาสันสกฤตที่มีพยัญชนะเสียงประสมมากับเสียงยาว เมื่อมีการแทรกเสียงในภาษาบาลีเสียงยาว ในคาสันสกฤตจะกลายเป็นเสียงสั้นในภาษาบาลี ดังนี้ สันสกฤต บาลี อา อารุย อะ อริย (เจริญ) ภาษาบาลีและสันสกฤตใช้ อิ ตรงกัน ดังนี้ นิจฺจ นิตฺย (เสมอ , ต่อเนื่องกัน) ภาษาสันสกฤตใช้เสียง ฤ บาลีใช้เสียง อิ เช่น สันสกฤต บาลี ตฤณ ติณ (หญ้า) ภาษาบาลีใช้เสียงสระสั้น ส่วนคาสันสกฤตที่มีพยัญชนะ ประสมมากับสระเสียงยาว เมื่อมีการกลมกลืนเสียงพยัญชนะ ซ้อน สระเสียงยาวในสันสกฤตจะกลายเป็นสระเสียงสั้นใน ภาษาบาลี ดังนี้ สันสกฤต บาลี อี กีรฺติ อิ กิตฺติ (ชื่อเสียง) ภาษาบาลีที่ใช้สระเดี่ยว แต่สันสกฤตใช้สระประสม ดังนี้ ภาษาบาลีใช้สระ อิ สันสกฤตใช้สระ ไอ หรือ เอ บาลี สันสกฤต วิสาข ไวศาข (เดือนหก)
  • 6. ภาษาบาลีใช้สระ อุ สันสกฤตใช้สระ โอ หรือ เอา ดังนี้ บาลี สันสกฤต อุ มหุสฺสว โอ มโหตฺสว (มหรสพ) ภาษาบาลีและสันสกฤตใช้ เอ ตรงกัน ดังนี้ บาลี สันสกฤต เกศ เกศ (ผม) ภาษาบาลีใช้เสียงสระ เอ สันสกฤตใช้เสียงสระ ไอ ดังนี้ บาลี สันสกฤต เอ เกลาส ไอ ไกลาส (ภูเขาไกลาศ) -เสียงพยัญชนะบาลีสันสกฤตแตกต่างกัน ดังนี้ การใช้เสียงพยัญชนะเท่าที่มีอยู่แทนเสียงพยัญชนะที่ตนเองไม่มี บาลีใช้ ส ตัวเดียวไม่มี ศ ษ ส่วนสันสกฤตใชเพราะฉะนั้นบาลีใช้ ศ แทน ศ ษ ในสันสกฤต ดังนี้ บาลี สันสกฤต ส สาสนา ศ ศาสนา (ศาสนา) พยัญชนะรูป ฬ มีทั้งบาลีและสันสกฤต ภาษาสันสกฤตไม่ใช้ ฬ กลับไปใช้พยัญชนะ ฑ ฎ ล ฒ หรือ ณ ฤ แทนดังนี้ บาลี สันสกฤต ฬ กีฬา ฑ กรีฑา (การเล่น) ฬ ครุฬ ฑ ครุฑ (ครุฑ) 3.) ภาษาจีน กับจีนมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดทางด้านเชื้อชาติ และถิ่นที่อยู่อาศัยความสัมพันธ์นี้ติดต่อกันมาอย่างช้านานก่อนสมัย ประวัติศาสตร์ไทย ลักษณะทั่วไปของภาษาจีนเป็นภาษาคาโดด (Isolating language) เช่นเดียวกับภาษาไทย จีนเป็นประเทศกว้างใหญ่จึงมีหลายภาษา เช่น กวางตุ้ง แต้จิ่ว แคะ อกเกี้ยน ใหหลา และจีนกลาง(แมนดาริน/ปักกิ่ง) เป็นต้น ภาษาจีนจัดอยู่ในตระกูลภาษาคาโดด (Isolating language)เข่นเดียวกับภาษาไทย ไม่มีการสร้างคาโดยการเติมคาหน้ากลางหรือหลัง ภาษาจีนจึงมีการใช้วรรณยุกต์ คาลักษณะนาม และการเรียบเรียงประโยคถือเป็นเรื่องสาคัญ ลักษณะทั่วไปของภาษาจีนมีดังนี้ ๑.มีคาพยางค์เดียวและไม่มีเสียงควบกล้า เช่น (ฟ่าน) ข้าวสุก ๒.เมื่อจะสร้างคาใหม่ก็ใช้คาประสม เช่น (เค่อเหริน) แขกผู้มาหา ๓.คานามบางคามีส่วนลงท้ายคล้ายปัจจัยแสดงว่าเป็นคานาม ๔.คานามไม่มีเครื่องหมายแสดงเพศ พจน์ หรือมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อแสดงกาล มาลา วาจก ๕.คากริยาไม่มีเครื่องหมายหรือการเปลี่ยนแปลงในคาเพื่อแสดงกาล มาลา วาจก ใช้คาอื่นประสมเช่นเดียวกับคานาม ๖.วาจก หรือ การรก สาหรับกริยาและนามนั้นรู้ได้ด้วยการเรียงลาดับคาตามธรรมดา ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เพื่อการแสดงความเกี่ยวข้อง ระหว่างคา ๗.มีการลง น ท้ายบุรุษสรรพนามเมื่อต้องการแสดงความสุภาพหรือยกย่อง ๘.ภาษาจีนมีเสียงสูงต่าเช่นเดียวกับภาษาไทย เสียงหนึ่งมีความหมายอย่างหนึ่งเมื่อเสียงสูงคานั้นเปลี่ยนไป ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษาจีน ๑.ภาษาจีนเรียงคุณศัพท์ไว้หน้าคาที่ขยายนอกจากจานวนนับจะเรียงเหมือนกับคาภาษาไทยภาษาไทยจะเรียงคาคุณศัพท์ไว้ข้างหลัง เช่น เล่านั๊ง (คนแก่) ซาโก๊ (สามอัน) ๒.ภาษาจีนเรียงลักษณะนามไว้หน้าคุณศัพท์หรือหลังคุณศัพท์ก็ได้ ภาษาไทยเรียงลักษณะนามไว้หลังคุณศัพท์ เช่น กี หมายถึง แท่ง เจ้กกีปิ้ก หมายถึง ดินสอหนึ่งแท่ง ภาษาบาลีและสันสกฤตใช้สระ อุ ตรงกันก็มี ดังนี้ บาลี สันสกฤต อุ สุข อุ สุข (ความสุข) ภาษาบาลีใช้เสียงสระ โอ สันสกฤตใช้เสียงสระ เอา ดังนี้ บาลี สันสกฤต โอ โอรส เอา เอารส (ลูกชาย)
  • 7. ๓.ภาษาจีนเรียงกริยาวิเศษณ์ไหว้หน้าคาที่ขยาย แต่ภาษาไทยเรียงไว้ข้างหลัง ๔.ภาษาจีนเรียงบุพบทไว้หลังคานาม ภาษาไทยเรียงบุพบทไว้หน้าคานามคายืมภาษาจีนในภาษาไทย คายืมภาษาจีนในภาษาไทย ๑.ทับศัพท์ : คือออกเสียงตรงตามคาเดิมในภาษาจีนจะผิดเพี้ยนไปบ้างก็แค่เสียงสูงต่า ส่วนความหมายก็คงเดิม เช่น ตั๋ว มาจาก ตัว แปลว่า ใบสาคัญ ๒.ทับศัพท์แต่เสียงเปลี่ยนไปคาบางคาเสียงเปลี่ยนไปไม่อาจกาหนดได้แน่ว่าเสียงที่เปลี่ยนไปนั้นเปลี่ยนไปจากคาภาษาจีนกลาง ต้องพิจารณาเป็นคาๆไป เช่น แซ่ มาจาก แส่ ๓.ใช้คาไทยแปลเป็นภาษาจีน เช่น ไชเท้า เป็น หัวผักกาด ไซโป๊ คือ หัวผักกาดเค็ม ๔.ใช้คาไทยประสมหรือซ้อนกับคาจีน ๕.สร้างคาใหม่หรือความหมายใหม่ เช่น โอวเลี้ยง หมายถึง กาแฟไม่ใส่นมแล่ะน้าแข็ง เกาเหลา หมายถึง อาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวแต่ ไม่ใส่เส้น ๖.ความหมายกลายไป เช่น -กุ๊ย แปลว่า ผี ไทยนามาใช้ในความหมายว่า คนเลว -เซียม แปลว่า เป็นหนี้ ไทยนามาใช้ในความหมายว่า ตระหนี่ -ซีซ้า แปลว่า ตกทุกข์ได้ยาก ไทยนามาใช้ในความหมายว่า ซ้าใจ 4.) ภาษาเขมร ภาษาเขมรในปัจจุบันมีปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าเป็นภาษาเดียวกับภาษาขอมในสมัยก่อนนั้นหรือไม่แต่คนไทยสาคัญว่าเป็นชนชาติ เดียวกัน จึงใช้ขอมแทนเขมรแต่ในประวัติศาสตร์กล่าวถึงชนชาติขอมที่มีอานาจแฟ่ไปทั่วดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันนี้ ทั้งมีการนาคา ภาษาเขมรมาใช้เป็นคาราชาศัพท์อีกด้วยแม้คาบาลี-สันสกฤตที่ใช้อยู่ก็น่าสงสัยว่าที่ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากเดิมก็คงเป็นอิทธิพลของเขมรแต่ต่อมา ภายหลังเขมรก็ได้รับอิทธิพลภาษาไทยได้ใช้คาไทยเป็นคาราชาศัพท์ด้วยเช่นกัน ไทยกับเขมรมีความสัมพันธุ์กันมายาวนาน ต่างก็ได้รับวัฒนธรรมและอารยธรรมของกันและกันที่เด่นชัดคือ วัฒนธรรมทางภาษา สมัยก่อนไทยนาอักษรเขมรมาใช้โดยเฉาะขอมบรรจงและขอมหวัดมาใช้บนจารึกแผ่นหิน ในด้านวรรณคดีก็นาอักษรขอมหวัดมาใช้ในการชุบลงสมุดข่อยต่างๆและผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเชี่ยวชาญทางภาษาในอดีตจะต้องมีความรู้อ่าน เขียนในภาษาขอมโบราณใต้ มีข้อสังเกตว่าไทยนาอักษรขอมมาใช้แต่ก็ไม่ทั้งหมดด้วยเหตุผลว่าเสียง คาและไวยากรณ์มีความแตกต่างกันอยู่ไม่ น้อย จึงมีการดัดแปลงปรับปรุงแล้วนาไปปะปนกับการเรียนตัวอักษรของชาติอื่นๆที่คนไทยเข้าใจในสมัยนั้นถึงเกิดอักษรขอมไทยในประเทศไทย ในด้านคาถาอาคมต่างๆ คนไทยมีความเชื่อตามคนเขมร คาถาอาคมต่างๆจึงใช้เป็นอักษรเขมรหรือเรียกว่า “อักขระขอมโบราณ” จนกระทั่ง ปัจจุบันความนิยมยังไม่เสื่อมไป ในด้านการปกครองประมาณปี พ.ศ.๑๔๙๓ อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ไทยรับเอาการปกครองของขอมโบราณมาใช้ โดยนับถือกษัตริย์เป็นพระเจ้า การใช้ถ้อยคากับพระมหากษัตริย์จึงต้องใช้ “คาราชาศัพท์” ในด้านวรรณคดีการแต่งวรรณคดีร้อยกรองประเภทกาพย์ โคลง กลอน ฉันท์และร่ายถึงต้องพิถีพิถันในด้านการใช้คาเป็นพิเศษ นอกจากความ ไพเราะ มีสัมผัสคล้องจองตามแบบฉันทลักษณ์ ยังต้องการความศักดิ์ศิทธิ์อีกด้วยโดยเฉพาะในวรรณคดีประเภทศาสนาและพิธีกรรม เช่น ลิลตโองการแข่งน้าและเรื่องคาฉันท์ดุษฏีสังเวยกล่อมช้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา สาเหตุการนาคาภาษาเขมรมาใช้ในภาไทย ภาษาไทยนาภาษาเขมรมาใช้เพราะสาเหตุหลายประการ ดังนี้ -สาเหตุด้านภาษา ๑.ภาษาเขมรมีจานวนหน่วยเสียงใกล้เคียงภาษาไทย และมีเสียงคล้ายคลึงกัน ๒.ชาวไทยและเขมรมีความนิยมนับถือภาษาของกันและกัน ๓.ไทยรับคาราชาศัพท์เขมรมาใช้เนื่องจากการรับรูปแบบการปกครองเทวราชามาใช้ ๔.นักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้รู้ภาษาเขมร นาเอาภาษาเขมรมาสอดแทรกในคาจารึกและในคาประพันธ์ร้อยกรองร้อยแก้วเกี่ยวกับศาสนา และพิธีกรรม
  • 8. -สาเหตุด้านวัฒนธรรม ๑.ภิกษุศาสนาทางพระพุทธศาสนา ศึกษาอักษรขอมโบราณและถือว่าเป็นอักษรสาคัญและศักดิ์สิทธิ์ซึ่งใช้ในทางศาสนาและคาถาอาคม ๒.ไทยกับเขมรนิยมรับวัฒนธรรมด้านต่างๆกันมาเป็นระยะเวลานาน การสังเกตภาษาเขมรในภาษาไทย ภาษาเขมรมีปะปนในภาษาไทยประมาณ ๒ooo คา นับว่าเป็นรองภาษาบาลีและสันสกฤต ซึงเป็นภาษาทางศาสนา การสังเกตคา ภาษาเขมรในภาษาไทยเป็นเรื่องยากเนื่องจากเป็นภาษาคาโดดบางคามีตัวสะกดตามมาตราตัวสะกดแบบไทยเช่นเดียวกันและไทยนามาใช้ กลมกลืนไปกับภาษาไทยและแยกออกได้ยาก แต่มีข้อสังเกตได้บ้าง ดังนี้ ๑.สังเกตคา คือเป็นคาโดส่วนใหญ่ คาที่มีการเติมอุปสรรคเทียม เช่น แข=พระจันทร์ จุ=ทาให้ลง ๒.สังเกตตัวการันต์ ตัวสะกดการันต์ในภาษาเขมรจริงๆออกเสียงด้วย ต่างจากภาษาไทยซึ่งมักใช้ตัวสะกดตามมาตราตัวสะกดแต่ไม่ออก เสียง ไม่นิยมใช้ตัวสะกดมากกว่า ๑ ตัว เช่น จาเนียร=จาเณร์ เฉนียน=ฉเนร์ คาเขมรในภาษาไทยที่ใช้ ข ญ ส เป็นตัวสะกด เช่น เสด็จ ตรวจ สารบัญ สาคัญ หาญ เป็นต้น ๓.สังเกตการใช้วรรณยุกต์และเครื่องหมายอื่นๆ ภาษาเขมรไม่มีการใช้วรรณยุกต์ ดังนั้นจึงไม่มีรูปวรรณยุกต์ใช้ ส่วนเครื่องหมายอื่นๆมี บ้าง มักแตกต่างไปจากภาษาไทย ๔.สังเกตคาควบกล้า คาควบกล้าในภาษาเขมรไม่เหมือนในภาษาไทย ยกเว้นควบกล้าด้วย ร ล และ ว เช่น กระบือ=ควาย เขลา=โง่ ๕.สังเกตคาแผลง คาแผลงหรือคาแปลงรูปที่มีมากกว่า ๒ พยางค์ - ข เป็น กระ เช่น ขจาย-กระจาย ขจัด-กระจัด - ผ เป็น ประ เช่น ผจญ-ประจญ ผชุม-ประชุม ลักษณะภาษเขมร ภาษาเขมรเป็นภาษาที่มีลักษณะรูปลักษณะติดต่อในตระกูลภาษามอญ ลักษณะเด่นสาคัญที่ทาให้นักภาษากาหนดเป็นภาษาคาติดต่อ และการสร้างคา ส่วนประโยคและการเรียงลาดับคามีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาคาโดดและเมื่อเทียบกับภาษาไทยนับว่าเป็นลักษณะคล้ายคลึงกัน อย่างยิ่ง ลักษณะของคากับลักษณะของประโยคต่างกันจนไม่น่าจะเป็นภาษาที่มีรูปลักษณะอย่างเดียวกัน ประโยคภาษาเขมรประกอบด้วย คานามที่ทาหน้าที่ประธานกริยาและกรรมส่วนขยายนามและกริยาอยู่หลังคานามและกริยาที่ถูกขยายลักษณะคาส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียวและ สองพยางค์ คาหลายพยางค์มักเป็นคาผสม คาสองพยางค์ในภาษาเขมรมีอยู่พวกหนึ่งซึ่งสัมพันธ์กับคาพยางค์เดียวในด้านเสียงหรือรูปคา ความหมาย คาสองพยางค์เหล่านี้พิสูจน์ได้ว่าเป็นคาที่เปลี่ยนแปลงรูป มาจากคาพยางค์เดียวที่สัมพันธ์กันนั้นด้วยวีการเติมหน่วยหน้าศัพท์หรือ อุปสรรคและหน่วยกลางศัพท์ คาพยางค์เดียวนั้นเป็นหน่วยคามูลฐาน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปคา แต่ในปัจจุบันเขมรไม่ค่อยสร้างคาด้วย วิธีการเหล่านี้มากนักในด้านระบบเสียง ภาษาเขมรมีหน่วยเสียงพยัญชนะ และหน่วยเสียงสระเป็นหน่วยเสียงสาคัญ หน่วยเสียงพยัญชนะที่ ปรากฏในตาแหน่งพยัญชนะต้นเดี่ยว และพยัญชนะท้าย มีจานวนใกล้เคียงกับภาษาไทย มีหน่วยเสียงสระมากกว่าไทยเล็กน้อยแต่หน่วยเสียง พยัญชนะต้นมีมากกว่าภาษาไทยเป็นจานวนมาก ภาษาเขมรไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่ในภาษาเขมรมีทานองเสียง 5.) ภาษาญี่ปุ่น ภาษาญี่ปุ่น เข้าสู่ดินแดนสยามประเทศพร้อมกับการเข้ามาของคนญี่ปุ่นในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ โดยในปี พ.ศ.214 โชกุนอิเยยา สุ ได้มีสานส์นมาถวายสมเด็จพระเอกาทศรถพร้อมด้วยดาบญี่ปุ่น 10 เล่ม และเกราะ 3สารับ ญี่ปุ่นทูลขอปืนใหญ่กับไม้หอมของทางอยุธยา แลกเปลี่ยน จากนั้น ก็มีสารเสรีสาเภาสยาม ที่สามารถเข้าติดต่อค้าขายกับญี่ปุ่นได้อย่างเสรี จนกระทั่งสมัยสงครามโลกครั้งที่2 ตัวอย่างภาษาญี่ปุ่นในภาษาไทย เกอิซา (โสเภณี) คามิกาเซ (การต่อสู้แบบพลีชีวิต) เคนโด้ (การฟันดาบไม้) ซามูไร (นักดาบ) ซูโม่ (มวยปล้า) ฮาราคีรี (คว้านท้องฆ่าตัวตาย) ภาษาญี่ปุ่น มีความแตกต่างจากภาษาไทยโดยชัดเจน โดยสังเกตได้ง่ายๆว่า ภาษาญี่ปุ่น นิยมนามาใช้โดยการทับศัพท์ และมีหน่วยเสียงที่ ต่างกัน
  • 9. 6.) ภาษาชวา มลายู ภาษามลายูเป็นภาษาประจาของชาวมลายูบางภาค เมืองปาเลมบัง และเมืองยัมบี ซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางการปกครองอันรุ่งเรืองของ อาณาจักรศรีวิชัย สาเหตูของการนาคาภาษาชวา-มลายูมาใช้ในภาษาไทย ๑.ทางด้านภูมิศาสตร์ : ชวาเป็นเกาะที่ตั้งอยู่บริเวณชายแดนทางทิศใต้ของประเทศไทย ๒.ทางด้านประวัติศาสตร์ : ในสมัยสุโขทัย พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เคยขยายอาณาเขตลงไปทางตอนใต้ไปจนถึงบริเวณแถบแหลม มลายู จึงเป็นสาเหตุที่สาคัญที่ทาให้ชนชาติทั้งสองปะปนกันอยู่จนถึงปัจจุบัน และเมื่อเป็นเช้นนี้ประตูภาษาจึงเปิดรับกันและกันอย่างเต็มที่ ๓.ทางด้านศาสนา : ภาษาบาลีละสันสกฤต ภาษาอาหรับและเปอร์เซียเข้ามาปรอญู่จานวนมากในภาษชวา-มลายูด้วยเหตุทางด้านศาสนา ภาษาดังกล่าวได้ผ่านเข้ามาสู่ภาษาไทยโดยไม่รู้สึกตัว ๔.ทางด้านวัฒนธรรมประเพณีและวรรณคดี : แทนที่ประเทศไทยจะรับจากประเทศอินเดียโดยทางตรง แต่กลับรับมาจากอินเดียตอนใต้ ละผ่านมาทางชวา-มลายู เช่น เรื่องรามเกียรติ์ วรรณคดีบางเรื่องก็เป็นของชวา-มลายูเอง เช่น เรื่องอิเหนา เป็นต้น ประเพณีอีกมากมายหลายๆ ด้าน ไทยก็ได้รับเข้ามาจาก ชวา-มาลายู เช่น การมหรสพบางชนิด อาหารบางอย่าง เป็นต้น ลักษณะของภาษาชวามลายู ภาษาชวามลายูจัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเนเซียน หรือตระกูลมลาโยโพลีนีเซีย ใช้เป็นภาษาประจาชาติของอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งแต่ เดิมเคยมีอาราเขตกว้างขวางไปทั่วหมู่เกาะมลายูขึ้นมาจนถึงแหลมมลายู จันถึงเมืองไชยา ภาษามลายูจึงใช้กันอย่างกว้างขวาง -ภาษาชวามลายูออกเสียงอักษรสูงไม่ได้ จึงต้องลดคาอักษรสูงให้เป็นเสียงต่า เช่น เสื้อสีขาว ออกเสียงว่า เซือซีคาว -คาส่วนมากเป็นคา ๒ พยางค์ แต่คาพยางค์เดียวหรือคาหลายพยางค์ก็มีบ้าแต่เป็นคาที่รับมาจากภาษาอื่นๆ ตัวอักษรเดิมใช้อักษรยาวี คือ อักษร อาหรับ แต่ในปัจจุบันใช้อักษรรูมี อักษรโรมัน คาศัพท์ใหม่ๆมลายูรับมากจากภาษาอังกฤษ เช่น หนังสือ เรียก บู-กู มาจาก book ลักษณะการรับคาชวามลายูเข้ามาใช้ในภาษาไทย ๑.คาทับศัพท์ : ส่วนใหญ่ระดับเสียงมักใกล้เคียงกัน ต่บางคาก็อาจจะมีระดับเสียงที่แตกต่างไปจากคาเดิมในภาษาชวามลายูบ้าง เช่น Kapak อ่านว่า กาปะ ไทยใช้ กะปะ เป็นชื่อของงูชนิดหนึ่ง หรือ Sepak อ่านว่า เซปะ ไทยใช้ เซปัก แปลว่า เตะ ๒.เปลี่ยนแปลงเสียง : เปลี่ยนแปลงให้ต่างจากคาเดิมโดยการเปลี่ยนแปลงสระของพยางค์ใดพยางค์หนึ่ง เช่น Nuri(นูรี)โนรา คือ นกแก้วขนแดง หรือ Suda(ซีดา)สีดา คือ ช้าง ๓.เปลี่ยนแปลงพยัญชนะ : เปลี่ยนแปลงพยัญชนะต้นพยางค์ใดพยางค์หนึ่งหรือทุกพยางค์ เช่น Bukit(บูเก็ต)ภูเก็ต เป็นจังหวัด หรือ เปลี่ยนพยัญชนะตัวสะกด Unta(อุนตา)อูฐ เป็นชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง ๔.ลากเข้าควบ : มีการเปลี่ยนแปลงคาชวามลายูบางคาที่ไทยรับเข้ามาใช้ให้มีเสียงพ้องกับคาไทย ซึ่งอาจมีความหมายพ้องกับคาเดิมด้วย เช่น Pelara(เปอะตารา)ปลาร้า ป็นชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ๕.ตัดพยางค์ให้คาสั้นลง : โดยวิธีการนาคาชวา มลายูบางคามารวบพยางค์หรือตัดพยางค์ เช่น Manggusta(มังคุสตา)มังคุด ป็นชื่อ ผลไม้ชนิดหนึ่ง ๖.แปลความจากคาชวา มลายู : คาชวามลายูบางคาที่ปรากฏในภาษาไทย อาจไม่ได้ปรากฏในรูปของคาเดิมโดยตรง แต่ได้มาจากการ แปลความในคาชวามลายูมาอีกทีหนึ่ง การรับคาเข้ามาโดยวิธีนี้ปรากฏใช้ในภาษาไทยอยู่น้อย เช่น Burong(บุหรง) Kayit(กุญิต) นกขมิ้น ๗.เปลี่ยนแปลงความหมาย : -ความหมายแคบเข้า เช่น Azab(อาซับ) อาการเจ็บโดยทั่วๆป ไทยใช้ อักเสบ พิษกาเริบสืบเนื่องจาก บาดแผล -ความหมายกว้างออก เช่น Bela(เบลา) การสละชีพโดยให้ภรรยาตายตามสามี ไทยใช้ แบหลาการฆ่าตัว ตายตามสามี -ความหมายย้ายที่ เช่น Rejam(เรอะยา) วิธีการทาโทษหรือทาร้ายโดยวิธีเขวี้ยงด้วยก้อนหินหรือกดศีรษะ ให้จมน้าหรือจมโคลน ไทยใช้ ระยา ชั่วช้าเลวทราม
  • 10. ตัวอย่างคาชวามลายู Budu อ่านว่า บูดู ไทยใช้ บูดู คาแปล น้าเคยที่ได้จากการหมักเกลือ Ganja อ่านว่า กันยา ไทยใช้ กัญชา คาแปล พันธุ์ไม้ล้มลุก สรรพคุณทาให้มันเมา Setol อ่านว่า เชอะโดน ไทยใช้ กระท้อน คาแปล ผลไม้ชนิดหนึ่ง 7.) ภาษามอญ มอญ (Mon) เป็นชนชาติที่เก่าแก่ชาติหนึ่งที่มีอารยธรรมอันรุ่งเรืองอยู่ในแหลมอินโดจีนในตระกูลออสโตรเอเชียติค ซึ่งเป้นเชื้อชาติของ กลุ่มภาษามอญเขมร จากหลักฐานพงศาวดารของชนชาติมอญกล่าวว่ามอญเป็นชนชาติที่เคยอาศัยอยู่ในอินเดีย ในปัจจุบันมอญเป็นชนกลุ่มน้อยใน ประเทศพม่าซึ่งอยู่กันหนาแน่นทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า บริเวณเมืองมะละแหม่งจนถึงเมืองเย้ อาณาจักรมอญเจริญรุ่งเรืองสูงสุดอยู่ บริเวณตอนกลางของประเทศไทยมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมในปัจจุบัน จารึกภาษาที่เก่าแก่ที่สุดคือจารึกที่พบที่วัดโพธิ์ร้าง จังหวัดนครปฐม เป็นจารึกที่เก่าประมาณพ.ศ.๑๑๔๓ อักษรที่เป็นจารึกเป็นอักษรปัลวะซึ่งเป็นอักษรอินเดียฝ่ายใต้ จารึกเก่าแก่อีกหลักคือ จารึกเสาแปดเหลี่ยม ที่ ศาลพระกาฬ จังหวัดลพบุรีประมาณพ.ศ.๑๓๑๔ในประเทศไทยถิ่นที่มีชาวมอญอาศัยอยู่เป็นจานวนมากคือปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรี สามโคก ปทุมธานี อาเภอสังขละบุรีจังหวัดกาญจนบุรีและยังกระจายยุอีกหลายจังหวัดแม้ว่ามอญจะไม่มีประเทศแต่ก็จัดว่าเป็นภาษาที่มีชีวิตเพราะยังมีคน มอญจานวนมากยังคงภาษาในชีวิตประจาวัน ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและมอญ ๑.ความสัมพันธ์ทางด้านพระพุทธศาสนา : ไทยนับถือพุทธสาสนานิกายหินยานตามแบบลังกาวงศ์มาจากมอญตั้งแต่สมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา แห่งกรุงศรีอยุธยา ซึ่งพระมหาเถระสาคัญคือพระมหาคันฉ่องเป็นผู้นาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ประชาชนชาวกรุงศรีอยุธยาทั่วไป ๒. ความสัมพันธ์ด้านอักษรศาสตร์ : ก่อนที่จะมีการประดิษฐ์ลายสือไทยในพ.ศ.๑๘๒๖ คนไทยได้ใช้อักษรมอญมาก่อนและชาวไทยคงจะได้ศึกษา ภาษามอญและนาตัวอักษรมอญมาดัดแปลงใช้เขียนภาษาไทยเพราะลักษณะอักษรอาหม ลื้อและอักษรภูไทยที่ใช้กันทุกวันนี้ล้วนเป็นลักษณะอักษร มอญเก่าทั้งสิ้น ลักษณะภาษามอญ ภาษามอญเป็นภาษาตระกูลมอญ-เขมร เป็นภาษาในสายโมนิค เมื่อพิจารณาลักษณะทางไวยากรณ์ภาษามอญจัดอยู่ในภาษาประเภท ภาษาคาโดยซึ่งรูปภาษาคาติดต่อ (agglutinative language)ปะปนอยู่ด้วย ภาษามอญมีลักษณะเป็นคาพยางค์เดียวหรือสองพยางค์หรือหลาย พยางค์ป็นคาที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ เช่นภาษาบาลีและสันสกฤต ภาษามอญเป็นภาษาที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีผันคานาม คากริยา โครงสร้างประโยคประกอบด้วยประธาน กริยา และกรรมส่วนขยายอยู่หลังคาที่ถูกขยาย ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษามอญ ลักษณะภาษามอญที่เหมือนภาษาไทย ๑ ลักษณะคา - คาในภาษาไทยและภาษามอญมักเป็นคาพยางค์เดียว - คานามไม่เปลี่ยนแปลงรูปเพื่อแสดงเพศ พจน์ การก แต่จะใช้คาอื่นมาประกอบเพื่อแสดงเพศ พจน์ กาล - คากริยา ไม่มีการเปลี่ยนรูป - คาบางคามีความหมายหลายอย่างและทาหน้าที่ในประโยคได้หลายอย่าง - มีการใช้คาลักษณะนาม - มีการใช้คาแบบคาประสม - มีการใช้คาซ้อนและคาซ้า - มีการยืมคามาจากภาษาต่างประเทศต่างๆ เช่น ภาษาบาลี สันสกฤต มลายู เป็นต้น ๒ ลักษณะประโยค - โครงสร้างประโยคเรียงแบบประธาน กริยา กรรม - คาขยายวางข้างคาที่ถูกขยาย ลักษณะภาษามอญที่แตกต่างจากภาษาไทย ๑.ภาษามอญมีลักษณะเป็นภาษาคาติดต่อ มีการเติมคานาหน้าคาละกลางคาทาให้เป็นคาที่มีพยางค์มากขึ้น เปลี่ยนหน้าที่และความหมาย ๒.ภาษามอญมีพยัญชนะ ๓๕ตัว มีสระ๒๔ ตัวแบ่งเป็นสระลอย๑๒ ตัวและสระจม๑๒ตัวไม่มีรูปวรรณยุกต์ แต่ภาษาไทยมีพยัญชนะ ๔๔ตัว (๒๑
  • 11. เสียง) เสียงสระ ๒๑เสียงมีรูปวรณยุกต์ ๔รูป ๕เสียง ๓.หน่วยเสียงพยัญชนะแตกต่างจากภาษาไทยดังนี้ เช่นพยัญชนะไทย ต ในภาษามอญใช้ ฑ ในภาษาไทยใช้ ศ ษ ส ภาษามอญมีพยัญชนะ ส เป็น ต้น ๔.ภาษามอญกาหนดเสียงสระและความหมายของคาจากพยัญชนะอโฆษะและโฆษ ส่วนในภาษาไทยกาหนดเสียงของคาและความหมายจากเสียง วรรณยุกต์ การรับคาภาษามอญเข้ามาใช้ในภาษาไทย ๑.ใช้เป็นคาธรรมดาในเรื่องต่างๆในชีวิตประจาวันทั่วไป สามารถแบ่งหมวดหมู่ได้ดังนี้ ๑.๑ภูมิประเทศ เช่น เกาะ คลอง วัง หาด อ่าว ๑.๒บ้านเมือง เช่น ซอก ตรอก ซอย ร้าน โรง สะพาน ๑.๓บ้านเรือน เข่น กระท่อม หน้าต่าง ๑.๔ครอบครัว-ญาติ เช่น แม่ ม่าย สะใภ้ ยาย ย่า ๑.๕ร่างกาย เช่น เท้า ขา พุง ๑.๖โรค เช่น ป้าง (ไข้) แผล จาม ๑.๗ยานพาหนะ-เครื่องผ่อนแรง เช่น เกวียน กาปั้น สาปั้น(เรือ) รอก ๑.๘เครื่องดนตรี เช่น จระเข้ ปี่ เปิงมาง โหม่ง ฉาบ ๑.๙ของมีค่า เช่น ทอง พลอย ๑.๑๐อาวุธ เช่น ทวน แสง ๑.๑๑อาหาร เช่น ขนมจีน ขนมต้ม บัวลอย ข้าวหลาม อาจาด ๑.๑๒อุปกรณ์และเครื่องใช้ต่างๆ เช่น กระทะ กรรไกร โคม ชิงช้า ๑.๑๓ความเชื่อ เช่น คนทรง ผีพราย ๑.๑๔การลงโทษ เช่น จองจา คุก ตะราง ๑.๑๕สัตว์ต่างๆ เช่น กระต่าย ค่าง จักจั่น จิ้งจก จิ้งหรีด ตะกวด ๑.๑๖นกและสัตว์ปีก เช่น กระเรียน กระตุง กาเหว่า พิราบ ห่าน ๑.๑๗ปลา เช่น ปลากระดี่ ปลากระดัก ปลากะพง ๑.๑๘พืชผักและผลไม้ เช่น กระเจี๊ยบ กระวาน กลอย พลู ตะดก ๑.๑๙ผลไม้ เช่น ทุเรียน มะกอก มะกรูด มะขวิด มะนาว มังคุด สมอ ๒.ใช้เป็นคาซ้อนและ คาประสม ในภาษาไทย ดังนี้ - คาซ้อน เช่น แก่เฒ่า (เฒ่า+แก่) ตรอกซอก (ซอก ทางเดิน) ฝาละมี (ละมี = ฝาปิดหม้อดิน) เรื่องราว (ราว = เรื่อง) ผุยผง ( ผง ผงละเอียด) หนทาง (หน = ทาง) - คาประสม เช่น ดินสอพอง (พอง = ผง) ถึงคราว (ครา = เวลา อายุ) แมลงปอ ( ปอ = บิน) แม่ครัว (ครัว = ผู้ปรุงอาหาร) เป็นต้น ๓.ใช้ในราชาศัพท์ สานวน โวหาร และวรรรคดีไทย -ราชาศัพท์ เช่น ตาหนัก พระแสง วัง หมอบ ท้าว พญา - สานวน เช่น ติเรือทั้งโกลน (โกลน = ทา) ตายทั้งกลม (กลม = มดลูก) -วรรณกรรม เช่น ขุนช้างขุนแผน “จักจั่นเจื้อยร้องริมสองใน เสียงเรไรหริ่งหริ่งที่กิ่งรัง” 8.) ภาษาอาหรับ ภาษาอาหรับแต่เดิมเรียกว่าภาษาอารยัน จัดอยู่ในตระกูลอินเดียยุโยป(Indo-European) เช่นเดียวกับภาษาบาลีและสันสกฤต ชนชาติ อาหรับนับเป็นชนชาติที่เก่าแก่มากชาติหนึ่งที่ติดต่อกับประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการค้าและการพาณิชย์ ซึ่งทั้งสองชาติได้ติดต่อ ค้าขายกันมาโดยตลอด และทางภาคใต้ของประเทศไทยประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮิสลามจึงทาให้ภาษาอาหรับเข้ามามีอิทธิพลในภาษาไทย พอสมควรและปรากฏคาภาษาอาหรับใช้ในภาษาไทย เช่น คาภาษาอาหรับ อ่านว่า ภาษาไทยใช้ว่า Khelasi Afyun Rakum Kalayi เกาะลาซี อัฟยูน เราะกัม กัลอี กลาสี ฝิ่น ระกาไหเป็นการวาดลวดลายบนผ้า กะไหล่ชุบโลหะ
  • 12. 9.) ภาษาโปรตุเกส ชาวโปรตุเกสได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเพื่อการค้าขาย ทาให้มีการแลกเปลี่ยนภาษา แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม มีสาเหตุการนาคา ภาษาโปรตุเกสเข้ามาใช้ในภาษาไทยดังนี้ 1.ความสัมพัทธ์ทางการค้า : โปรตุเกสมีการตงลงทาสัญญาสัมพันธไมตรีกับไทย ทาให้ชายโปรตุเกสได้รับสิทธิพิเศษในการค้าขายทาง การค้าในสมัย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 2.ความสัมพันธ์ทางการทหารและการปกครอง : ในการทาสงคราม ไทยได้รับการสนับสนุนจากโปรตุเกสหลายๆอย่าง เช่น ได้กองกาลัง ทหารอาสาชาวโปรตุเกสมาช่วย 3.ความสัมพันธ์ด้านภาษา : ชาวโปรตุเกสที่อยู่ในไทย ได้ใช้ภาษาโปรตุเกสเพื่อเผยแพร่คริสต์ศาสนา มีการสร้างวัดของชาวโปรตุเกสใน ชุมชนอีกด้วย 4.ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ : ไทยได้รับวัฒนธรรมจากโปรตุเกส ทางด้านอาหารและเครื่องแต่งกาย เช่น เครื่องแบบต่างๆที่แต่งตามศักดิ์ในสมัยโบราณของเจ้านายและทหาร ลักษณะของภาษาโปรตุเกส ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาที่จัดอยู่ในตระกูล อินโด ยูโรเปียน ( Indo – European ) จัดเป็นภาษาที่มีวิภัติปัจจัย ตัวอย่างคา เช่น Pinto = ปิ่นโต ( ภาชนะที่ซ้อนเป็นชั้น มีหูหิ้ว ) Pending = ปั้นเหน่ง ( เข็มขัด ) Ela = หลา ( มาตราวัด ) Leilao = เลหลัง ( ขายทอดตลาด ) 10.) ภาษาฝรั่งเศส ฝรั่งเศสเข้ามามีสัมพันธไมตรีกับไทยในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตรงกับ พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ความสัมพันธ์ของ ไทยและฝรั่งเศสมีลักษณะ ดังนี้ 1.ความสัมพันธ์ทางศาสนา : บาทหลวงชาวฝรั่งเศสได้มาขอพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจดตั้ง โรงเรียนสอน วิชาแผนใหม่ของชาวยุโรปขึ้นในกรุงศรีอยุธยาเปิดโรงพยาบาลรักษาคนป่วยโดยไม่คิดเงิน ทาให้มีภาษาฝรั่งเศสเข้ามาปนในภาษาไทย 2.ความสัมพันธ์ทางการทูต : พ.ศ.2228 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้แต่งตั้งราชทูตของฝรั่ง เพื่อไปทาสัญญาทางการค้าและเผยแพร่ศาสนา ในขณะเดียวกัน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้แต่งตั้งคณะราชทูตเดินทางไปฝรั่งเศส เมื่อราชทูตเดินทางกลับ ได้มีคณะทูตจากฝรั่งเศสชุดที่ 2 เดินทางมาที่กรุงศรีอยุธยาด้วย 3.ความสัมพันธ์ทางการค้า : ความสัมพันธ์ทางการค้าดาเนินด้วยดีตลอดมา มีสินค้าของฝรั่งเศสเข้ามาในประเทศไทยอย่างหลากหลาย เป็นผลทาให้ คาฝรั่งเศสที่คุ้นหู มีการนาคาทับศัพท์มาใช้ในภาษาไทยมากตามไปด้วย 4.ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและวิชาการต่างๆ : บาทหลวงฝรั่งเศสที่เข้ามาอยู่ในกรุงศรีอยุธยามีการตั้งโรงเรียนให้บุตรของ ข้าราชการได้รับการศึกษา บาทหลวงฝรั่งเศสได้ริเริ่มการสอนฝรั่งเศส ไทยได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการต่างๆ มีอาจารย์ชาวฝรั่งเศสมาสอน และในปัจจุบันก็มีการเรียนการสอนวิชาฝรั่งเศส ทาให้ภาษาฝรั่งเศสได้รีบความนิยมในไทย 5.ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม : สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระราชนิยมแบบฝรั่งเทศ และทรงพยายามปรับปรุงขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทยให้ทันสมัยยิ่งขึ้น โดยเฉพาะคาศัพท์ทางวัฒนธรรม ลักษณะภาษาฝรั่งเศส ภาษาฝรั่งเศส มีการเปลี่ยนแปลงคาตามเพศ ส่วนพจน์นั้นจะแบ่งออกเป็นเอกพจน์และพหูพจน์ ลักษณะโครงสร้างของภาษาจะคล้ายคลึง กับภาษาไทย ตัวอย่างคาฝรั่งเศสในภาษาไทย Biere = เบียร์ Casino = คาสิโน ( บ่อนการพนัน ) Queue = คิว ( ลาดับการเข้าแถว ) Coupon = คูปอง ( ตั๋ว บัตร )
  • 13. วิธีการใช้ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 1. การทับศัพท์ : ออกเสียงตามเดิม ใกล้เคียงคาเดิม และปรับให้เข้ากับภาษาไทยมากที่สุด เช่น กัปตัน(Captain) กงสุล(Consul) 2. การลากเข้าความ : รับเข้ามาโดยหาเสียง หรือคาที่คุ้นหู ยกเลิกในรัชกาลที่5 เช่น อยู่ในฟอร์ม(Uniform) ข้าวเฝ่(Cafe) 3. การแปลงศัพท์ : โดยการตัดเสียง(Double-เบิ้ล) เพิ่มเสียง(Kamro-กามะลอ) แปลงเสียงสระ พยัญชนะหรือวรรณยุกต์(Sign-เซ็น) 4. การแปลงความหมาย : ทาให้ความหมายย้ายที่ กว้างออก และแคบลง 5. การแปลศัพท์ : แปลโดยใช้ภาษาบาลี-สันสกฤตมาสมาส-สนธิ เช่น Television เป็น โทรทัศน์ (โทร+ทัศน์) 6. การบัญญัติศัพท์ : ศัพท์บัญญัติ เกิดมาจากความเจริญทางด้านศิลปะวิทยาการของโลก ซึ่งมีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ในช่วงแรกใช้ภาษาไทย แท้เช่น Airplane-เครื่องบิน ต่อมาเมื่อมีคาไม่พอจึงยืมคาจากภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น Morals-ศีลธรรม