SlideShare a Scribd company logo
ครูสมศรีผลิตสื่อการสอน ตามแนวคิดประสบการณ์ของ ตนเอง เมื่ออยากมีรูปภาพ 
ประกอบก็นารูปมาใส่อยากให้ ข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาใส่แทน การบอกจากครูและมีการ 
ใช้ กราฟฟิกเพื่อดึงดูดความสนใจซึ่งการทา เช่นนี้สิ่งที่ได้ ก็ไม่ต่างจากหนังสือเรียน และ 
การสอนจึงยังเป็นการ สอนแบบเน้นการท่องจาอยู่ ผลที่ได้จึงไม่ตรงตามประสงค์ และยัง 
ไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ ฝึกคิด แก้ปัญหาและศึกษา ด้วยตนเอง จากสาเหตุที่ทา ให้นักเรียน 
ไม่สนใจสื่อการสอนของครูสมศรีเพราะจากการใช้สื่อและใช้ภาพต่างๆเข้ามาในการสอน 
ครูสมศรีควรคิดไอเดียใหม่ๆที่น่าสนใจโดยไม่ซ้า จา เจ จนเด็กอาจเบื่อการเรียนแบบเดิมๆ 
หรือการสอนไม่น่าสนใจ ควรมีการออกแบบและพัฒนาการสอนให้ทันสมัยและน่าสนใจ 
ในรูปแบบต่างๆเพิ่มมากขึ้น
วิเควิราะเคราะห์ว่าห์แนว่าวแนคิดวเกี่คิดยเกี่วกัยบวกัแนบวแนคิดวในคิดกาในรกาออรกอแบอกบแบกาบรกาสอรน สอและน และสื่อกาสื่อรกาสอรน สอว่าน 
มา 
จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร 
ว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
1.กลุ่มพฤติกรรมนิยม (behaviorism)่่ แนวคิด ผู้เรียนเป็นผู้รอรับสิ่งเร้าครูเป็นบริหาร 
จัดการสิ่งเร้าและสร้าง สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนดูดซับการเรียนรู้ ครูสมศรีเป็นเสมือนผู้บริหารจัดการ 
สิ่งเร้า เพราะ ครูสมศรีเป็นผู้จดทา ั่ สื่อการสอน ส่วนนักเรียนก็รอรับสิ่งเร้า 
2. กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (cognitivism) แนวคิด ผู้เรียนรับสารสนเทศแล้วนา ความรู้ที่เน้น 
ปริมาณและคุณภาพ ถ่ายทอดความรู้เดิมไปเป็นความรู้ใหม่ ส่วนครู เป็นผู้นาเสนอสารสนเทศ และ 
สร้าง สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนรับข้อมูลได้มากที่สุด 
ครูสมศรีเป็นผู้นา ข้อมูลสารสนเทศโดยผ่านทางเนื้อหาในสื่อ และมีการสร้างสิ่งแวดล้อมทางการ 
เรียนรู้โดยการใช้รูปภาพประกอบ และกราฟฟิกเพื่อดึงดูดความสนใจผู้เรียน แต่แนวคิดนี้ผู้เรียนไม่ได้ 
นา ความรู้ไปคิดวิเคราะห์ไปสู่ความรู้ใหม่ นักเรียนของครูสมศรีจึงไม่ได้ผล ตามที่ครูสมศรีต้องการ
3.กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์แนวคิด ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง ส่วนครูเป็นผู้แนะนา 
และ สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ จากการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ครูสมศรียังไม่ค่อยทา 
ให้ นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง เพราะ สื่อที่ใช้ ยังค่อนข้างจะเป็น การสอนแบบท่องจา 
อยู่ ความสัมพันธ์ จากแนวคิดดังกล่าว นัก ออกแบบการเรียนรู้ต้องเข้าใจใน ทฤษฏีและแนวคิด 
อย่างลึกซึ้งเพื่อ นาทั้งสามทฤษฏีมาประยุกต์ และ ให้สอดคล้องกับการจัด กระบวนการเรียนรู้ 
และสอดคล้อง กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็นและศึกษา ความรู้ด้วย 
ตัวเองได้
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ 
ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนัน้ควรอยู่พืน้ฐานของ 
สิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
สาหรับการออกแบบการสอนและสื่อ การสอนใน ปัจจุบันควรใช้หลักคอนสตรัคติ 
วิสต์ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การ ออกแบบรูปแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
นั้นจะทาให้เด็กได้รู้จักการแก้ปัญหา สามารถคิดแบบองค์รวมได้ และ ผู้เรียนจะ เป็นผู้สร้าง 
ความรู้เอง โดยการสังเกต หรือ ลงมือกระทา โดยมีหลักพื้นฐานในการออกแบบ การสอน 
ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ คือ 
1.การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) โดย ผู้เรียนจะเป็น ผู้สร้าง 
ความรู้เอง จากประสบการณ์ต่างๆ หรือจากความรู้เดิม
2. การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทา (Learning active) ผู้เรียน จะต้องได้ลงมือ 
ปฏิบัติด้วยตนเอง เช่น การทดลอง หรือการสังเกตุ 
3. การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) ผู้เรียน ีี ต้องได้มี 
แลกเปลี่ยนความคิดที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาความคิดของ ตนเอง เช่น การทางานเป็นกลุ่ม 
4.การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) การ เรียนรู้ต้องเกิดขึน้ในสภาพจริง 
หรือต้องเหมาะสมกับบริบทของ สภาพจริง เพื่อเชื่อมโยงความรู้ ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 
เช่น การไปทัศน ศึกษาตามสถานที่ ต่างๆ
5. การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) ต้อง 
คานึงว่าผู้เรียนแต่ละคน มี ประสบการณ์หรือความเชื่อที่แตกต่างกัน

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
arisara
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
Kanatip Sriwarom
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
Thamonwan Kottapan
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาa35974185
 
งานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัว
งานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัวงานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัว
งานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัว
Aloner Coke
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาTurdsak Najumpa
 

What's hot (13)

กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
 
Suri2
Suri2Suri2
Suri2
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
งานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัว
งานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัวงานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัว
งานชิ้นที่ 1 ประวัติส่วนตัว
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4Pui Chanisa Itkeat
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3Ann Pawinee
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
Setthawut Ruangbun
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Alice Misty
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3FerNews
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3beta_t
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
B'nust Thaporn
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3Bee Bie
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 
Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Anna Wongpattanakit
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
Dexdum Ch
 
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
Suparat Boonkum
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา (20)

คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 group
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
 
No3
No3No3
No3
 

More from BLue Artittaya

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
BLue Artittaya
 
หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก
BLue Artittaya
 
สื่อการเรียนรู้1
สื่อการเรียนรู้1สื่อการเรียนรู้1
สื่อการเรียนรู้1
BLue Artittaya
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
BLue Artittaya
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
BLue Artittaya
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1
BLue Artittaya
 

More from BLue Artittaya (6)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก
 
สื่อการเรียนรู้1
สื่อการเรียนรู้1สื่อการเรียนรู้1
สื่อการเรียนรู้1
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา1
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

  • 1.
  • 2. ครูสมศรีผลิตสื่อการสอน ตามแนวคิดประสบการณ์ของ ตนเอง เมื่ออยากมีรูปภาพ ประกอบก็นารูปมาใส่อยากให้ ข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาใส่แทน การบอกจากครูและมีการ ใช้ กราฟฟิกเพื่อดึงดูดความสนใจซึ่งการทา เช่นนี้สิ่งที่ได้ ก็ไม่ต่างจากหนังสือเรียน และ การสอนจึงยังเป็นการ สอนแบบเน้นการท่องจาอยู่ ผลที่ได้จึงไม่ตรงตามประสงค์ และยัง ไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ ฝึกคิด แก้ปัญหาและศึกษา ด้วยตนเอง จากสาเหตุที่ทา ให้นักเรียน ไม่สนใจสื่อการสอนของครูสมศรีเพราะจากการใช้สื่อและใช้ภาพต่างๆเข้ามาในการสอน ครูสมศรีควรคิดไอเดียใหม่ๆที่น่าสนใจโดยไม่ซ้า จา เจ จนเด็กอาจเบื่อการเรียนแบบเดิมๆ หรือการสอนไม่น่าสนใจ ควรมีการออกแบบและพัฒนาการสอนให้ทันสมัยและน่าสนใจ ในรูปแบบต่างๆเพิ่มมากขึ้น
  • 3. วิเควิราะเคราะห์ว่าห์แนว่าวแนคิดวเกี่คิดยเกี่วกัยบวกัแนบวแนคิดวในคิดกาในรกาออรกอแบอกบแบกาบรกาสอรน สอและน และสื่อกาสื่อรกาสอรน สอว่าน มา จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
  • 4. 1.กลุ่มพฤติกรรมนิยม (behaviorism)่่ แนวคิด ผู้เรียนเป็นผู้รอรับสิ่งเร้าครูเป็นบริหาร จัดการสิ่งเร้าและสร้าง สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนดูดซับการเรียนรู้ ครูสมศรีเป็นเสมือนผู้บริหารจัดการ สิ่งเร้า เพราะ ครูสมศรีเป็นผู้จดทา ั่ สื่อการสอน ส่วนนักเรียนก็รอรับสิ่งเร้า 2. กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (cognitivism) แนวคิด ผู้เรียนรับสารสนเทศแล้วนา ความรู้ที่เน้น ปริมาณและคุณภาพ ถ่ายทอดความรู้เดิมไปเป็นความรู้ใหม่ ส่วนครู เป็นผู้นาเสนอสารสนเทศ และ สร้าง สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนรับข้อมูลได้มากที่สุด ครูสมศรีเป็นผู้นา ข้อมูลสารสนเทศโดยผ่านทางเนื้อหาในสื่อ และมีการสร้างสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้โดยการใช้รูปภาพประกอบ และกราฟฟิกเพื่อดึงดูดความสนใจผู้เรียน แต่แนวคิดนี้ผู้เรียนไม่ได้ นา ความรู้ไปคิดวิเคราะห์ไปสู่ความรู้ใหม่ นักเรียนของครูสมศรีจึงไม่ได้ผล ตามที่ครูสมศรีต้องการ
  • 5. 3.กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์แนวคิด ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง ส่วนครูเป็นผู้แนะนา และ สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ จากการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ครูสมศรียังไม่ค่อยทา ให้ นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง เพราะ สื่อที่ใช้ ยังค่อนข้างจะเป็น การสอนแบบท่องจา อยู่ ความสัมพันธ์ จากแนวคิดดังกล่าว นัก ออกแบบการเรียนรู้ต้องเข้าใจใน ทฤษฏีและแนวคิด อย่างลึกซึ้งเพื่อ นาทั้งสามทฤษฏีมาประยุกต์ และ ให้สอดคล้องกับการจัด กระบวนการเรียนรู้ และสอดคล้อง กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็นและศึกษา ความรู้ด้วย ตัวเองได้
  • 6. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนัน้ควรอยู่พืน้ฐานของ สิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 7. สาหรับการออกแบบการสอนและสื่อ การสอนใน ปัจจุบันควรใช้หลักคอนสตรัคติ วิสต์ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การ ออกแบบรูปแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ นั้นจะทาให้เด็กได้รู้จักการแก้ปัญหา สามารถคิดแบบองค์รวมได้ และ ผู้เรียนจะ เป็นผู้สร้าง ความรู้เอง โดยการสังเกต หรือ ลงมือกระทา โดยมีหลักพื้นฐานในการออกแบบ การสอน ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ คือ 1.การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) โดย ผู้เรียนจะเป็น ผู้สร้าง ความรู้เอง จากประสบการณ์ต่างๆ หรือจากความรู้เดิม
  • 8. 2. การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทา (Learning active) ผู้เรียน จะต้องได้ลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเอง เช่น การทดลอง หรือการสังเกตุ 3. การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) ผู้เรียน ีี ต้องได้มี แลกเปลี่ยนความคิดที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาความคิดของ ตนเอง เช่น การทางานเป็นกลุ่ม 4.การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) การ เรียนรู้ต้องเกิดขึน้ในสภาพจริง หรือต้องเหมาะสมกับบริบทของ สภาพจริง เพื่อเชื่อมโยงความรู้ ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การไปทัศน ศึกษาตามสถานที่ ต่างๆ
  • 9. 5. การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) ต้อง คานึงว่าผู้เรียนแต่ละคน มี ประสบการณ์หรือความเชื่อที่แตกต่างกัน