SlideShare a Scribd company logo
1
รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
2
เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยความเร่งคงตัว โดยให้วัตถุเริ่มต้น
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้น u ที่เวลาเริ่มต้น t=0 หลังจากนั้นเวลาผ่านไป t วัตถุมี
ความเร็ว v เราสามารถหาความเร่งได้จากอัตราเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา
ดังสมการ
หรือเราจะได้สมการการเคลื่อนที่ใหม่ ดังนี้
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
t
uv
a


)1....(atuv 
3
เมื่อสมการที่ 1 เป็นสมการสาหรับคานวณหาความเร็วขณะหนึ่งเมื่อกาหนด
ความเร็วต้นและความเร่งคงตัวมาให้
สาหรับการคานวณหาขนาดของการกระจัด s ที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา
t เมื่อกาหนดขนาดความเร็วต้น u และขนาดของความเร่งคงตัว a ให้ จะหาได้ดังนี้
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
)2....(
2
)( tvu
s


4
จากสมการที่ (1) เราสามารถแทนค่าสมการที่ (2) จะได้สมการเพิ่มเติมอีก
ดังนี้
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
)3....(
2
1 2
atuts 
)4....(222
asuv 
5
จากสมการต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง s, u, v, a และ t มีข้อควรสังเกต
ดังนี้
u เป็นความเร็วต้นที่เวลา t = 0 u อาจมีค่าเท่ากับศูนย์หรือไม่ก็ได้ ขึ้นกับ
การกาหนดสถานการณ์
t เป็นช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ โดยกาหนดเวลาเริ่มต้น t = 0
s เป็นการกระจัดในช่วงเวลา t
v เป็นความเร็วสุดท้าย ณ เวลา t
a เป็นความเร่ง มีค่าคงตัว
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
6
ข้อสังเกต
ทั้ง u, v, s และ a ในสมการการเคลื่อนที่เป็นปริมาณเวกเตอร์ เราจึงใช้
เครื่องหมายบวกและลบ แสดงทิศทางของปริมาณเหล่านี้ได้ สาหรับการเคลื่อนที่
ในแนวตรงเท่านั้น ถ้ากาหนดให้ทิศทางหนึ่งมีเครื่องหมายบวก ทิศทางที่ตรงข้าม
กันจะมีเครื่องหมายลบ กรณีวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง เรากาหนดให้ปริมาณที่มี
ทิศทางขึ้นมีเครื่องหมายเป็นบวก และปริมาณที่มีทิศทางลงเป็นลบ ส่วนค่า
ความเร่ง a หรือ ค่า g นั้น มีทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่จึงมีเครื่องหมาย
เป็นลบ
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
7
ตัวอย่าง 1 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวตรงโดยมีความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที
ต่อมาคนขับได้เร่งเครื่องยนต์ทาให้รถยนต์มีความเร่ง 3 เมตรต่อวินาที2 เป็นเวลา
5 วินาที จงหาความเร็วที่สิ้นสุดเวลา 5 วินาที
วิธีทา เราสามารถคานวณหาความเร็วปลาย v ได้จากสมการที่ 1 ดังนี้
แทนค่า
ตอบ ความเร็วสิ้นสุดวินาทีที่ 5 เท่ากับ 35 เมตรต่อวินาที
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
.atuv 
1520)53(20 v
m/s35v
8
ตัวอย่าง 2 ถ้าโยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที จงหาว่าเมื่อ
เวลาผ่านไป 1 และ 2 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเป็นเท่าใด
กาหนดให้ค่า g = 9.8 เมตรต่อวินาที2
วิธีทา เราสามารถคานวณหาความเร็วปลาย v
ได้จากสมการที่ 1 ดังนี้
(1) ความเร็วเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 1
แทนค่า
ตอบ ความเร็วสิ้นสุดวินาทีที่ 1 เท่ากับ 0.2 เมตรต่อวินาที
และการเคลื่อนที่มีทิศทางขึ้น
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
.atuv 
)8.9(01)18.9(10 v
m/s2.0v
9
ตัวอย่าง 2 (ต่อ)
วิธีทา (1) ความเร็วเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 2
แทนค่า
ตอบ ความเร็วสิ้นสุดวินาทีที่ 1 เท่ากับ –9.6 เมตรต่อวินาที
และการเคลื่อนที่มีทิศทางลง
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
)6.19(01)28.9(10 v
m/s9.6v
10
ตัวอย่าง 3 ถ้าโยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงหาว่าวัตถุ
จะขึ้นไปได้สูงที่สุดกี่เมตร
วิธีทา เราสามารถคานวณหาการกระจัด ได้โดยก้อนหินเคลื่อนที่
ขึ้นไปสูงสุด ความเร็วปลายมีค่าเป็นศูนย์ (v = 0)
ได้จากสมการที่ 4 ดังนี้
แทนค่า
ตอบ ก้อนหินขึ้นไปได้สูงสุด 20.4 เมตร
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
m4.20s
)4....(222
asuv 
))8.9(2()20()0( 22
s
)6.19(4000 s
6.19
400


s
11
ตัวอย่าง 4 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากสภาพอยู่นิ่งไปตามถนนตรงด้วยขนาด
ความเร่งคงตัวเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาที2 ในช่วงเวลา 6 วินาที แล้วเคลื่อนที่ต่อไป
ด้วยอัตราเร็วคงตัวเป็นเวลา 30 วินาที ผู้ขับจึงห้ามล้อทาให้รถยนต์เคลื่อนที่ต่อไป
ด้วยอัตราเร็วลดลงแล้วหยุดในเวลา 5 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดเคลื่อนที่ได้
วิธีทา แนวทางการเคลื่อนที่แบ่ง 3 ช่วง พิจารณาได้ดังนี้
หาระยะทางในช่วงที่ 1 รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัวเท่ากับ 2 เมตรต่อ
วินาที2 ในช่วงเวลา 6 วินาที นั่นคือ หา S1
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
ช่วงที่ 1
6s
ช่วงที่ 2
30s
ช่วงที่ 2
5s
s1 s2 s3
12
ตัวอย่าง 4 (ต่อ)
หาระยะทางได้สูตร (3)
แทนค่า
ตอบ ก้อนหินขึ้นไปได้สูงสุด 20.4 เมตร
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
)3....(
2
1 2
atuts 
))6(2
2
1
()60( 2
1 s
))36(2
2
1
()60(1 s
0
m361 s
13
ตัวอย่าง 4 (ต่อ)
หาระยะทางในช่วงที่ 2 รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัวเท่ากับ 12 เมตรต่อวินาที
เป็นเวลา 30 วินาที นั่นคือ หา S2 ได้สูตร
แทนค่า
หาระยะทางในช่วงที่ 3 รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วลดลงเป็นเวลา 5 วินาที จนหยุด
นิ่ง นั่นคือ v = 0 เพราะฉะนั้น คือ หา S3 ได้สูตร (2)
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
30122 s
vts 
m3602 s
)2....(
2
)( tvu
s


14
ตัวอย่าง 4 (ต่อ)
แทนค่า
ดังนั้นระยะทางทั้งหมดที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้มีค่า S = S1 + S2 +S3
แทนค่า S = 36+ 360+ 30 = 426 เมตร
ตอบ รถยนต์เคลื่อนที่ได้ระยะทางทั้งหมด 426 เมตร
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
5
2
)012(
3 

s
563 s
m30s3 
เอกสารอ้างอิง
15
นิรันดร์ สุวรัตน์. คู่มือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 - ม.6. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา , 2553.
พูลศักดิ์ อินทวี และจานง ฉายเชิด. หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน
ม.4 - ม.6 ช่วงชั้นที่ 4. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2550.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชา
เพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26

More Related Content

What's hot

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
benjamars nutprasat
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
Thepsatri Rajabhat University
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
Thepsatri Rajabhat University
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
Thepsatri Rajabhat University
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
wiriya kosit
 

What's hot (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Similar to สมการการเคลื่อนที่แนวตรง

การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
Thepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
kungten555
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsNittaya Mitpothong
 
ฟิสิกซ์
ฟิสิกซ์ฟิสิกซ์
ฟิสิกซ์kchwjrak
 
ฟิสิก
ฟิสิกฟิสิก
ฟิสิก
shanesha
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
Tutor Ferry
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
SunanthaIamprasert
 
ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ฟิสิกส์
ฟิสิกส์crazygno
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)Worrachet Boonyong
 

Similar to สมการการเคลื่อนที่แนวตรง (19)

การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
 
08 phi2554
08 phi255408 phi2554
08 phi2554
 
08 phi2554
08 phi255408 phi2554
08 phi2554
 
08 phi2554
08 phi255408 phi2554
08 phi2554
 
ฟิสิกซ์
ฟิสิกซ์ฟิสิกซ์
ฟิสิกซ์
 
ฟิสิก
ฟิสิกฟิสิก
ฟิสิก
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ws
wsws
ws
 
ฟิสิก
ฟิสิกฟิสิก
ฟิสิก
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ฟิสิกส์
ฟิสิกส์
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

สมการการเคลื่อนที่แนวตรง

  • 2. 2 เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยความเร่งคงตัว โดยให้วัตถุเริ่มต้น เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้น u ที่เวลาเริ่มต้น t=0 หลังจากนั้นเวลาผ่านไป t วัตถุมี ความเร็ว v เราสามารถหาความเร่งได้จากอัตราเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา ดังสมการ หรือเราจะได้สมการการเคลื่อนที่ใหม่ ดังนี้ นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 t uv a   )1....(atuv 
  • 3. 3 เมื่อสมการที่ 1 เป็นสมการสาหรับคานวณหาความเร็วขณะหนึ่งเมื่อกาหนด ความเร็วต้นและความเร่งคงตัวมาให้ สาหรับการคานวณหาขนาดของการกระจัด s ที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา t เมื่อกาหนดขนาดความเร็วต้น u และขนาดของความเร่งคงตัว a ให้ จะหาได้ดังนี้ นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 )2....( 2 )( tvu s  
  • 4. 4 จากสมการที่ (1) เราสามารถแทนค่าสมการที่ (2) จะได้สมการเพิ่มเติมอีก ดังนี้ นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 )3....( 2 1 2 atuts  )4....(222 asuv 
  • 5. 5 จากสมการต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง s, u, v, a และ t มีข้อควรสังเกต ดังนี้ u เป็นความเร็วต้นที่เวลา t = 0 u อาจมีค่าเท่ากับศูนย์หรือไม่ก็ได้ ขึ้นกับ การกาหนดสถานการณ์ t เป็นช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ โดยกาหนดเวลาเริ่มต้น t = 0 s เป็นการกระจัดในช่วงเวลา t v เป็นความเร็วสุดท้าย ณ เวลา t a เป็นความเร่ง มีค่าคงตัว นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
  • 6. 6 ข้อสังเกต ทั้ง u, v, s และ a ในสมการการเคลื่อนที่เป็นปริมาณเวกเตอร์ เราจึงใช้ เครื่องหมายบวกและลบ แสดงทิศทางของปริมาณเหล่านี้ได้ สาหรับการเคลื่อนที่ ในแนวตรงเท่านั้น ถ้ากาหนดให้ทิศทางหนึ่งมีเครื่องหมายบวก ทิศทางที่ตรงข้าม กันจะมีเครื่องหมายลบ กรณีวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง เรากาหนดให้ปริมาณที่มี ทิศทางขึ้นมีเครื่องหมายเป็นบวก และปริมาณที่มีทิศทางลงเป็นลบ ส่วนค่า ความเร่ง a หรือ ค่า g นั้น มีทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่จึงมีเครื่องหมาย เป็นลบ นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
  • 7. 7 ตัวอย่าง 1 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวตรงโดยมีความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที ต่อมาคนขับได้เร่งเครื่องยนต์ทาให้รถยนต์มีความเร่ง 3 เมตรต่อวินาที2 เป็นเวลา 5 วินาที จงหาความเร็วที่สิ้นสุดเวลา 5 วินาที วิธีทา เราสามารถคานวณหาความเร็วปลาย v ได้จากสมการที่ 1 ดังนี้ แทนค่า ตอบ ความเร็วสิ้นสุดวินาทีที่ 5 เท่ากับ 35 เมตรต่อวินาที นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 .atuv  1520)53(20 v m/s35v
  • 8. 8 ตัวอย่าง 2 ถ้าโยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที จงหาว่าเมื่อ เวลาผ่านไป 1 และ 2 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเป็นเท่าใด กาหนดให้ค่า g = 9.8 เมตรต่อวินาที2 วิธีทา เราสามารถคานวณหาความเร็วปลาย v ได้จากสมการที่ 1 ดังนี้ (1) ความเร็วเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 1 แทนค่า ตอบ ความเร็วสิ้นสุดวินาทีที่ 1 เท่ากับ 0.2 เมตรต่อวินาที และการเคลื่อนที่มีทิศทางขึ้น นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 .atuv  )8.9(01)18.9(10 v m/s2.0v
  • 9. 9 ตัวอย่าง 2 (ต่อ) วิธีทา (1) ความเร็วเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 2 แทนค่า ตอบ ความเร็วสิ้นสุดวินาทีที่ 1 เท่ากับ –9.6 เมตรต่อวินาที และการเคลื่อนที่มีทิศทางลง นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 )6.19(01)28.9(10 v m/s9.6v
  • 10. 10 ตัวอย่าง 3 ถ้าโยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงหาว่าวัตถุ จะขึ้นไปได้สูงที่สุดกี่เมตร วิธีทา เราสามารถคานวณหาการกระจัด ได้โดยก้อนหินเคลื่อนที่ ขึ้นไปสูงสุด ความเร็วปลายมีค่าเป็นศูนย์ (v = 0) ได้จากสมการที่ 4 ดังนี้ แทนค่า ตอบ ก้อนหินขึ้นไปได้สูงสุด 20.4 เมตร นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 m4.20s )4....(222 asuv  ))8.9(2()20()0( 22 s )6.19(4000 s 6.19 400   s
  • 11. 11 ตัวอย่าง 4 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากสภาพอยู่นิ่งไปตามถนนตรงด้วยขนาด ความเร่งคงตัวเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาที2 ในช่วงเวลา 6 วินาที แล้วเคลื่อนที่ต่อไป ด้วยอัตราเร็วคงตัวเป็นเวลา 30 วินาที ผู้ขับจึงห้ามล้อทาให้รถยนต์เคลื่อนที่ต่อไป ด้วยอัตราเร็วลดลงแล้วหยุดในเวลา 5 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดเคลื่อนที่ได้ วิธีทา แนวทางการเคลื่อนที่แบ่ง 3 ช่วง พิจารณาได้ดังนี้ หาระยะทางในช่วงที่ 1 รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัวเท่ากับ 2 เมตรต่อ วินาที2 ในช่วงเวลา 6 วินาที นั่นคือ หา S1 นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 ช่วงที่ 1 6s ช่วงที่ 2 30s ช่วงที่ 2 5s s1 s2 s3
  • 12. 12 ตัวอย่าง 4 (ต่อ) หาระยะทางได้สูตร (3) แทนค่า ตอบ ก้อนหินขึ้นไปได้สูงสุด 20.4 เมตร นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 )3....( 2 1 2 atuts  ))6(2 2 1 ()60( 2 1 s ))36(2 2 1 ()60(1 s 0 m361 s
  • 13. 13 ตัวอย่าง 4 (ต่อ) หาระยะทางในช่วงที่ 2 รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัวเท่ากับ 12 เมตรต่อวินาที เป็นเวลา 30 วินาที นั่นคือ หา S2 ได้สูตร แทนค่า หาระยะทางในช่วงที่ 3 รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วลดลงเป็นเวลา 5 วินาที จนหยุด นิ่ง นั่นคือ v = 0 เพราะฉะนั้น คือ หา S3 ได้สูตร (2) นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 30122 s vts  m3602 s )2....( 2 )( tvu s  
  • 14. 14 ตัวอย่าง 4 (ต่อ) แทนค่า ดังนั้นระยะทางทั้งหมดที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้มีค่า S = S1 + S2 +S3 แทนค่า S = 36+ 360+ 30 = 426 เมตร ตอบ รถยนต์เคลื่อนที่ได้ระยะทางทั้งหมด 426 เมตร นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26 5 2 )012( 3   s 563 s m30s3 
  • 15. เอกสารอ้างอิง 15 นิรันดร์ สุวรัตน์. คู่มือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 - ม.6. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา , 2553. พูลศักดิ์ อินทวี และจานง ฉายเชิด. หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.4 - ม.6 ช่วงชั้นที่ 4. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2550. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชา เพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554. นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26