SlideShare a Scribd company logo
วารสารวิชาการและวิจัย มทร .คระิพร บรัรคิะรพ
ภาวะผู้ิาะชิงกลยุทธ์ กัรพวามสาะร็จใิการรริหารจัดการองพ์กร
The Strategic Leadership and the Success of Organization Management
ปุญญภณ ะทคประสิทธิ์1*
1
อาจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ กรุงเทพฯ 10400
รทพัดย่อ
การศึกษานี้ได้ทาการศึกษาภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ กับความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านยอดขาย
ด้านส่วนแบ่งทางการตลาด ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านการรักษาฐานลูกค้าเดิม โดยทาการศึกษาจากกลุ่ม
วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม จานวน 400 บริษัท และใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธี Stepwise
ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 2) การทบทวนกลยุทธ์ 3) การ
ตัดสินใจเลือก กลยุทธ์ และ 4) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรทั้ง 4 ด้าน
ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
Abstract
This research aims at studying the strategic leadership and the success of organization
management by emphasizing the impacts of strategic leadership on the effectiveness regarding
customer retention, operating cost, sales volume, & market share. The samples of the research
were gathered from 400 Small and Medium Enterprises (SMEs). The Multiple Regression (Stepwise
Method) was used as a statistical tool to analyze research hypotheses.
The results indicate that the 4 disciplines of strategic leadership, including 1) strategic
analysis, 2) strategic review, 3) strategic decision making, & 4) strategic practice, significantly
influence the success of organization management with respect to customer retention, operating
cost, sales volume, & market share at 0.05 level.
พาสาพัญ : ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
Keywords : strategic leadership, success of organization management
*
ผู้นิพนธ์ประสานงานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ punyapon_toy@hotmail.com โทร. 087-979-1979
RMUTP Research Journal
1. รทิา
การดาเนินธุรกิจได้เข้าสู่ยุคการค้าเสรีมากยิ่งขึ้น ทั้งเรื่องของการค้า การลงทุน การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต
รวมถึงการสื่อสาร ซึ่งการแข่งขันแบบเสรีได้ส่งผลต่อการแข่งขันอย่างรุนแรงในตลาดของสินค้าและบริการต่างๆ
โดยองค์กรจานวนมากพยายามที่จะยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ รวมถึงวิสัยทัศน์ และ พันธกิจในการที่จะนาพา
องค์กรไปสู่ความสาเร็จในอนาคต ผู้นาหรือผู้บริหารจึงมีบทบาท และหน้าที่ ที่สาคัญในการที่จะกาหนดทิศทาง และ
แนวทางขององค์กรให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้นาหรือผู้บริหารจะต้องมี
ความสามารถเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 2) การทบทวนกลยุทธ์ 3) การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และ
4) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Adair, 2010) เพื่อที่จะสร้างกลยุทธ์ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพในการนาไปใช้จนเกิด
ประสิทธิผลหรือความสาเร็จให้กับองค์กรอย่างยั่งยืน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อมุ่งพัฒนา และยกระดับภาวะ
ผู้นาเชิงกลยุทธ์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมของประเทศไทยให้มีศักยภาพเทียบเท่าระดับ
สากล
1.1 วัตถุประสงพ์
1. เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ และระดับความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรของวิสาหกิจขนาด
กลาง และขนาดย่อม
2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ที่มีต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรของวิสาหกิจ
ขนาดกลาง และขนาดย่อม
1.2 สมมติฐาิ
สมมติฐานที่ 1 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านยอดขาย
สมมติฐานที่ 2 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านส่วนแบ่งทาง
การตลาด
สมมติฐานที่ 3 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านต้นทุนการ
ดาเนินงาน
สมมติฐานที่ 4 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านการรักษาฐาน
ลูกค้าเดิม
1.3 การสารวจะอกสารที่ะกี่ยวข้อง
1.3.1. แิวพิดะกี่ยวกัรภาวะผู้ิาะชิงกลยุทธ์
Adair (2010) ได้นาเสนอภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ที่ผู้นาในยุคปัจจุบันจาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการสร้างกลยุทธ์ที่มี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ได้แก่
1. การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์อุตสาหกรรม (5 Force Model) การ
วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคขององค์กร (SWOT) และรวมถึงการวิเคราะห์กลยุทธ์ระดับองค์กร ระดับ
ธุรกิจ และระดับหน้าที่
2. การทบทวนกลยุทธ์ ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการค้นคว้า และตั้งสมมติฐาน เพื่อทบทวนความเหมาะสม
ของกลยุทธ์หากองค์กรนามาใช้ เช่น การเปรียบเทียบผลลัพธ์ของกลยุทธ์ที่นามาใช้จากกรณีศึกษาต่างๆ หรือ
ประสบการณ์
3. การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ได้อย่างเหมาะสม และ
ดาเนินการตามแผนที่วางไว้อย่างมีศักยภาพ
4. การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ผู้นาจะต้องสนับสนุนการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ โดยไม่ย่อท้อหรือยอมแพ้ต่ออุปสรรคที่
อาจเกิดขึ้นได้จากสภาพแวดล้อมหรือความเสี่ยงที่ไม่แน่นอน
วารสารวิชาการและวิจัย มทร .คระิพร บรัรคิะรพ
Adair (2010), Morrill (2010) และ Cannella, Finkelstein, & Hambrick (2008) ได้กล่าวเพิ่มเติมใน
ลักษณะเดียวกันว่าว่าภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์สามารถที่จะสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร และนาไปสู่
ประสิทธิผลหรือความสาเร็จให้กับองค์กร
1.3.2. แิวพิดะกี่ยวกัรพวามสาะร็จขององพ์กร
Kotler (2000) ได้นาเสนอตัวชี้วัดของความสาเร็จขององค์กร โดยสามารถที่จะทาการตรวจสอบได้จาก ต้นทุน
การดาเนินงานที่ลดต่าลง ยอดขาย ส่วนแบ่งทางการตลาด และการรักษาฐานลูกค้า ซึ่งแต่ละองค์กรจะวางเป้าหมายไว้
ตามที่บอร์ดบริหารกาหนดไว้ หากองค์กรสามารถดาเนินการได้ตามเป้าหมายจะถือว่ามีความสาเร็จในการบริหาร
จัดการ และดาเนินการ
กรอรแิวพิดการรึกพา
2. วิธีการรึกพา
2.1 ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ทาการศึกษาวิจัย คือ วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) จานวน 118,966 บริษัท
(สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม, 2553) โดยผู้วิจัยใช้สูตร Taro Yamane (Yamane, 1967)
ในการคานวณกลุ่มตัวอย่าง ทาให้ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 399 บริษัท แต่ผู้วิจัยได้ทาการรวบรวมข้อมูล 400 บริษัท
(ขนาดความเชื่อมั่นที่ 95%, ค่าความคาดเคลื่อนบวกลบที่ 5%) และผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความ
น่าจะเป็น (Probability sampling) ด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเชิงระบบ (systematic sampling)
2.2 ะพรื่องมือใิการวิจัย
ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือ 2 ชนิดในการศึกษา ดังนี้
1. แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง
ผู้วิจัยได้สร้างแบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง เพื่อใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และ
ขนาดย่อมเกี่ยวกับภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์เพื่อนาผลการสัมภาษณ์มาคัดกรอง และเรียงลาดับการให้ความสาคัญเพื่อที่จะ
นามาใช้สร้างข้อคาถามในตอนที่ 2 ของแบบสอบถาม
2. แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะองค์กร ประกอบด้วย จานวนพนักงาน ทุนจดทะเบียนการค้า ประเภทธุรกิจ และ
ระยะเวลาในการประกอบกิจการ มีระดับการวัดแบบมาตรวัดเรียงอันดับ (Ordinal Scale) และแบบมาตรวัดนาม
บัญญัติ (Nominal Scale)
ตอนที่ 2 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 2) การทบทวนกลยุทธ์ 3) การ
ตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และ 4) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ โดยมีลักษณะคาถามเป็นแบบประเมินค่า (Rating Scale)
5 อันดับ (Likert’s Scale) มีระดับการวัดข้อมูลแบบมาตรวัดอันตรภาคชั้น (Interval Scale)
ตอนที่ 3 ความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านยอดขาย ด้านส่วนแบ่งทาง
การตลาด ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านการรักษาฐานลูกค้าเดิม โดยมีลักษณะคาถามเป็นแบบประเมินค่า
ผู้นำเชิงกลยุทธ์
- การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic
Analysis)
- การทบทวนกลยุทธ์ (Strategic
Review)
- การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ (Strategic
ควำมสำเร็จในกำรบริหำรจัดกำรองค์กร
- ยอดขาย
- ส่วนแบ่งทางการตลาด
- ต้นทุนการดาเนินงาน
- การรักษาฐานลูกค้าเดิม
RMUTP Research Journal
เติมตัวเลขจริง (Ratio Scale) แต่เนื่องจากเป็นข้อมูลความลับของแต่ละองค์กร ผู้วิจัยจึงได้นามาปรับเป็นแบบช่วงลาดับ
ของคาตอบในการนาเสนอข้อมูล
2.3 การคัฒิาะพรื่องมือ
1. ผู้วิจัยทาการรวบรวมแนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และทาการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ
วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมเพื่อนามาใช้ในการสร้างโครงสร้างของแบบสอบถาม
2. นาแบบสอบถามซึ่งเป็นเครื่องมือในการวิจัยส่งมอบให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะผู้นา และการบริหารจัดการ
องค์กร จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยหาดัชนีความ
สอดคล้องของข้อคาถาม (Index of Item Objective Congruence: IOC) โดยเลือกข้อคาถามที่มีค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป
(Saunders, Thornhill & Lewis, 2009)
3. ทาการทดสอบ (Pre-test) แบบสอบถามที่ผ่านการพิจารณาความเหมาะสมตรงตามเนื้อหา (Content
Validity) ไปทาการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับประชากรที่ศึกษา จานวน 30 ชุด แล้ว
นากลับมาหาค่าสัมประสิทธิ์ Cronbach Alpha (α) โดยได้ค่าของแบบสอบถามตอนที่ 2 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ เท่ากับ
0.893 (Zikmund, 2003)
2.4 การวิะพราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการบรรยายข้อมูลแบบสอบถาม
และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ด้วยวิธี Stepwise ในการ
ทดสอบสมมติฐาน
3. ผลการรึกพาและการอภิปรายผล
3.1 ผลการวิะพราะห์ข้อมูล
ด้านข้อมูลลักษณะองค์กร พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีจานวนพนักงาน 51 คน - 100 คน จานวน 201
บริษัท คิดเป็นร้อยละ 50.25 มีทุนจดทะเบียนมากกว่า 10 ล้านบาท - 20 ล้านบาท จานวน 218 บริษัท คิดเป็น
ร้อยละ 54.5 มีประเภทธุรกิจเป็นธุรกิจการผลิต จานวน 269 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 67.25 มีระยะเวลาในการประกอบ
กิจการ มากกว่า 10 ปี แต่ไม่ถึง 15 ปี จานวน 319 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 79.75ด้านภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ พบว่า
ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมมีความสามารถในระดับมากที่สุด ในเรื่องการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ
และมีความสามารถในระดับมากในเรื่องการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการทบทวน กลยุทธ์ ตามลาดับ ขณะที่มี
ความสามารถในระดับปานกลางคือ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
ความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร 4 ด้าน พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาด
ย่อม มีระดับการรักษาฐานลูกค้าเดิมอยู่ที่ 60-80% มีต้นทุนการดาเนินงานสูงขึ้น 5%-10% มียอดขายเพิ่มขึ้น 16-20%
และมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้น 5%-10%
3.2 ผลการทดสอรสมมติฐาิ
การทดสอบสมมติฐาน ได้ทาการศึกษาสมมติฐาน 4 ข้อ ผลการทดสอบ พบว่า
1. สมมติฐาิที่ 1
ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนา
กลยุทธ์
2. สมมติฐาิที่ 2
ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนากล
ยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านส่วนแบ่งทางการตลาดที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
วารสารวิชาการและวิจัย มทร .คระิพร บรัรคิะรพ
3. สมมติฐาิที่ 3
ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนา
กลยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านต้นทุนการดาเนินงาน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
4. สมมติฐาิที่ 4
ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนากล
ยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านการรักษาฐานลูกค้าเดิมที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
3.3 การอภิปรายผล
จากผลการทดสอบสมมติฐาน จะพบว่าภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกล
ยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
4 ด้าน ได้แก่ ด้านยอดขาย ด้านผลกาไร ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านการรักษาฐาน ลูกค้าเดิม ซึ่งสอดคล้องกับ
การศึกษาและทฤษฎีภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ของ Adair (2010), Morrill (2010) และ Cannella, Finkelstein, &
Hambrick (2008) ที่ได้กล่าวว่าภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ทั้ง 4 ด้านสามารถที่จะสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับ
องค์กร และนาไปสู่ประสิทธิผลหรือความสาเร็จให้กับองค์กร ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า การที่ผู้นามีความสามารถเชิงกล
ยุทธ์จะทาให้สามารถเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมมาใช้กับองค์กร ในการแข่งขันเพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
(Competitive Advantage) อย่างมีประสิทธิภาพ จนนาไปสู่ความสาเร็จขององค์กร ไม่ว่าจะเป็น ยอดขายที่จะเพิ่มขึ้น
ผลกาไร และความสามารถในการรักษาฐานลูกค้าเดิม (Kotler, 2000) เช่น องค์กรวางกลยุทธ์ในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า
ที่ได้พัฒนาจนมีประสิทธิภาพ ก็จะสร้างโอกาสในการขาย ส่งผลให้เกิดยอดขาย ผลกาไร และการซื้อซ้าที่สูงขึ้น หรือ
องค์กรมีการวางแผนกลยุทธ์การผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น การนาระบบการผลิตแบบลีน (Lean Production)
เข้ามาใช้ก็จะช่วยองค์กรลดความผิดพลาดในการผลิต และสามารถรักษาสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมทาให้
เกิดต้นทุนการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น
จากการศึกษาพบว่าความสามารถเชิงกลยุทธ์ของผู้นา ได้นาไปสู่ระดับการรักษาฐานลูกค้าเดิมอยู่ที่ 60-80%
มีต้นทุนการดาเนินงานสูงขึ้น 5%-10% มียอดขายเพิ่มขึ้น 16-20% และมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้น 5%-10%
แสดงให้เห็นว่าการที่ผู้นามีความสามารถเชิงกลยุทธ์จะทาให้เกิดการสร้างกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการที่จะรักษาฐานลูกค้า
ขององค์กรตน ขณะเดียวกันยังเป็นโอกาสในการสร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งส่วนแบ่งทางการตลาดในอุตสาหกรรม
ที่องค์กรดารงอยู่ แต่สิ่งที่น่าสนใจคือประเด็นเรื่องของต้นทุน พบว่าความสามารถเชิงกลยุทธ์ของผู้นาส่งผลให้ต้นทุน
สูงขึ้น 5%-10% ซึ่งกล่าวได้ว่าผู้นายังไม่สามารถที่จะวิเคราะห์รูปแบบทางการแข่งขันในเชิงกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพ
สูงสุดเพื่อนามาปรับใช้กับองค์กร ดังนั้นจึงเป็นปัญหาสาคัญที่ผู้นาจะมีการพัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตนใน
การที่จะเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับองค์กร และสามารถสร้างศักยภาพให้กับองค์กรอย่างยั่งยืน
4. สรุป
การศึกษาภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ กับความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร สามารถสรุปเนื้อหาสาระ
ความสาคัญได้ว่า ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์
ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านยอดขาย ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และการนากลยุทธ์
ไปปฏิบัติ มีความสาคัญต่อการบริหารจัดการในยุคปัจจุบันที่สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพราะจะ
สามารถสร้างผู้นาหรือผู้บริหารที่มีศักยภาพในการสร้างสรรค์กลยุทธ์ในการบริหารจัดการองค์กรที่จะนาไปสู่
ความสาเร็จในประเด็นต่างๆ เช่น การสร้างยอดขายให้เพิ่มขึ้น การเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด การทาให้เกิดการซื้อซ้าที่
นาไปสู่การรักษาฐานลูกค้าเดิม แต่ขณะเดียวกันกับพบว่าต้นทุนสูงขึ้น 5%-10% ดังนั้นผู้นาหรือผู้บริหารองค์กรจะต้อง
พัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตน เพื่อที่จะทาให้เกิดประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน
4.1 ข้อะสิอแิะ
RMUTP Research Journal
1. ผู้นาหรือผู้บริหารควรที่จะต้องมีการพัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตนเอง ซึ่งสามารถทาได้
โดยการศึกษาจากกรณีศึกษาขององค์กรต่างประเทศที่มีความใกล้เคียงกันในเรื่องของผลิตภัณฑ์และบริการและประสบ
ความสาเร็จ เพื่อที่จะค้นหาประเด็นที่น่าสนใจในการนามาพัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตนเอง
2. ผู้นาหรือผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้กับบุคคลรุ่นใหม่ และพนักงานผู้ใต้บังคับบัญชาขององค์กรในการ
เสนอแนะความคิด วิสัยทัศน์ หรือประเด็นที่น่าสนใจ เพื่อเป็นการพัฒนาวิสัยทัศน์ของผู้นา และพัฒนาองค์กรไปสู่ความ
ยั่งยืน
3. ผู้นาหรือผู้บริหารจะต้องทาการทบทวนกลยุทธ์ทางการแข่งขันขององค์กรอีกครั้ง โดยจะต้องให้ความสาคัญ
กับการบริหารต้นทุนเพื่อให้เกิดความมั่นคงทางการเงินขององค์กร เพราะการเพิ่มยอดขาย และส่วนแบ่งทางการตลาด
สามารถดาเนินการได้ง่ายด้วยการกระตุ้นความต้องการ ขณะที่ต้นทุนเปรียบเสมือนประสิทธิภาพในการดาเนินงานของ
องค์กรทั้งระบบ ดังนั้นผู้นาจะต้องมีการนากลยุทธ์มาใช้พร้อมทั้งประเมินกลยุทธ์อย่างต่อเนื่อง และบันทึกข้อมูลเพื่อ
นามาประกอบการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม และสามารถสร้างประสิทธิภาพด้านต้นทุนให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืน
5. กิตติกรรมประการ
การวิจัยครั้งนี้ได้รับทุนสนับสนุนเต็มจานวนจาก บริษัท MVP Consultant Co., Ltd. และได้รับความร่วมมือ
จากผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในการให้การสัมภาษณ์และเก็บรวบรวมข้อมูล
6. ะอกสารอ้างอิง
Adair, J. 2010. Strategic Leadership: How to Think and Plan Strategically and Provide Direction
(The John Adair Leadership Library). London: Kogan Page.
Cannella, B., Finkelstein, S., & Hambrick, D.C. 2008. Strategic Leadership: Theory and Research on
Executives, Top Management Teams, and Boards.
Kotler, P. 2000. Kotler on Marketing. New York: Free Press.
Morrill, R.L. 2010. Strategic Leadership: Integrating Strategy and Leadership in Colleges and
Universities. Maryland: Rowman & Littlefield Publishers, Inc.
Saunders, M. K., Thornhill, A., & Lewis, P. 2009. Research Methods for Business Students. New
Jersey: Prentice Hall.
Yamane, T. 1967. Statistics: An Introductory Analysis. New York: Harper and Row.
Zikmund, Williams, G. 2003. Business Research Methods. California: Thomson South – Western

More Related Content

What's hot

Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
Tum Aditap
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
Sucharat Sangaroon
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
Tum Aditap
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
sakarinkhul
 
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedLeadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Borwornsom Leerapan
 
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่   กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
DrDanai Thienphut
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
maruay songtanin
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
Surapoll Kaewta
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
Amp Tiparat
 
New strategic management 2013
New  strategic management 2013New  strategic management 2013
New strategic management 2013
DrDanai Thienphut
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้Prachyanun Nilsook
 
Action plan
Action planAction plan
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
CUPress
 
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
maruay songtanin
 
9789740333302
97897403333029789740333302
9789740333302CUPress
 

What's hot (20)

Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedLeadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
Hr of TAT
Hr of TATHr of TAT
Hr of TAT
 
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่   กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
New strategic management 2013
New  strategic management 2013New  strategic management 2013
New strategic management 2013
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
 
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
 
9789740333302
97897403333029789740333302
9789740333302
 
Swot(sk)
Swot(sk)Swot(sk)
Swot(sk)
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 

Viewers also liked

What's in a name assessing and advising for a back up plan.dat
What's in a name  assessing and advising for a back up plan.datWhat's in a name  assessing and advising for a back up plan.dat
What's in a name assessing and advising for a back up plan.dat
James Hardin
 
Evolution of an academic advising unit
Evolution of an academic advising unitEvolution of an academic advising unit
Evolution of an academic advising unit
James Hardin
 
Statistics for research by spss program
Statistics for research by spss programStatistics for research by spss program
Statistics for research by spss programPunyapon Tepprasit
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 
Mgt 4203 1 sep2013
Mgt 4203 1 sep2013Mgt 4203 1 sep2013
Mgt 4203 1 sep2013
Punyapon Tepprasit
 
What's in a name assessing and advising for a back up plan
What's in a name  assessing and advising for a back up planWhat's in a name  assessing and advising for a back up plan
What's in a name assessing and advising for a back up plan
James Hardin
 
SAS & SPSS Sample Codes
SAS & SPSS Sample CodesSAS & SPSS Sample Codes
SAS & SPSS Sample Codes
Qimiao Hu
 

Viewers also liked (7)

What's in a name assessing and advising for a back up plan.dat
What's in a name  assessing and advising for a back up plan.datWhat's in a name  assessing and advising for a back up plan.dat
What's in a name assessing and advising for a back up plan.dat
 
Evolution of an academic advising unit
Evolution of an academic advising unitEvolution of an academic advising unit
Evolution of an academic advising unit
 
Statistics for research by spss program
Statistics for research by spss programStatistics for research by spss program
Statistics for research by spss program
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
 
Mgt 4203 1 sep2013
Mgt 4203 1 sep2013Mgt 4203 1 sep2013
Mgt 4203 1 sep2013
 
What's in a name assessing and advising for a back up plan
What's in a name  assessing and advising for a back up planWhat's in a name  assessing and advising for a back up plan
What's in a name assessing and advising for a back up plan
 
SAS & SPSS Sample Codes
SAS & SPSS Sample CodesSAS & SPSS Sample Codes
SAS & SPSS Sample Codes
 

Similar to ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร

แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
Sarawut Wutthidaj
 
strategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptstrategicmanagement.ppt
strategicmanagement.ppt
thananwut
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
wutichai
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
nongponthip10
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
Chalermpon Dondee
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planningKan Yuenyong
 
3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร
Naruepon Seenoilkhaw
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
Sudpatapee Wiengsee
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
DrDanai Thienphut
 

Similar to ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร (20)

Plans
PlansPlans
Plans
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
strategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptstrategicmanagement.ppt
strategicmanagement.ppt
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
14321
1432114321
14321
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 

More from Punyapon Tepprasit

Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and Transportation
Punyapon Tepprasit
 
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...Punyapon Tepprasit
 
Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management
Punyapon Tepprasit
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...Punyapon Tepprasit
 
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...Punyapon Tepprasit
 
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนPunyapon Tepprasit
 

More from Punyapon Tepprasit (7)

Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and Transportation
 
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
 
Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
 
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
 
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
 
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
 

ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร

  • 1. วารสารวิชาการและวิจัย มทร .คระิพร บรัรคิะรพ ภาวะผู้ิาะชิงกลยุทธ์ กัรพวามสาะร็จใิการรริหารจัดการองพ์กร The Strategic Leadership and the Success of Organization Management ปุญญภณ ะทคประสิทธิ์1* 1 อาจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ กรุงเทพฯ 10400 รทพัดย่อ การศึกษานี้ได้ทาการศึกษาภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ กับความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านยอดขาย ด้านส่วนแบ่งทางการตลาด ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านการรักษาฐานลูกค้าเดิม โดยทาการศึกษาจากกลุ่ม วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม จานวน 400 บริษัท และใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธี Stepwise ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 2) การทบทวนกลยุทธ์ 3) การ ตัดสินใจเลือก กลยุทธ์ และ 4) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรทั้ง 4 ด้าน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 Abstract This research aims at studying the strategic leadership and the success of organization management by emphasizing the impacts of strategic leadership on the effectiveness regarding customer retention, operating cost, sales volume, & market share. The samples of the research were gathered from 400 Small and Medium Enterprises (SMEs). The Multiple Regression (Stepwise Method) was used as a statistical tool to analyze research hypotheses. The results indicate that the 4 disciplines of strategic leadership, including 1) strategic analysis, 2) strategic review, 3) strategic decision making, & 4) strategic practice, significantly influence the success of organization management with respect to customer retention, operating cost, sales volume, & market share at 0.05 level. พาสาพัญ : ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Keywords : strategic leadership, success of organization management * ผู้นิพนธ์ประสานงานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ punyapon_toy@hotmail.com โทร. 087-979-1979
  • 2. RMUTP Research Journal 1. รทิา การดาเนินธุรกิจได้เข้าสู่ยุคการค้าเสรีมากยิ่งขึ้น ทั้งเรื่องของการค้า การลงทุน การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต รวมถึงการสื่อสาร ซึ่งการแข่งขันแบบเสรีได้ส่งผลต่อการแข่งขันอย่างรุนแรงในตลาดของสินค้าและบริการต่างๆ โดยองค์กรจานวนมากพยายามที่จะยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ รวมถึงวิสัยทัศน์ และ พันธกิจในการที่จะนาพา องค์กรไปสู่ความสาเร็จในอนาคต ผู้นาหรือผู้บริหารจึงมีบทบาท และหน้าที่ ที่สาคัญในการที่จะกาหนดทิศทาง และ แนวทางขององค์กรให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้นาหรือผู้บริหารจะต้องมี ความสามารถเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 2) การทบทวนกลยุทธ์ 3) การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และ 4) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Adair, 2010) เพื่อที่จะสร้างกลยุทธ์ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพในการนาไปใช้จนเกิด ประสิทธิผลหรือความสาเร็จให้กับองค์กรอย่างยั่งยืน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อมุ่งพัฒนา และยกระดับภาวะ ผู้นาเชิงกลยุทธ์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมของประเทศไทยให้มีศักยภาพเทียบเท่าระดับ สากล 1.1 วัตถุประสงพ์ 1. เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ และระดับความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรของวิสาหกิจขนาด กลาง และขนาดย่อม 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ที่มีต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรของวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อม 1.2 สมมติฐาิ สมมติฐานที่ 1 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านยอดขาย สมมติฐานที่ 2 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านส่วนแบ่งทาง การตลาด สมมติฐานที่ 3 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านต้นทุนการ ดาเนินงาน สมมติฐานที่ 4 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านการรักษาฐาน ลูกค้าเดิม 1.3 การสารวจะอกสารที่ะกี่ยวข้อง 1.3.1. แิวพิดะกี่ยวกัรภาวะผู้ิาะชิงกลยุทธ์ Adair (2010) ได้นาเสนอภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ที่ผู้นาในยุคปัจจุบันจาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการสร้างกลยุทธ์ที่มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ได้แก่ 1. การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์อุตสาหกรรม (5 Force Model) การ วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคขององค์กร (SWOT) และรวมถึงการวิเคราะห์กลยุทธ์ระดับองค์กร ระดับ ธุรกิจ และระดับหน้าที่ 2. การทบทวนกลยุทธ์ ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการค้นคว้า และตั้งสมมติฐาน เพื่อทบทวนความเหมาะสม ของกลยุทธ์หากองค์กรนามาใช้ เช่น การเปรียบเทียบผลลัพธ์ของกลยุทธ์ที่นามาใช้จากกรณีศึกษาต่างๆ หรือ ประสบการณ์ 3. การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ได้อย่างเหมาะสม และ ดาเนินการตามแผนที่วางไว้อย่างมีศักยภาพ 4. การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ผู้นาจะต้องสนับสนุนการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ โดยไม่ย่อท้อหรือยอมแพ้ต่ออุปสรรคที่ อาจเกิดขึ้นได้จากสภาพแวดล้อมหรือความเสี่ยงที่ไม่แน่นอน
  • 3. วารสารวิชาการและวิจัย มทร .คระิพร บรัรคิะรพ Adair (2010), Morrill (2010) และ Cannella, Finkelstein, & Hambrick (2008) ได้กล่าวเพิ่มเติมใน ลักษณะเดียวกันว่าว่าภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์สามารถที่จะสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร และนาไปสู่ ประสิทธิผลหรือความสาเร็จให้กับองค์กร 1.3.2. แิวพิดะกี่ยวกัรพวามสาะร็จขององพ์กร Kotler (2000) ได้นาเสนอตัวชี้วัดของความสาเร็จขององค์กร โดยสามารถที่จะทาการตรวจสอบได้จาก ต้นทุน การดาเนินงานที่ลดต่าลง ยอดขาย ส่วนแบ่งทางการตลาด และการรักษาฐานลูกค้า ซึ่งแต่ละองค์กรจะวางเป้าหมายไว้ ตามที่บอร์ดบริหารกาหนดไว้ หากองค์กรสามารถดาเนินการได้ตามเป้าหมายจะถือว่ามีความสาเร็จในการบริหาร จัดการ และดาเนินการ กรอรแิวพิดการรึกพา 2. วิธีการรึกพา 2.1 ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ทาการศึกษาวิจัย คือ วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) จานวน 118,966 บริษัท (สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม, 2553) โดยผู้วิจัยใช้สูตร Taro Yamane (Yamane, 1967) ในการคานวณกลุ่มตัวอย่าง ทาให้ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 399 บริษัท แต่ผู้วิจัยได้ทาการรวบรวมข้อมูล 400 บริษัท (ขนาดความเชื่อมั่นที่ 95%, ค่าความคาดเคลื่อนบวกลบที่ 5%) และผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความ น่าจะเป็น (Probability sampling) ด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเชิงระบบ (systematic sampling) 2.2 ะพรื่องมือใิการวิจัย ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือ 2 ชนิดในการศึกษา ดังนี้ 1. แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง ผู้วิจัยได้สร้างแบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง เพื่อใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และ ขนาดย่อมเกี่ยวกับภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์เพื่อนาผลการสัมภาษณ์มาคัดกรอง และเรียงลาดับการให้ความสาคัญเพื่อที่จะ นามาใช้สร้างข้อคาถามในตอนที่ 2 ของแบบสอบถาม 2. แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะองค์กร ประกอบด้วย จานวนพนักงาน ทุนจดทะเบียนการค้า ประเภทธุรกิจ และ ระยะเวลาในการประกอบกิจการ มีระดับการวัดแบบมาตรวัดเรียงอันดับ (Ordinal Scale) และแบบมาตรวัดนาม บัญญัติ (Nominal Scale) ตอนที่ 2 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 2) การทบทวนกลยุทธ์ 3) การ ตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และ 4) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ โดยมีลักษณะคาถามเป็นแบบประเมินค่า (Rating Scale) 5 อันดับ (Likert’s Scale) มีระดับการวัดข้อมูลแบบมาตรวัดอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตอนที่ 3 ความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านยอดขาย ด้านส่วนแบ่งทาง การตลาด ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านการรักษาฐานลูกค้าเดิม โดยมีลักษณะคาถามเป็นแบบประเมินค่า ผู้นำเชิงกลยุทธ์ - การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Analysis) - การทบทวนกลยุทธ์ (Strategic Review) - การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ (Strategic ควำมสำเร็จในกำรบริหำรจัดกำรองค์กร - ยอดขาย - ส่วนแบ่งทางการตลาด - ต้นทุนการดาเนินงาน - การรักษาฐานลูกค้าเดิม
  • 4. RMUTP Research Journal เติมตัวเลขจริง (Ratio Scale) แต่เนื่องจากเป็นข้อมูลความลับของแต่ละองค์กร ผู้วิจัยจึงได้นามาปรับเป็นแบบช่วงลาดับ ของคาตอบในการนาเสนอข้อมูล 2.3 การคัฒิาะพรื่องมือ 1. ผู้วิจัยทาการรวบรวมแนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และทาการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมเพื่อนามาใช้ในการสร้างโครงสร้างของแบบสอบถาม 2. นาแบบสอบถามซึ่งเป็นเครื่องมือในการวิจัยส่งมอบให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะผู้นา และการบริหารจัดการ องค์กร จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยหาดัชนีความ สอดคล้องของข้อคาถาม (Index of Item Objective Congruence: IOC) โดยเลือกข้อคาถามที่มีค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป (Saunders, Thornhill & Lewis, 2009) 3. ทาการทดสอบ (Pre-test) แบบสอบถามที่ผ่านการพิจารณาความเหมาะสมตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ไปทาการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับประชากรที่ศึกษา จานวน 30 ชุด แล้ว นากลับมาหาค่าสัมประสิทธิ์ Cronbach Alpha (α) โดยได้ค่าของแบบสอบถามตอนที่ 2 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ เท่ากับ 0.893 (Zikmund, 2003) 2.4 การวิะพราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการบรรยายข้อมูลแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ด้วยวิธี Stepwise ในการ ทดสอบสมมติฐาน 3. ผลการรึกพาและการอภิปรายผล 3.1 ผลการวิะพราะห์ข้อมูล ด้านข้อมูลลักษณะองค์กร พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีจานวนพนักงาน 51 คน - 100 คน จานวน 201 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 50.25 มีทุนจดทะเบียนมากกว่า 10 ล้านบาท - 20 ล้านบาท จานวน 218 บริษัท คิดเป็น ร้อยละ 54.5 มีประเภทธุรกิจเป็นธุรกิจการผลิต จานวน 269 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 67.25 มีระยะเวลาในการประกอบ กิจการ มากกว่า 10 ปี แต่ไม่ถึง 15 ปี จานวน 319 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 79.75ด้านภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ พบว่า ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมมีความสามารถในระดับมากที่สุด ในเรื่องการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ และมีความสามารถในระดับมากในเรื่องการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการทบทวน กลยุทธ์ ตามลาดับ ขณะที่มี ความสามารถในระดับปานกลางคือ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร 4 ด้าน พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาด ย่อม มีระดับการรักษาฐานลูกค้าเดิมอยู่ที่ 60-80% มีต้นทุนการดาเนินงานสูงขึ้น 5%-10% มียอดขายเพิ่มขึ้น 16-20% และมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้น 5%-10% 3.2 ผลการทดสอรสมมติฐาิ การทดสอบสมมติฐาน ได้ทาการศึกษาสมมติฐาน 4 ข้อ ผลการทดสอบ พบว่า 1. สมมติฐาิที่ 1 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนา กลยุทธ์ 2. สมมติฐาิที่ 2 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนากล ยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านส่วนแบ่งทางการตลาดที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
  • 5. วารสารวิชาการและวิจัย มทร .คระิพร บรัรคิะรพ 3. สมมติฐาิที่ 3 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนา กลยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านต้นทุนการดาเนินงาน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 4. สมมติฐาิที่ 4 ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนากล ยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านการรักษาฐานลูกค้าเดิมที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 3.3 การอภิปรายผล จากผลการทดสอบสมมติฐาน จะพบว่าภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกล ยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ และการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านยอดขาย ด้านผลกาไร ด้านต้นทุนการดาเนินงาน และด้านการรักษาฐาน ลูกค้าเดิม ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาและทฤษฎีภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ของ Adair (2010), Morrill (2010) และ Cannella, Finkelstein, & Hambrick (2008) ที่ได้กล่าวว่าภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ทั้ง 4 ด้านสามารถที่จะสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับ องค์กร และนาไปสู่ประสิทธิผลหรือความสาเร็จให้กับองค์กร ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า การที่ผู้นามีความสามารถเชิงกล ยุทธ์จะทาให้สามารถเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมมาใช้กับองค์กร ในการแข่งขันเพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) อย่างมีประสิทธิภาพ จนนาไปสู่ความสาเร็จขององค์กร ไม่ว่าจะเป็น ยอดขายที่จะเพิ่มขึ้น ผลกาไร และความสามารถในการรักษาฐานลูกค้าเดิม (Kotler, 2000) เช่น องค์กรวางกลยุทธ์ในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า ที่ได้พัฒนาจนมีประสิทธิภาพ ก็จะสร้างโอกาสในการขาย ส่งผลให้เกิดยอดขาย ผลกาไร และการซื้อซ้าที่สูงขึ้น หรือ องค์กรมีการวางแผนกลยุทธ์การผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น การนาระบบการผลิตแบบลีน (Lean Production) เข้ามาใช้ก็จะช่วยองค์กรลดความผิดพลาดในการผลิต และสามารถรักษาสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมทาให้ เกิดต้นทุนการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าความสามารถเชิงกลยุทธ์ของผู้นา ได้นาไปสู่ระดับการรักษาฐานลูกค้าเดิมอยู่ที่ 60-80% มีต้นทุนการดาเนินงานสูงขึ้น 5%-10% มียอดขายเพิ่มขึ้น 16-20% และมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้น 5%-10% แสดงให้เห็นว่าการที่ผู้นามีความสามารถเชิงกลยุทธ์จะทาให้เกิดการสร้างกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการที่จะรักษาฐานลูกค้า ขององค์กรตน ขณะเดียวกันยังเป็นโอกาสในการสร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งส่วนแบ่งทางการตลาดในอุตสาหกรรม ที่องค์กรดารงอยู่ แต่สิ่งที่น่าสนใจคือประเด็นเรื่องของต้นทุน พบว่าความสามารถเชิงกลยุทธ์ของผู้นาส่งผลให้ต้นทุน สูงขึ้น 5%-10% ซึ่งกล่าวได้ว่าผู้นายังไม่สามารถที่จะวิเคราะห์รูปแบบทางการแข่งขันในเชิงกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพ สูงสุดเพื่อนามาปรับใช้กับองค์กร ดังนั้นจึงเป็นปัญหาสาคัญที่ผู้นาจะมีการพัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตนใน การที่จะเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับองค์กร และสามารถสร้างศักยภาพให้กับองค์กรอย่างยั่งยืน 4. สรุป การศึกษาภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ กับความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กร สามารถสรุปเนื้อหาสาระ ความสาคัญได้ว่า ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์ ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การทบทวนกลยุทธ์ การตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการองค์กรด้านยอดขาย ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และการนากลยุทธ์ ไปปฏิบัติ มีความสาคัญต่อการบริหารจัดการในยุคปัจจุบันที่สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพราะจะ สามารถสร้างผู้นาหรือผู้บริหารที่มีศักยภาพในการสร้างสรรค์กลยุทธ์ในการบริหารจัดการองค์กรที่จะนาไปสู่ ความสาเร็จในประเด็นต่างๆ เช่น การสร้างยอดขายให้เพิ่มขึ้น การเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด การทาให้เกิดการซื้อซ้าที่ นาไปสู่การรักษาฐานลูกค้าเดิม แต่ขณะเดียวกันกับพบว่าต้นทุนสูงขึ้น 5%-10% ดังนั้นผู้นาหรือผู้บริหารองค์กรจะต้อง พัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตน เพื่อที่จะทาให้เกิดประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน 4.1 ข้อะสิอแิะ
  • 6. RMUTP Research Journal 1. ผู้นาหรือผู้บริหารควรที่จะต้องมีการพัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตนเอง ซึ่งสามารถทาได้ โดยการศึกษาจากกรณีศึกษาขององค์กรต่างประเทศที่มีความใกล้เคียงกันในเรื่องของผลิตภัณฑ์และบริการและประสบ ความสาเร็จ เพื่อที่จะค้นหาประเด็นที่น่าสนใจในการนามาพัฒนาความสามารถเชิงกลยุทธ์ของตนเอง 2. ผู้นาหรือผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้กับบุคคลรุ่นใหม่ และพนักงานผู้ใต้บังคับบัญชาขององค์กรในการ เสนอแนะความคิด วิสัยทัศน์ หรือประเด็นที่น่าสนใจ เพื่อเป็นการพัฒนาวิสัยทัศน์ของผู้นา และพัฒนาองค์กรไปสู่ความ ยั่งยืน 3. ผู้นาหรือผู้บริหารจะต้องทาการทบทวนกลยุทธ์ทางการแข่งขันขององค์กรอีกครั้ง โดยจะต้องให้ความสาคัญ กับการบริหารต้นทุนเพื่อให้เกิดความมั่นคงทางการเงินขององค์กร เพราะการเพิ่มยอดขาย และส่วนแบ่งทางการตลาด สามารถดาเนินการได้ง่ายด้วยการกระตุ้นความต้องการ ขณะที่ต้นทุนเปรียบเสมือนประสิทธิภาพในการดาเนินงานของ องค์กรทั้งระบบ ดังนั้นผู้นาจะต้องมีการนากลยุทธ์มาใช้พร้อมทั้งประเมินกลยุทธ์อย่างต่อเนื่อง และบันทึกข้อมูลเพื่อ นามาประกอบการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม และสามารถสร้างประสิทธิภาพด้านต้นทุนให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืน 5. กิตติกรรมประการ การวิจัยครั้งนี้ได้รับทุนสนับสนุนเต็มจานวนจาก บริษัท MVP Consultant Co., Ltd. และได้รับความร่วมมือ จากผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในการให้การสัมภาษณ์และเก็บรวบรวมข้อมูล 6. ะอกสารอ้างอิง Adair, J. 2010. Strategic Leadership: How to Think and Plan Strategically and Provide Direction (The John Adair Leadership Library). London: Kogan Page. Cannella, B., Finkelstein, S., & Hambrick, D.C. 2008. Strategic Leadership: Theory and Research on Executives, Top Management Teams, and Boards. Kotler, P. 2000. Kotler on Marketing. New York: Free Press. Morrill, R.L. 2010. Strategic Leadership: Integrating Strategy and Leadership in Colleges and Universities. Maryland: Rowman & Littlefield Publishers, Inc. Saunders, M. K., Thornhill, A., & Lewis, P. 2009. Research Methods for Business Students. New Jersey: Prentice Hall. Yamane, T. 1967. Statistics: An Introductory Analysis. New York: Harper and Row. Zikmund, Williams, G. 2003. Business Research Methods. California: Thomson South – Western