SlideShare a Scribd company logo
1 of 156
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลธัญบุรี
natepanna@yahoo.com
mobile 089 023 3356
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 1
เอกสารประกอบการบรรยาย
การจัดการเชิงกลยุทธ์สำาหรับผู้
บริหาร
(Strategic Management for
Executives)
…การจัดการที่เน้น
การกำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
กลยุทธ์การดำาเนินงาน
การพัฒนาปรับปรุงส่วนต่าง ๆ
ขององค์การ เพื่อนำา
กลยุทธ์ไปปฏิบัติ
การติดตาม ประเมินผล เพื่อ
ปรับปรุงการดำาเนินงานให้บรรลุ 2รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 คือ การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นเครื่องมือของนักบริหาร
ในการบริหารงาน เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น การบริหารเชิงกลยุทธ์จะ
เน้นและให้ความสำาคัญต่อการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
(Strategic decision making) ที่ไม่เหมือนกับการตัดสินใจ
ในลักษณะอื่น ๆ เพราะการบริหารเชิงกลยุทธ์จะ
เกี่ยวข้องกับอนาคตในระยะยาวขององค์การทั้งหมด ซึ่ง
มีลักษณะดังนี้ คือ
• เป็นกระบวนการของการบริหารองค์การโดยรวม
• เป็นการบริหารที่เน้นการสร้างกลยุทธ์ เพื่อสร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์การในระยะยาว
• เป็นการตัดสินใจที่อาศัยชั้นเชิง ไม่มีวิธีการที่
สำาเร็จรูป รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 3
 การจัดการเชิงกลยุทธ์จะนำาไปสู่การเพิ่ม
โอกาสของความสำาเร็จและความล้มเหลว
ขององค์การได้อย่างไรนั้นมีหลักสำาคัญดังนี้
1. การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นการกำาหนด
วิสัยทัศน์ ทิศทาง ภารกิจ และวัตถุประสงค์
ขององค์การธุรกิจอย่างเป็นระบบ ดังนั้น
การจัดการเชิงกลยุทธ์จึงเป็นสิ่งที่กำาหนด
ทิศทางขององค์การ และช่วยให้นักบริหาร
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
แวดล้อม การตระหนักถึงความรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 4
 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ยังนำาไปสู่
การจัดการความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
เนื่องจากมีการเตรียมรับกับสถานการณ์
ความเปลี่ยนแปลงไว้แล้ว ทำาให้
องค์การค้นหาแนวทางที่เหมาะสมที่สุด
ต่อองค์การ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง
ของปัจจัยต่าง ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง
ทั้งนี้เนื่องจากการจัดการเชิงกลยุทธ์
เป็นการกำาหนดวิธีการหรือแนวทางใน
การดำาเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของ
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 5
 3. การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นการนำา
แนวทางในการดำาเนินองค์การที่คิดค้น
สร้างสรรค์ขึ้น และนำามาประยุกต์ใช้เพื่อให้
บรรลุเป้าหมาย ดังนั้นความคิดสร้างสรรค์
จึงเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับนักบริหาร
4. การวางแผนกลยุทธ์เป็นหน้าที่หลัก
ของนักบริหาร และกำาหนดทิศทางในการ
ดำาเนินงานขององค์การ การจัดทำาและ
ปฏิบัติให้สอดคล้องตามแผนกลยุทธ์จึงมี
ความสำาคัญโดยเฉพาะในระยะยาว มีความ
สามารถในการควบคุมให้การปฏิบัติเป็นไปรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 6
 5. การจัดการเชิงกลยุทธ์ทำาให้เกิดความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน จะช่วยสร้าง
ประสิทธิภาพและศักยภาพในการแข่งขันให้
แก่ธุรกิจ และเสริมสร้างการพัฒนาขีดความ
สามารถทางการบริหารของนักบริหาร รวม
ทั้งช่วยเตรียมความพร้อมและพัฒนาบุคลากร
ที่อยู่ภายในองค์การ
6. การจัดการเชิงกลยุทธ์ช่วยให้การ
ทำางานเกิดความสอดคล้องในการปฏิบัติ
หน้าที่ เนื่องจากมีการกำาหนดกลยุทธ์ การ
ประยุกต์ใช้ และการตรวจสอบควบคุมไว้
อย่างชัดเจน ทำาให้เกิดความเข้าใจตรงกันรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 7
 แสดงเจตนารมณ์และเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่
กำาหนดขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่ง
 สามารถสื่อสารและสร้างความเข้าใจกับบุคคล
ภายในองค์กรได้
 กำาหนดกรอบแนวทางของกระบวนการหลักภายใน
ที่สำาคัญ เพื่อให้สามารถ
 ดำา เนินงานไปในทิศทางที่เหมาะสม และมุ่งสู่การ
บรรลุผลสัมฤทธิ์ตาม
 ยุทธศาสตร์ที่กำาหนดไว้
 ประสานเชื่อมโยงในเรื่องการลงทุนและการบริหาร
จัดการทรัพยากรมนุษย์
 การใช้เทคโนโลยี และทุนองค์กรให้เกิดประโยชน์รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 8
1. เอกสารที่ระบุวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ
(Mission) และกลยุทธ์ (Strategies) ต่างๆ
ในการดำาเนินงานขององค์การหนึ่งๆ
2. เป็นแผนระยะยาว ที่บอกถึงทิศทางการ
ดำาเนินงานขององค์การ สำาหรับใช้เป็น
เครื่องมือในการประสาน และกำากับติดตาม
การดำาเนินงานในส่วนงานต่างๆ ของ
องค์การให้เป็นไปในทิศทาง และจังหวะ
เวลาที่สอดคล้องกัน
3. เป็นเอกสารที่จัดทำาขึ้นจากการวิเคราะห์ 9รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ซัมซุงได้กำาหนดวิสัยทัศน์ใหม่ของบริษัทสำาหรับการดำาเนิน
งานใน ทศวรรษใหม่เอาไว้ว่า “สร้างแรงบันดาลใจให้แก่
”โลก เพื่อร่วมสร้างสรรค์อนาคต (Inspire the World,
Create the Future)
สะท้อนความมุ่งมั่นของซัมซุง
ในการสร้างแรงบันดาใจให้แก่ชุมชนด้วย
จุดเด่น 3 ประการ คือ
“ ” “ ”เทคโนโลยีใหม่ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์
“ ”โซลูชันอันสร้างสรรค์
วิสัย
ทัศน์(Visio
n)
10รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ภายใต้วิสัยทัศน์นี้ ซัมซุงตั้งเป้าบรรลุยอดขาย
ให้ได้ 400,000 ล้านเหรียญสหรัฐและติดอันดับ 1 ใน
5 แบรนด์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกภายในปี 2020
โดยกำาหนดแนวทางบริหารจัดการเอาไว้ 3
“ ” “ ”แนวทางคือ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความร่วมมือ
สร้างแรงบันดาลใจให้แก่โลก เพื่อร่วม
สร้างสรรค์อนาคตโซลูชัน
อัน
สร้างสร
รค์
เทคโนโ
ลยีใหม่
นวัตกร
รม
ผลิตภั
ณฑ์
อุตสาหก
รรม
ลูกค้า
พนักง
าน
11รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ภารกิจ
(Mission)
ดิจิตอล:
เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่
เป็นนวัตกรรม และบริการที่
เป็นผู้นำาในอุตสาหกรรม
E:
เพื่อเป็นบริษัทที่มีการจัดการ
และกระบวนการผลิตที่มี
ประสิทธิภาพสูงสุด
บริษัท:
เพื่อคงไว้ซึ่งเป้าหมายที่แน่วแน่ขององค์กร คือ
การเป็นบริษัทซึ่งเป็นผู้นำาทางเทคโนโลยีระดับโลก
เชื่อถือและมีความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง
เพื่อเป็น
“ดิจิตอล- E
Company”
ที่ดีที่สุด
ทุกสิ่งที่เราทำาที่ SAMSUNG คือการปฏิบัติตาม
พันธกิจของเรา: เพื่อเป็น
"ดิจิตอล-Company" ที่
ดีที่สุด
12รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
1. ต้องมีการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อมภายนอกทุกด้าน
2. ต้องมีการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อมภายในของ
องค์การ
3. การวางแผนจะต้องมีทั้งแผนระยะ
ยาว ระยะกลางและระยะสั้น
4. ต้องวางแผนอย่างเป็นระบบ ให้ทุก 13รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช

การจัดการเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วยองค์
ประกอบย่อยพื้นฐาน 5 ประการ คือ
1. การกำาหนดทิศทาง (Direction Setting)
2. การประเมินองค์การและสภาพ
แวดล้อม(Environment Scanning)
3. การกำาหนดกลยุทธ์ (Strategy
Formulation)
4. การดำาเนินกลยุทธ์ (Strategy
Implementation)
5. การประเมินผลและการควบคุมรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 14

ในการกำาหนดทิศทางขององค์การจะประกอบ
ด้วย การกำาหนดวิสัยทัศน์ (Vision ) และการ
กำาหนดภารกิจ ( Mission ) หรือ กรอบในการ
ดำาเนินงานที่ชัดเจนจะช่วยให้องค์การสามารถ
กำาหนดทิศทางในระยะยาว อีกทั้งยังแสดงถึงความ
ตั้งใจในการดำาเนินธุรกิจอีกด้วย
ภารกิจ (Mission) ในกระบวนการบริหารจัดการ
เชิงกลยุทธ์นั้น ขั้นแรกองค์การจะต้องระบุภารกิจ
และเป้าหมายหลักที่สำาคัญของบริษัท ซึ่งภารกิจ
หมายถึง ประกาศหรือข้อความของบริษัทที่พยายาม
กำาหนดว่าจะทำาอะไรในปัจจุบัน และกำาลังจะทำา
อะไรในอนาคตและองค์การเป็นองค์การแบบใดรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 15

ในการประเมินสภาพแวดล้อมขององค์การนั้น
จะประกอบไปด้วยการประเมินสภาพแวดล้อม
ภายนอก และการประเมินสภาพแวดล้อมภายใน
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทราบถึง จุดแข็ง จุด
อ่อน โอกาส และอุปสรรค หรือโดยทั่วไปจะ
เรียกว่าการวิเคราะห์ตามตัวแบบสว็อท (SWOT
Analysis) ได้แก่
การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength –S)
การวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness –W)
การวิเคราะห์โอกาส (Opportunity –O)รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 16

องค์การจะต้องกำาหนดและเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุด
ที่เหมาะสมกับองค์การที่สุด ผู้บริหารต้องพยายาม
ตอบคำาถามว่าทำาอย่างไรองค์การจึงจะไปถึงเป้า
หมายที่ได้กำาหนดไว้ได้ โดยใช้ความได้เปรียบใน
การแข่งขันขององค์การกำาหนดเป็นกลยุทธ์ ทั้งนี้
จะต้องคำานึงถึงระดับที่แตกต่างกันของกลยุทธ์ด้วย
ซึ่งมีทั้งสิ้น 3 ระดับ คือ
กลยุทธ์ระดับองค์การ (Corporate Strategy)
เป็นกลยุทธ์ที่ครอบคลุมและบ่งบอกถึงกลยุทธ์
โดยรวม และทิศทางในการแข่งขันขององค์การว่า
องค์การจะมีการพัฒนาไปสู่ทิศทางใด จะดำาเนินรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 17

เป็นการกำาหนดกลยุทธ์ในระดับที่ย่อยลงไป จะมุ่ง
ปรับปรุงฐานะการแข่งขันขององค์การกับคู่แข่ง และระบุ
ถึงวิธีการที่องค์การจะใช้ในการแข่งขัน มุ่งปรับปรุงฐานะ
การแข่งขันของผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น โดยอาจรวมกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกันไว้ด้วยกัน ภายในหน่วยธุรกิจเชิงกล
ยุทธ์ (Strategic Business Unit - SBU) เดียวกัน กลยุทธ์
ระดับธุรกิจของ SBU นี้จะมุ่งการเพิ่มกำาไร (Improving
Profitability) และขยายการเติบโต (Growth) ให้มาก
ขึ้น บางครั้งจึงเรียกกลยุทธ์ในระดับนี้ว่ากลยุทธ์การ
แข่งขัน (Competitive Strategy) ซึ่งโดยทั่วไปจะมีอยู่ 3
กลยุทธ์ คือ
 การเป็นผู้นำาด้านต้นทุนตำ่า (Cost Leadership)รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 18
 เป็นการกำาหนดกลยุทธ์ที่ครอบคลุมวิธีการใน
การแข่งขัน แก่ผู้เกี่ยวข้องในหน่วยงาน
(Function) ต่าง ๆ มุ่งเน้นให้แผนกงานตาม
หน้าที่พัฒนากลยุทธ์ขึ้นมา โดยอยู่ภายใต้กรอบ
ของกลยุทธ์ระดับองค์การและกลยุทธ์ระดับ
ธุรกิจ เช่น
 แผนการวิจัยและพัฒนา (Research and
Development Plan)
 แผนการผลิต (Manufacturing Plan )
 แผนการตลาด (Marketing Plan)
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 19
 การนำากลยุทธ์ไปปฏิบัติ คือกระบวนการที่ผู้บริหารแปลง
กลยุทธ์และนโยบาย ไปสู่แผนการดำาเนินงาน กำาหนด
รายละเอียดด้านต่าง ๆ เช่น ด้านงบประมาณ หรือวิธีการ
ดำาเนินงาน โดยทั่วไปจะประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ
คือ
1. ขั้นตอนของการกำาหนดแผนและการจัดสรรทรัพยากร
(Resources Allocation)
2. ขั้นตอนของการปรับโครงสร้างองค์การ เพื่อรองรับ
การเปลี่ยนแปลงของการใช้กลยุทธ์และการใช้ทรัพยากร
เป็นต้น
3. ขั้นตอนของการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในส่วนของระบบ
และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เช่น เรื่องระบบข้อมูล
ข่าวสาร ระบบบริหารบุคคล (การให้การศึกษา การรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 20
 General plan of major action to
achieve long-term goals
Falls into three general
categories
1. กลยุทธ์เจริญเติบโต Growth
2. กลยุทธ์คงที่ Stability
3. กลยุทธ์ถดถอย Retrenchment
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 21
A separate grand
strategy can be
defined for global
operations
22รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย (Target
Customer)
 ต้นทุนที่แข่งขันได้ (Competitive
Cost)
 ความสามารถหลักขององค์กร (Core
Competence)
 ข้อได้เปรียบเชิงแข่งขันของกิจการ
(Competitive Advantage)
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 23
ทรัพยากรขององค์กร ประกอบ
ด้วย
◦ทรัพยากรที่มีตัวตน Tangible
Assets เช่น เงินทุน บุคลากร
องค์กร สินทรัพย์อื่น เช่น
เครื่องจักร อุปกรณ์
◦ทรัพยากรที่ไม่มีตัวตน
Intangible Assets เช่นรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 24
 เป็นความสามารถที่องค์กรทั่วๆไป
พัฒนาเข้าถึงได้ เป็นการผสมผสาน
ระหว่างสินทรัพย์ บุคลากร
กระบวนการ หรือเป็นความสามารถใน
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด Output
ที่สามารถวัดได้ถึงประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ ความรวดเร็ว การตอบ
สนองและคุณภาพ ขององค์กรนั้นๆ
   รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 25
 ถือเป็นจุดแข็งขององค์กร นำาไปสู่ความ
ได้เปรียบทางการแข่งขัน
 มีลักษณะสำาคัญ คือ
◦Valuable มีคุณค่าในการดำาเนินธุรกิจ
และการแข่งขันอย่างแท้จริง
◦Rare หายาก เป็นปัจจัยที่เหนือกว่าคู่
แข่งขัน หรือคู่แข่งขันในอุตสาหกรรมไม่มี
◦Imitate ไม่สามารถเลียนแบบได้ หรือรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 26
การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์
การกำาหนดทิศทางของหน่วยงาน
การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำาคัญที่จะต้อง
มุ่งเน้น / ให้ความสำาคัญเพื่อที่จะบรรลุ
วิสัยทัศน์
การกำาหนดเป้าประสงค์สำาหรับแต่ละ
ประเด็น
การกำาหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของ
แต่ละเป้าประสงค์
การกำาหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของ
แต่ละเป้าประสงค์
การกำาหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำาเพื่อให้
บรรลุเป้าประสงค์
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภัยคุกคาม (SWOT)
วิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission)
ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
เป้าประสงค์ (Goals)เป้าประสงค์ (Goals)
ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และ เป้า
หมาย (Target)
ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และ เป้า
หมาย (Target)
กลยุทธ์ (Strategies)
27รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Vision วิสัยทัศน์
สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงาน
เป็นในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า
Mission พันธกิจ
กรอบ ขอบเขต การดำาเนิน
งานของหน่วยงาน
Strategic
Issues
Strategic
Issues
ประเด็น
ยุทธศาสตร์
ประเด็นหลักต้องคำานึงถึง
ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น
Goal เป้าประสงค์
อะไรคือสิ่งที่หน่วยงาน
อยากจะบรรลุ
Key
Performance
Indicators
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงาน
สามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือ
ไม่
TargetTarget เป้าหมาย
ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัด
ที่จะต้องไปให้ถึง
Strategy กลยุทธ์
สิ่งที่หน่วยงานจะทำาเพื่อให้
บรรลุเป้าประสงค์
28รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 พันธกิจ
(Mission) บอก
ให้รู้ถึงขอบเขต
การดำาเนินงาน
ของหน่วยงาน
บอกให้รู้ถึง
สาเหตุของการ
ดำารงอยู่ และมุ่ง
เน้นที่บทบาท
 วิสัยทัศน์ บอก
ให้รู้ถึงสิ่งที่
หน่วยงานอยาก
จะหรือต้องการ
จะเป็นใน
อนาคต บอกให้
รู้ถึงเส้นทางเดิน
ของหน่วยงาน
ในอนาคต
29รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Strategic Formulation
Where do we go from here ?
Where are we now ?
Where do we want to go?
How will we get there ?
30รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รู้จักสภาวะ
แวดล้อม
รู้จักตนเอง
รู้จักคู่แข่ง
รู้จักอนาคต
31รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
องค์การ
Competitive Environment
General Environment
สังคม
การเมือง
ต่างประเทศ
เศรษฐกิจ
เทคโนโลยี
แรงงาน
ผู้ส่งวัตถุดิบ
ลูกค้า
คู่แข่ง
ชุมชน
ผู้มีส่วนได้เสียคู่ค้า
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การ
32รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 Political Environment
 Economic Environment
 Social Environment
 Technological Environment
 Demographic Environment
 International Environment
33รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์
การกำาหนดทิศทางของหน่วยงาน
การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำาคัญที่จะต้อง
มุ่งเน้น / ให้ความสำาคัญเพื่อที่จะบรรลุ
วิสัยทัศน์
การกำาหนดเป้าประสงค์สำาหรับแต่ละ
ประเด็น
การกำาหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของ
แต่ละเป้าประสงค์
การกำาหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำาเพื่อให้
บรรลุเป้าประสงค์
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภัยคุกคาม (SWOT)
วิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission)
ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
เป้าประสงค์ (Goals)
ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และ เป้า
หมาย (Target)
กลยุทธ์ (Strategies)
34รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 2
เป้าประสงค์ ข้อที่ 1
เป้าประสงค์ ข้อที่ 2
เป้าประสงค์ ข้อที่ ......
เป้าประสงค์ ข้อที่ 1
เป้าประสงค์ ข้อที่ 2
เป้าประสงค์ ข้อที่ ......
35รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
กลยุทธ์ เป็นสิ่งที่หน่วยงานจะทำา
หรือ ดำาเนินการ เพื่อให้บรรลุ
เป้าประสงค์ที่ตั้งไว้
เป้าประสงค์แต่ละประการ จะต้อง
มีกลยุทธ์มารองรับ
กลยุทธ์เป็นการมองถึงสิ่งที่จะ
ทำาให้บรรลุเป้าประสงค์ แต่ยังไม่
ลงไปในรายละเอียดถึงขั้นของ
โครงการ
36รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Where are we now?
ปัจจุบันเราอยู่ ณ จุดไหน?
Where do we want to go?
เราต้องการไปสู่ จุดไหน?
How do we get
there?
เราจะไปสู่จุดนั้นได้
อย่างไร?
SWOT Analysis
Vision and Goals
Strategies
37รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Top - Down
◦แปลงจากนโยบายของรัฐบาล
หรือ ของหน่วยงานในระดับที่อยู่
เหนือขึ้นไป
◦จากผลการวิเคราะห์ SWOT
◦จากสิ่งที่ผู้บริหารคิด หรือ อยากจะ
ทำา
Bottom – Up
◦เปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วน
ร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น 38รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รุก
(aggressive)
พัฒนาองค์การ
(turnaround)
ป้องกัน/แตกตัว
(defend/diversify)
ประคองตัว/ถอย
(retrenchment)
จุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาส
ภัยคุกคาม
การกำาหนดกลยุทธ์การดำาเนินงานการกำาหนดกลยุทธ์การดำาเนินงาน
39รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
การกำาหนดกลยุทธ์
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
โครงการและสิ่งที่จะ
ดำาเนินการเพื่อให้
สอดคล้องกับกลยุทธ์
หน่วยงานที่รับผิด
ชอบ
งบประมาณที่จะต้องใช้
สำาหรับแต่ละโครงการ
กลยุทธ์ (Strategies)
หน่วยงานที่รับผิดชอบกลยุทธ์
แต่ละข้อ
โครงการ (Project)
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ของแต่ละโครงการ
งบประมาณที่จะเสนอขอ
40รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
การวิเคราะห์แรงกดดัน 5 ประการ
ของการแข่งขัน
(FIVE - FORCE ANALYSIS)
Michael E. Porter
Threat of Entry
* Entrants *
Industry Competitors
*Intensity of Rivalry*
Threat of Substitutes
* Substitutes*
Supplier Power
* Suppliers *
Buyer Power
* Buyers *
Threat
Bargaining
Power
Bargaining
Power
Threat
41
41รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 42
customer
Global
social competitive
Technology
Legal
Economics
Business
42
วิเคราะห์ลูกค้า
ลูกค้าของเราเป็นใคร
เขาต้องการอะไร
ทำาไมถึงต้องมาซื้อของ
เรา
ใครเกี่ยวข้องบ้างในการ
ตัดสินใจ
ซื้อที่ไหน
ซื้อเมื่อไร
: WHO ?
: WHAT ?
: WHY?
: WHO
PARTICIPATES ?
: WHERE ?
: WHEN ?
: HOW ? 43
43รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
อายุ
เพศ
รายได้
ศาสนา
ชั้นทางสังคม
การศึกษา
อาชีพ
เชื้อชาติ
ขนาดของ
ครอบครัว
วงจรชีวิตของ
ครอบครัว
Old
44
44รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
A = Activities
I = Interest
O = Opinion
New
45
45รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 การ
ทำางาน
 งาน
อดิเรก
 สังคม
 วันหยุด
 ความ
บันเทิง
 สมาชิก
คลับ
 ครอบครั
ว
 บ้าน
 งาน
 ชุมชน
 การพัก
ผ่อน
 แฟชั่น
 อาหาร

กิจกรรม ความสนใจ ความคิดเห็น
การเมื
อง
ธุรกิจ
เศรษฐ
กิจ
การ
ศึกษา
ผลิตภั
46
46รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
S.W.O.T AnalysisS.W.O.T Analysis
S = STRENGTHS
จุดแข็งW = WEEKNESSES
จุดอ่อนO = OPPORTUNITIES
โอกาสT = THREATS
ปัญหา 47รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
STRENG
THS
WEAKNES
SES
OPPORTUN
ITIES
THREAT
S
กลยุทธ์ร่วมดำาเนิน
การ
Joint Venture
etc.
กลยุทธ์ชะลอหรือ
หลีกเลี่ยง
Retrenchment or
Divestitures
กลยุทธ์เชิงรุก
Proactive
กลยุทธ์เพิ่ม
คุณภาพหรือ
ปรับปรุงจุดอ่อน
Improve 48รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
SO : use its strengths to take advantage of
opportunities
ST : consider a strength to avoid threat
WO : take advantage of opportunities by
overcoming weaknesses
WT : defensive and act to minimize
weaknesses and avoid threats
49รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
50
SO-Strategies WO-Strategies
ST-Strategies WT-Strategies
Strength (S) Weakness(W)
Opportunity (O)
Threat (T)
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 A strategy defines the business direction, its
scope, and it will seek competitive
advantage
 The strategic fit between the internal
aspects of an organisation and the external
environment determines competitive
advantage
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 51
Competitive advantage is
thus created by distinctive,
valuable, firm-specific
resources that competitors
are unable to reproduce
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 52
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 53
Sweet spot คือจุดที่ผสมผสานกัน
ระหว่างการตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้า และความสามารถของ
กิจการ
5454รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
วิสัยทัศน์ (Vision) คือ ภาพ หรือ
ตำาแหน่ง ที่องค์กรต้องการเป็นใน
อนาคต - What we want to be
พันธกิจ (Mission) คือ มีภารกิจอะไร
ที่ทำาให้เราไปถึงสิ่งที่ต้องการใน
อนาคตได้
Vision and MissionVision and Mission
55
55รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Overall Cost
Leadership
Overall Cost
Leadership
DifferentiationDifferentiation
Customer FocusCustomer Focus
Product
Leadership
Product
Leadership
56
56รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 General plan of major action to achieve long-term
goals
 Falls into three general categories
1. Growth
2. Stability
3. Retrenchment
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 57
A separate grand
strategy can be
defined for global
operations
PEST Model
Stakeholder Model
Stakeholder
External Factor Model การ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ทางธุรกิจ
58รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 59
เป็นกระบวนการขั้นแรกของการจัดการ
เชิงกลยุทธ์เพื่อ กำาหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
องค์การ
สภาพแวดล้อมแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
สภาพแวดล้อมทั่วไป (general
environment)
สภาพแวดล้อมในการดำาเนินการ (operating
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ของธุรกิจ
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 60
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 61
Sources: Based on Howard H. Stevenson, “ Defining Corporate Strengths and Weaknesses,” Sloan Management Review 17 (spring 1976), 51-68; and M.L.Kastens, Long-
Range Planning for Your Business (New York: American Management Association, 1976).
Management and Organization
Management quality
Staff quality
Degree of centralization
Organization charts
Planning, information,
control systems
Finance
Profit margin
Debt-equity ratio
Inventory ratio
Return on investment
Credit rating
Marketing
Distribution channels
Market share
Advertising efficiency
Customer satisfaction
Product quality
Service reputation
Sales force turnover
Production
Plant location
Machinery obsolescence
Purchasing system
Quality control
Productivity/efficiency
Human Resources
Employee experience,
education
Union status
Turnover, absenteeism
Work satisfaction
Grievances
Research and Development
Basic applied research
Laboratory capabilities
Research programs
New-product innovations
Technology innovations
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 62
Source: Developed from Michael E. Porter, Competitive Strategy (New York: Free Press, 1980).
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 63
Inbound
Logistics
Inbound
Logistics
Operations
(Manufacturing)
Operations
(Manufacturing)
Outbound
Logistics
Outbound
Logistics
Marketing
and Sales
Marketing
and Sales
After Sale
Service
After Sale
Service
ProcurementProcurement
PRIMARY ACTIVITIESPRIMARY ACTIVITIES
Technology DevelopmentTechnology Development
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Firm InfrastructureFirm Infrastructure
SUPPORTSUPPORT
ACTIVITIESACTIVITIES
MARGINMARGIN
Value Chain : Michael E. Porter
64รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
กิจกรรมหลักแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
• กิจกรรมด้านขาเข้า (Inbound Logistics) ได้แก่
กิจกรรมที่เกี่ยวกับการรับ การจัดเก็บ และการนำาปัจจัยการ
ผลิตสินค้าและการบริการ เช่น การจัดการวัตถุดิบ คลัง
สินค้า การจัดลำาดับการขนส่ง การส่งคืนสินค้าแก่ผู้
จำาหน่ายวัตถุดิบ
• กิจกรรมการปฏิบัติการ (Operations) เป็นกิจกรรม
ที่เกี่ยวกับการแปลงปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้า เช่นการใช้
เครื่องจักร การบรรจุภัณฑ์ การประกอบผลิตภัณฑ์ การ
บำารุงรักษาเครื่องจักร
• กิจกรรมด้านขาออก (Outbound Logistics) เป็น
กิจกรรมที่เกี่ยวกับการรักษาสินค้าสำาเร็จรูป การกระจาย
สินค้าไปยังผู้บริโภค 65รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
•กิจกรรมการตลาดและการขาย (Marketing and
Sale) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการจัดซื้อ โดยผู้ซื้อจะเข้าถึงและ
ซื้อสินค้า เช่นโฆษณา ส่งเสริมการขาย การเสนอราคา
• กิจกรรมการบริการ (Services) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับ
การบริการเพื่อให้รักษาคุณค่าของสินค้าไว้ เช่น การติดตั้ง
การซ่อม การฝึกอบรม
กิจกรรมสนับสนุนแบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม
• กิจกรรมการจัดซื้อจัดหา (Procurement)
• กิจกรรมการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (HRM)
• กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Dev.)
• กิจกรรมโครงสร้างสนับสนุนอื่นๆ ( Firm Infrastructure)
66รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 67
1.ปัจจัยด้านการผลิต (Factor Condition) ประกอบ
ด้วย ทรัพยากรมนุษย์อันได้แก่ ปริมาณของแรงงาน
ประเภทต่างๆ,ทักษะของแรงงาน, ต้นทุนแรงงาน
ทรัพยากรกายภาพ (Physical Resources) ได้แก่
ที่ดิน, แร่ธาตุ, ป่าไม้, พลังงาน ทรัพยากรความรู้
(Knowledge resources) ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญทาง
วิทยาศาสตร์ Technique, Marketing, ระบบ
ข้อมูลการวิจัยและพัฒนาด้านต่างๆ ทรัพยากรทุน
(Capital resources) ปริมาณแหล่งทุน และต้นทุน
โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ปริมาณและ
ต้นทุนของการใช้ เช่น การขนส่ง, การสื่อสาร,
Internet, ระบบการโอนเงิน, สาธารณสุข, ที่อยู่รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 68
 2.ปัจจัยด้านตลาด (Demand Condition)
ประกอบด้วย ลักษณะความต้องการของ
สินค้า และบริการของอุตสาหกรรม ถ้า
ความต้องการภายในประเทศกดดันให้ผู้
ประกอบการมีนวัตกรรมที่รวดเร็วประเทศ
จะมีข้อได้เปรียบ และเป็นเลิศในการ
ปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดังนั้นในการ
ประเมินต้องพิจารณาโครงสร้างความ
ต้องการของแต่ละ Segment, ขนาดของ
ความต้องการ, ความคาดหวัง, การเติบโต
ของความต้องการ และการขยายตัวสู่ความ
ต้องการในต่างประเทศรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 69
 3.อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน (Relate &
Support Industry) อุตสาหกรรมไม้และเครื่อง
เรือนมีอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้แก่อุตสาหกรรม
ไม้แปรรูปและชิ้นส่วน มีอุตสาหกรรมสนับสนุน
ได้แก่ กาว สี อุปกรณ์อุตสาหกรรม เครื่องจักร และ
บริการออกแบบ ประเทศไทยยังขาดอุตสาหรรม
สนับสนุนที่จะสร้างศักยภาพการแข่งขัน (ยกเว้น
อุตสาหกรรมไม้แปรรูป)
 4. กลยุทธ์โครงสร้างและการแข่งขัน (Firm
Strategy , Structure and Rivalry)
การจัดการและกลยุทธ์การแข่งขันทางธุรกิจที่
เลือกใช้อย่างเหมาะสม ตลอดจนความสามารถใน
การพัฒนาธุรกิจส่งผลให้มีการพัฒนาเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 70
CAUSES OF
FAILURE
ลุ่มหลงกับความสำาเร็จในอดีต
(Softened by success)
มองไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
(See no evil)
กลัวนายมากกว่าการแข่งขัน (Fearing
the boss than the competition)
มีความเสี่ยงที่มากเกินไป (บ้าบิ่น)
(Overdosing on risk)
ยุทธศาสตร์การนำาองค์กร
P Watanapaรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 71
ให้ความสนใจนักวิเคราะห์และนักลงทุน
มากกว่าเสียงพนักงาน (Listening to
Wall Street more than employees)
กลยุทธ์ไม่นิ่ง (Strategy du jour)
วัฒนธรรมองค์กรที่น่ากลัว (Dangerous
corporate culture)
เข้าไปในห่วงโซ่ของความล้มเหลว
(The new-economy death spiral)
กรรมการใหญ่ไม่มีประสิทธิภาพ
(Dysfunctional board)รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 72
 เป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยวัดจาก
ปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
1. ส่วนแบ่งตลาด มากกว่าแค่ไหน
2. ต้นทุนเปรียบเทียบกับคู่แข่ง มากกว่าแค่ไหน
3. ความสามารถในการแข่งขันกับคู่แข่งขัน
มากกว่าแค่ไหน
4. ความสามารถในการต่อรอง กับผู้
ขาย(วัตถุดิบ) และผู้ซื้อ (ผู้แทนจำาหน่าย)
5. ความสามารถในการเป็นพันธมิตร มีมากหรือ
ไม่
6. ความสามารถในการใช้กลยุทธ์
7. ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี่รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 73
ธุรกิจต้องพยายามสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะ
ไม่เหมือนใครเพื่อเกิดคุณค่าสูงในด้านต่าง
ๆ ได้แก่
 รูปร่างของผลิตภัณฑ์ product features
 บริการหลังการขายafter-sales services
 ภาพลักษณ์ที่พึงปรารถนา image
 นวตกรรมเทคโนโลยี innovation
 ชื่อเสียงของกิจการ reputation
 การผลิตสมำ่าเสมอ consistency
 การแสดงสถานภาพ status symbol
 การเป็นผู้นำาด้านต้นทุน Cost leadershipรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 74
มีผลทำาให้ได้เปรียบคู่แข่งขัน
ธุรกิจสามารถทำาได้โดย
* การลดขนาดองค์กรให้
กะทัดรัดDownsizing
* การลดของเสีย Zero Defect
* การพัฒนาเทคโนโลยี
Technology
* ซัพพลายเออร์ Supplier
* ช่องทางการจัดจำาหน่ายที่
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 75
 Growth can be promoted internally by
investing in expansion or externally by
acquiring additional business divisions
-เจริญเติบโตจากภายใน Internal
growth = can include development of new
or changed products
-เจริญเติบโตจากภายนอก
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 76
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
การมุ่งความเชี่ยวชาญ
Concentration
การประสมประสานแนวดิ่ง
Vertical Integration
การประสมประสานแนวนอน
Horizontal Integration
การกระจายธุรกิจ
Diversification 77
 มีความสามารถในการสร้างความได้
เปรียบ เช่น สามารถผลิตสินค้าที่มี
คุณภาพได้ มีความสามารถหลักใน
เชิงวิจัยคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ มีความคล่อง
ตัวในกระบวนการผลิต
 สามารถใช้ประโยชน์จากธุรกิจเดิมมา
ช่วยสร้างหน่วยธุรกิจใหม่ โดยใช้
ทรัพยากรเดิมที่มีอยู่
 สามารถเจาะตลาดเป้าหมายได้ คู่รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 78
 หมายถึงการกระจายการดำาเนินงานสู่ธุรกิจที่
เกี่ยวข้องกับธุรกิจปัจจุบัน
 เหตุผลของการกระจายธุรกิจที่เกี่ยวข้องคือ
1. ก่อให้เกิดขอบเขตที่ประหยัด ร่วมใช้ทรัพยากรกับ
ธุรกิจเดิม
2. การบริหารงานภายในดีขึ้น ใช้คนทรัพยากรคุ้มค่า
3. ทำาให้มีการเคลื่อนย้ายเทคโนโลยี่และความรู้ความ
สามารถระหว่างธุรกิจได้ใช้ประโยชน์ใน
เทคโนโลยีได้เต็มที่
4. มีความเหมาะสมทางด้านการจัดจำาหน่าย ใช้ผู้แทนรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 79
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 80
Product lines
Madame Marco
Confectionery
Cake
Snack Bread
Good Morning Farmhouse
Deliya
Burger Buns and Hotdog Buns
Sliced BreadWholesal
e
90.79%
Retail
3.05%
Fast Food and
Catering
5.77%
Export
0.03%
Fast Food
Catering
Fried Product
81รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Characteristics Of Product &
Service
1. WHOLESALE
- Wholesaling products include:
Sliced bread
82รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Characteristics Of Product &
Service
- Hamburger Bun and Hot Dog Bun
- Snack Bread - Snack Cake - Other Confectionery
83รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Characteristics Of Product & Service
2. RETAIL BUSINESS
- Deliya by Farmhouse - Good Morning Farm House
- Madame Marco
84รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
Characteristics Of Product & Service
3. FAST FOOD AND CATERING
4. EXPORT
85รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
COMPETITIONS
The Company’s competitors can be divided into 2
categories:-
 Retailers
 Wholesale business competitors
86รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
 หมายถึงการกระจายการดำาเนิน
งานสู่ธุรกิจใหม่ที่ไม่เกี่ยวข้อง
อย่างชัดเจนกับธุรกิจปัจจุบัน
 เหตุผลในการกระจายธุรกิจที่ไม่
เกี่ยวข้องกันคือ
1. บริษัทใช้ทรัพยากรทางการเงินได้
สูงสุด ไม่นอนไว้เฉย ๆ
2. กระจายความเสี่ยงภัยไปธุรกิจอื่น
ธุรกิจเดิมอาจมีความเสี่ยงภัย หรือรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 87
Cost Leadership
Differentiation
Strategic Scope that
focusing on a specific
segment of customers.
Quick respond toรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 88
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างของ
ผลิตภัณฑ์ Product Differentiation
เป็นกลยุทธ์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้แตกต่างจาก
คู่แข่งขัน และสนองความพึงพอใจของลูกค้า ทำาได้
ดังนี้
1.1 รูปลักษณะ Features
1.2 การทำางาน Performance
1.3 มาตรฐานการผลิต Conformance
1.4 ความทนทาน Durability
1.5 ความไว้วางใจได้ Reliability
1.6 การซ่อมแซมบำารุงรักษา
1.7 รูปแบบ Style 89
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ความแตกต่างกันด้านบริการ (Services
Differentiation)ได้แก่
ความง่ายในการสั่งซื้อ Ordering Easy
การขนส่ง Delivery
การติดตั้ง Installation
การอบรมให้ลูกค้า Training
การให้คำาแนะนำา Consulting
การให้บริการซ่อมแซมบำารุงรักษา
ความแตกต่างด้านบุคลากร Personnel
Differentiation ได้แก่
ความสามารถ Competency
ความมีนำ้าใจ Courtesy
90
ไม่ว่าจะเป็นการนำาเสนอสินค้ารูปแบบ
ใหม่ การปรับปรุงสินค้าที่ทำาให้
ลูกค้าพึงพอใจ ทำาได้หลายลักษณะดังนี้
 การพัฒนาสินค้าใหม่ Developing new
product
 ผลิตตามคำาสั่งของลูกค้า Customizing
product
 การปรับปรุงสินค้าเดิมที่จำาหน่ายอยู่
Improving existing productรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 91
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 92
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 93
Source: Developed from Michael E. Porter, Competitive Strategy (New York: Free Press, 1980).
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 94
 Strategy
 Structure
 Shared Values
 Systems
 Skills
 Style
 Staff
Staff
Style
Skills
System
Share value
Structure
strategy
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 95
ยุทธศาสตร์การนำาองค์กร
7 Ss
Analysis
What is the predominant style of
management? What is really valued at your
organization? What do the managers do
(e.g. control people or systems, enable
staff)?
Style
What are the systems which makes your
organization work (e.g., management
systems, control systems, financial
systems)?
Systems
What action plans are in place to identify
objectives and the mechanisms to achieve
them? What establishes your organization
as a place which creates unique value?
Strategy
How would you describe the structure of
your organizational systems (e.g.
hierachical, matrix)? Are there diverse
structures?
Structure
P Watanapaรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 96
ยุทธศาสตร์การนำาองค์กร
7 Ss
Analysis
Express the fundamental idea around
which your organization is built, and its
vision for the future
Superordi
nateGoal
s
What skills are most valued at your
organization?
Skills
What kind of people are recruited to your
organization? How are staff developed?
Is management responsible for
communicating values within your
organization? What motivates staff?
Staff
P Watanapaรองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 97
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 98
กลยุทธ์การดำาเนินการ
(Operations strategies)
หมายถึง ศักยภาพความ
สามารถ ในการดำาเนินการเกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ์ที่จะผลิต กระบวนการผลิต
การออกแบบขั้นตอนการผลิต และ
ทรัพยากรมนุษย์ที่ใช้ในการผลิตที่มี
การวางแผนไว้อย่างเฉพาะเจาะจงมี
การกำาหนดการใช้ทรัพยากร เพื่อ
4Ps and 4Cs of Marketing
4Ps4Ps
• Product
• Price
• Place
• Promotion
4Cs4Cs
• Customer needs and
wants
• Cost to the customer
• Convenience
• Communication
กลยุทธ์ด้านการตลาด
Marketing Strategy
99รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
การวิเคราะห์ BCG
MATRIX
100
Seller’s
services
Product
quality
Physical
Characteristics
of goods
Seller’s
reputation
Brand
Packaging
Design
Product
warranty
Color
Product
101รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำาหนดราคา
2. การแข่งขันในตลาด (Competition)2. การแข่งขันในตลาด (Competition)
3. กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ (Legal and Regulatory)3. กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ (Legal and Regulatory)
ส่วนผสมทางการตลาดอื่นๆ (Other Marketing Mส่วนผสมทางการตลาดอื่นๆ (Other Marketing M
1. ความต้องการของตลาด (Demand)
5. ต้นทุน (Costs)5. ต้นทุน (Costs)
102รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ขายตรง ตามบ้าน สำานักงาน เพื่อน
ผู้ปกครอง
เปิดบูท เปิดท้าย ตามงานต่างๆ เช่น
งานกาชาด อาคารสำานักงาน งาน
โรงเรียน
ฝากขายตามร้าน
Internet
103รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
4Ps and 4Cs of Marketing4Ps and 4Cs of Marketing
4Ps4Ps
• Product
• Price
• Place
• Promotion
4Cs4Cs
• Customer needs
and wants
• Cost to the
customer
• Convenience
• Communication 104รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด (Promotion Mixs)
ตลาดเป้าหมาย
การโฆษณา
(Advertising)
การส่งเสริม
การขาย
(Sales Promotion)
การประชาสัมพันธ์
(Public Relation)
การตลาดทางตรง
(Direct Marketing)
การตลาด
เหตุการณ์พิเศษ
(Event Marketing)
105รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 106
กลยุทธด้านสถานที่ (Location
Strategy)
หมายถึง การวางแผนการปฏิบัติ
งานที่ทำาให้องค์การได้เปรียบคู่แข่งขันทั้ง
ในด้านที่ตั้งของสำานักงานใหญ่ โรงงาน
ผลิต บริการ การจำาแนกแจกจ่ายสินค้า
ปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณากลยุทธ์ด้าน
สถานที่ตั้งคือพิจารณาว่าสถานที่ตั้งนั้นเป็น
ศูนย์กลางใกล้กับตลาดลูกค้าและการจัด
จำาหน่าย ใกล้แหล่งทรัพยากร ต้องมีการ
ติดต่อกับหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานที่
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 107
กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
(Product Strategy)
เป็นองค์ประกอบสำาคัญของ
การดำาเนินการ การควบคุม
คุณภาพทุกขั้นตอน เช่น การ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมทั้งการมี
ความสัมพันธ์กันเช่นหน้าที่ทางการ
ตลาด การวิจัยและพัฒนาเป็นสิ่งที่
จะต้องเหมาะสมกันและควบคู่กัน
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
หลักในการออกแบบผลิตภัณฑ์ Product
Design1. การออกแบบที่ดีควรมีลักษณะของ
นวัตกรรมใหม่
2. การออกแบบที่ดีควรเป็นประโยชน์ในตัว
ผลิตภัณฑ์
3.การออกแบบที่ดีควรถูกหลักสุนทรียภาพ
4. การออกแบบที่ดีต้องถูกหลักโครงสร้าง
5. การออกแบบที่ดีไม่สร้างปัญหาอุปสรรคตาม
มา
6. การออกแบบที่ดีต้องอยู่บนความซื่อสัตย์
108
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด Promotion Strategy
คำานึงถึงการติดต่อสื่อสารที่ดี เน้นคุณภาพ ความ
ปลอดภัย รับผิดชอบต่อสังคมในด้าน
* การโฆษณา (Advertising) ควรเลือกใช้สื่อใดใน
การโฆษณา
* การส่งเสริมการขาย (Sale Promotion) ทำาในรูป
แบบใดที่มุ่งเน้นยอดขาย
* การขายโดยใช้พนักงานขาย (Personal Selling)
* การประชาสัมพันธ์ (Publicity)
การควบคุมและประเมินผลทางการตลาดควร
พิจารณาจากการขาย เช่น การทำางานของพนักงาน
ขาย การติดตามลูกค้า ปัญหาที่เกิดจากการขาย 109
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 110
กลยุทธ์ด้านกระบวนการ (Process
Strategy)
หมายถึง การกำาหนด
กระบวนการผลิตหรือการให้บริการ เช่น
วัตถุดิบที่ใช้ พนักงานที่ต้องการ เครื่องมือ
เครื่องจักร ทักษะทางการบริหาร ชนิดของ
กระบวนการแบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ
1. กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง
(Continuous process) หมายถึง การผลิต
ผลิตภัณฑ์จำานวนมาก
2. กระบวนการผลิตแบบ (Repetitive
process) หมายถึง การผลิตหลายรายการ
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 111
กลยุทธ์การออกแบบจัดวางผัง (Layout
Strategy)
หมายถึง การวางแผนสายทางเดินของทรัพยากรตั้งแต่
การนำาเข้า การหมุนเวียนไปสู่การผลิต และภายใน
ระหว่างการผลิต จะต้องประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำาเนิน
การ เช่น ประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง การเก็บ
รักษา เพราะมีผลต่อต้นทุนการผลิต การออกแบบ
ทางการผลิตประกอบด้วย
1. การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product layout)
หมายถึง การกำาหนดแผนผังสำาหรับการผลิตเริ่มตั้งแต่
การนำาวัตถุดิบเข้ามาสู่กระบวนการผลิต
2. การออกแบบกระบวนการ (Process layout)
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 112
กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์
(Human Resources Strategy)
กลยุทธ์์ทางด้านการบริหารทรัพยากร
มนุษย์ ประกอบด้วย
การวางแผนกำาลังคน (Manpower planning)
การจัดหาบุคลากรที่เหมาะสม
การอบรมพนักงาน
การออกแบบงาน (Job Design)
การวิเคราะห์งาน (Work methods analysis)
การศึกษาการเคลื่อนไหวในการทำางาน (Motion
study technique)
การศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการทำางานและ
การวัดผลการทำางาน (Work measurement
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 113
การจัดการเชิงกลยุทธ์จะเน้นที่การนำา
กลยุทธ์ไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมกับสภาพ
แวดล้อมขององค์การ โดยการปฏิบัติตาม
กลยุทธ์จะต้องกระจายการปฏิบัติไปยังหน่วย
งานต่าง ๆ ตามหน้าที่และมีการประสานกัน
ระหว่างหน้าที่เช่นการปฏิบัติกลยุทธ์ทางด้าน
การผลิต กลยุทธ์ทางด้านการตลาด กลยุทธ์
ทางการเงิน การปฏิบัติตามกลยุทธ์ตาม
หน้าที่เหล่านี้จะต้องมีการประสานกันเพื่อ
ทำาให้บรรลุวิสัยทัศน์ขององค์การ
การนำากลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategic
Implementation)
 Strategy
 Structure
 Shared Values
 Systems
 Skills
 Style
 Staff
Staff
Style
Skills
System
Share value
Structure
strategy
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 114
ยุทธศาสตร์การนำาองค์กร
7 Ss
Analysis
What is the predominant style of
management? What is really valued at
your organization? What do the
managers do (e.g. control people or
Style
What are the systems which makes
your organization work (e.g.,
management systems, control
systems, financial systems)?
Systems
What action plans are in place to
identify objectives and the
mechanisms to achieve them? What
establishes your organization as a
place which creates unique value?
Strategy
How would you describe the structure
of your organizational systems (e.g.
hierachical, matrix)? Are there diverse
structures?
Structure
115รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
ยุทธศาสตร์การนำาองค์กร
7 Ss
Analysis
Express the fundamental idea around
which your organization is built, and
its vision for the future
Superord
inate
Goals
What skills are most valued at your
organization?
Skills
What kind of people are recruited to
your organization? How are staff
developed? Is management
responsible for communicating values
within your organization? What
motivates staff?
Staff
116รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
‘blue ocean’ strategies build new business where
none existed, giving innovative entries clear sailing
 The core element of a ‘blue ocean’ strategy is ‘value
innovation’, that is, tangible product advancements
accompanied by demonstrable savings
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 117
 The six principles of a ‘blue ocean’
strategy:
1. มองหาตลาดใหม่ Reconstruct market boundaries
2. มองภาพกว้าง ๆ Focus on the big picture,
not the numbers
3. ตอบสนองความต้องการของลูกค้าบางกลุ่ม Reach
beyond existing demand
4. จัดวางกลยุทธ์ได้เหมาะสม Get the strategic
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 118
กลยุทธ์การบูรณาการในแนว
ดิ่งVertical integration extends a firm’s competitive
scope within same industry
◦ BACKWARD into sources of supply
◦ FORWARD toward end-users of final product
 Moves to vertically integrate can aim at becoming
◦ FULLY INTEGRATED
◦ PARTIALLY INTEGRATED
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 119
VERTICAL INTEGRATION STRATEGIES
Integrative growth strategies
To increase profitability, efficiency, or control (reduce risk) :
 Backward Integration
Forward Integration
Horizontal Integration
120รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
To exploit better growth opportunities outside the current business domain:
 Concentric Diversification (Core Competence)
การกระจายธุรกิจแบบเกาะกลุ่ม
Horizontal Diversification (Customer Base)
การกระจายธุรกิจในแนวนอน เช่น ธนาคารไทยพาณิชย์
ให้บริการทางด้านเงินฝากและสินเชื่อ ยังมีการให้บริการทาง
ด้านประกันภัย
Conglomerate Diversification (Capital)
การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม
เช่น กลุ่ม CP เริ่มจากกลุ่มอาหารขยายไปสู่ธุรกิจโทรคมนาคม
Diversification growth strategies
( กลยุทธ์การเจริญเติบโตแบบกระจายธุรกิจ )
121รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
122รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 123
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช124
กระเบื้อง เคมีภัณฑ์ เยื่อกระดาษ ปูนซิเมนต์
อุปกรณ์ก่อสร้าง ร้านจำาหน่าย
 First-mover advantages arise WHEN
◦ Pioneering helps build firm’s image & reputation
◦ Early commitments to raw material suppliers, new
technologies, & distribution channels can produce
cost advantage
◦ Loyalty of first time buyers is high
◦ Moving first can be a preemptive strike
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 125
Balanced Scorecard
มุมมองทางด้านการเงิน
- (การเพิ่มรายได้; การมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในการผลิต)
มุมมองทางด้านลูกค้า
- (การตระหนักด้านการตลาด, ความพอใจของ
ลูกค้า, ตลาดใหม่)
มุมมองภายในองค์กร
◦ (นวัตกรรม, ระบบการดำาเนินงานมี
ประสิทธิภาพ, ความสามารถในองค์กร)
มุมมองทางด้านการเรียนรู้และการ
เติบโต
◦ (การพัฒนาพนักงาน, ความพอใจของพนักงาน,126รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
.มุมมองด้านการเงิน (Financial
Perspective)
.มุมมองด้านลูกค้า (Customer
Perspective)
.มุมมองด้านกระบวนการภายใน
(Internal Process Perspective)
.มุมมองด้านการเรียนรู้และการ
พัฒนา รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 127
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 128
รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช 129
o ตลาดกลายเป็นตลาดระดับโลก
o ขนาดและขอบเขตของธุรกิจขยาย
ใหญ่ขึ้น
o วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์สั้นลง
o มีความจำาเป็นต้องลงทุนอย่างมหาศาล
o ธุรกิจดำาเนินการในตลาดที่มีความ
ผันผวนสูง
131รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
o ความร่วมมือระหว่างธุรกิจในการรวม
ทรัพยากรและความสามารถบาง
อย่างในการสร้างความได้เเปรียบในการ
แข่งขัน
◦การแลกเปลี่ยนและแบ่งปันทรัพยากร
และความสามารถเพื่อที่จะพัฒนา
สินค้าหรือบริการรวมกัน
◦ช่วยให้บริษัทสามารถจัดการกับ
ทรัพยากรและความสามารถของตนที่
มีอยู่กับผู้เป็นพันธมิตรเพื่อสร้างความ 132รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
o เพื่อปรับปรุงฐานะทางการแข่งขันของธุรกิจ
เมื่อเผชิญหน้ากับคู่แข่ง การเป็นพันธมิตร
ทางกลยุทธ์อาจช่วยป้องกันการเข้าสู่ตลาด
ของคู่แข่งขันรายใหม่
o ผู้ร่วมเป็นพันธมิตรอาจใช้การเป็นพันธมิตร
เพื่อให้ได้ความสามารถหลักใหม่สำาหรับ
ธุรกิจหลักของตน
o เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการขายสำาหรับ
ตลาดต่างประเทศ
o เพื่อสนับสนุนการตลาดที่มีประสิทธิภาพ
ผ่านทางผู้กระจายสินค้า 133รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
o เพื่อปรับปรุงฐานะทางการแข่งขัน เมื่อไม่มี
หุ้นส่วนรายใดเตรียมที่จะเลิกกิจการอย่าง
สิ้นเชิง
o เพื่อบรรลุการประหยัดจากขนาดและจาก
ขอบเขตการดำาเนินงาน
o เพื่อจัดโครงสร้างใหม่ให้กับภาคธุรกิจที่มีคู่
แข่งมาก
o เพื่อเปลี่ยนทิศทางการดำาเนินงานของธุรกิจ
o เพื่อความร่วมมือกันทางด้านการวิจัยและ
เหตุผลในการเป็นพันธมิตร
ทางธุรกิจ (ต่อ)
134รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
o เพื่อลดต้นทุนการลงทุนใหม่ที่อาจก่อเพื่อลดต้นทุนการลงทุนใหม่ที่อาจก่อ
ให้เกิดความเสี่ยง โดยเฉพาะการให้เกิดความเสี่ยง โดยเฉพาะการ
ลงทุนในด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ลงทุนในด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่
o เพื่อเอาชนะลักษณะพิเศษของตลาดเพื่อเอาชนะลักษณะพิเศษของตลาด
ท้องถิ่นท้องถิ่น
o เพื่อบรรลุความมีประสิทธิผลทางการเพื่อบรรลุความมีประสิทธิผลทางการ
เงิน โดยการเข้ายึดครองธุรกิจอื่นเพื่อเงิน โดยการเข้ายึดครองธุรกิจอื่นเพื่อ
ให้ได้สินทรัพย์ที่ตีค่าตำ่าเกินจริงให้ได้สินทรัพย์ที่ตีค่าตำ่าเกินจริง
เหตุผลการเป็นพันธมิตรทาง
ธุรกิจ (ต่อ)
135รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
แสวงหาหุ้นส่วน
หรือ
ผู้ที่เหมาะสมใน
การเป็นพันธมิตร
ทางธุรกิจ
แสวงหาหุ้นส่วน
หรือ
ผู้ที่เหมาะสมใน
การเป็นพันธมิตร
ทางธุรกิจ
พิจารณา หรือ
หาความจำาเป็นใน
การสร้างพันธมิตร
ทางธุรกิจ
พิจารณา หรือ
หาความจำาเป็นใน
การสร้างพันธมิตร
ทางธุรกิจ
เจรจาร่วมกันเพื่อ
สร้างข้อตกลง
เจรจาร่วมกันเพื่อ
สร้างข้อตกลง
ดำาเนินการตามข้อ
ตกลง /
ความร่วมมือ
ดำาเนินการตามข้อ
ตกลง /
ความร่วมมือ
สร้างความไว้
วางใจและการยึด
มั่นตามข้อตกลง
ร่วมกัน
สร้างความไว้
วางใจและการยึด
มั่นตามข้อตกลง
ร่วมกัน
ประเมินผลการเป็น
พันธมิตรทางธุรกิจ
ประเมินผลการเป็น
พันธมิตรทางธุรกิจบรรลุเป้าหมาย
หรือไม่
ไม่
ยุติการเป็นพันธมิตร หรือ
ทบทวนการดำาเนินงาน
ไม่
ยุติการเป็นพันธมิตร หรือ
ทบทวนการดำาเนินงาน
บรรลุเป้าหมาย
ร่วมกันเป็นพันธมิตรต่อไป หรือ
เพิ่มระดับความเกี่ยวข้องกัน
บรรลุเป้าหมาย
ร่วมกันเป็นพันธมิตรต่อไป หรือ
เพิ่มระดับความเกี่ยวข้องกัน
ขั้นตอนการเป็นพันธมิตรทา
เลือกรูปแบบใน
การเป็นพันธมิตร
ทางธุรกิจ
เลือกรูปแบบใน
การเป็นพันธมิตร
ทางธุรกิจ
136รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
oการร่วมมือด้านการตลาด
oการร่วมมือด้านการผลิตและ
การดำาเนินงาน
oการร่วมมือทางด้านวิจัยและ
พัฒนา
oการร่วมมือทางด้านการจัดหา
oการร่วมมือทางด้านทรัพยากร
เชิงกลยุทธ์ 137รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
oพันธมิตรแบบเซ็นสัญญา
(Contractual Agreement)
เป็นความร่วมมือระหว่างสอง
องค์กรขึ้นไป โดยมีการเซ็นสัญา
กันเพื่อร่วมดำาเนินกิจกรรมทาง
ธุรกิจกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง
เช่น การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี 138รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
oพันธมิตรแบบธุรกิจร่วมทุน (Joint
Venture)
เป็นความร่วมมือกันด้านทุน โดย
เป็นการร่วมทุนกันในการจัดตั้ง
องค์กรธุรกิจขึ้นใหม่ร่วมกัน ซึ่งมีการ
ดำาเนินงานที่แยกออกจากธุรกิจ หรือ
องค์การเดิม เพื่อดำาเนินงานอย่างใด 139รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
oพันธมิตรแบบเข้ามาถือหุ้น
ระหว่างกัน
o (Minority Equity
Agreement)
เป็นความร่วมมือกันด้านทุนใน
การประกอบธุรกิจ เช่น การแลก
เปลี่ยนหุ้นระหว่างกัน หรือ การ
เข้าถือหุ้นอีกฝ่ายหนึ่ง การ
ประเภทของพันธมิตรทางธุรกิจโดย
พิจารณาจากรูปแบบความร่วมมือ
140รองศาสตราจารย์ ดร.เนตร์พัณณา ยาวิราช
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ

More Related Content

What's hot

Leadership
LeadershipLeadership
Leadershippapatsa
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข0868472700
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?NIDA Business School
 
Organization design
Organization designOrganization design
Organization designKan Yuenyong
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 

What's hot (20)

Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
 
06 ma
06 ma06 ma
06 ma
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
 
Organization design
Organization designOrganization design
Organization design
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 

Viewers also liked

Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้วChapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้วAkarawat Thanachitnawarat
 
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆChapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆAkarawat Thanachitnawarat
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp universitythammasat university
 
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)Akarawat Thanachitnawarat
 
Anshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid modelAnshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid modelSatyajeet Mishra
 
กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ
กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำกลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ
กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำDrDanai Thienphut
 
eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)Navik Numsiang
 
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยันChapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยันAkarawat Thanachitnawarat
 
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...NIDA Business School
 
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้านChapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้านAkarawat Thanachitnawarat
 
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟChapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟAkarawat Thanachitnawarat
 
Nestle Strategic Model
Nestle Strategic ModelNestle Strategic Model
Nestle Strategic ModelHammad Rasheed
 
Ansoff's Product Market Expansion Grid
Ansoff's Product Market Expansion GridAnsoff's Product Market Expansion Grid
Ansoff's Product Market Expansion GridVijayant Khurana
 
Strategic Management in Nestle
Strategic Management in NestleStrategic Management in Nestle
Strategic Management in NestleAlar Kolk
 
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Akarawat Thanachitnawarat
 

Viewers also liked (20)

Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้วChapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
 
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆChapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
 
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
 
Anshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid modelAnshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid model
 
กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ
กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำกลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ
กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ
 
eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)
 
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยันChapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
Set+technical+update+besic
Set+technical+update+besicSet+technical+update+besic
Set+technical+update+besic
 
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
 
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้านChapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
 
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟChapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟ
 
Nestle Strategic Model
Nestle Strategic ModelNestle Strategic Model
Nestle Strategic Model
 
Ansoff's Product Market Expansion Grid
Ansoff's Product Market Expansion GridAnsoff's Product Market Expansion Grid
Ansoff's Product Market Expansion Grid
 
Strategic Management in Nestle
Strategic Management in NestleStrategic Management in Nestle
Strategic Management in Nestle
 
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
 

Similar to เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ

การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016sakarinkhul
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการThamonwan Theerabunchorn
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)Nat Thida
 
ย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยbenchamas21
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 

Similar to เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ (20)

การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการ
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Performance leadership
Performance leadershipPerformance leadership
Performance leadership
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
 
ย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยย่องานวิจัย
ย่องานวิจัย
 
Document
DocumentDocument
Document
 
Document
DocumentDocument
Document
 
Document
DocumentDocument
Document
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 

เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ