SlideShare a Scribd company logo
1
Strengthsfinder Briefing
June 2011
จัดเตรียมโดย เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย
coachkriengsak@yahoo.com
www.thaicoach.com
2
.......................................................................................................................................................................ที่มา& 3
...........................................................................................................................................จุดแข็ง (Strengths)& 4
........................................................................................คุณสามารถเปลี่ยนแปลงดานไหนของตนเองไดบาง& 5
............................................................................................................................................................ความรู (Knowledge)( 5
........................................................................................................................................................................ทักษะ (Skills)( 6
...............................................................................................................................................................พรสวรรค (Talent)( 6
.................................................................................ทำไมพรสวรรคของคุณจึงสำคัญมากในการสรางจุดแข็ง& 9
........................................................................................................................................รองรอยของพรสวรรค& 9
.............................................................................................................แบบประเมิน StrengthsFinder (SF)& 10
.......................................................................เราจะรูแคบเกินไปหรือไม ถาเราเนนลักษณะเฉพาะของตน& 11
...........................................................................................................เราจะจัดการอยางไรกับจุดออนของตน& 11
....................................................................................................................................................1. ทำใหดีกวาเดิมเล็กนอย( 12
............................................................................................................................................................2. ออกแบบสนับสนุน( 12
..........................................................................................................................3. ใชพรสวรรคที่แข็งแกรงมากลบจุดออน( 12
..................................................................................................................................................................................4. หาคูหู( 12
.......................................................................................................................................................................5. เลิกทำสิ่งนั้น( 12
............................................................พรสวรรคของเราสามารถบอกใหรูวาอยูในอาชีพที่เหมาะสมหรือไม& 12
.........................................เราจะใชประโยชนจากความรูความเขาใจในเรื่องพรสวรรคและจุดแข็งอยางไร& 13
..............................................................................................................................1. ปลดปลอยศักยภาพของเราแตละคน( 13
...............................................................................................................................................2. Mentoring / Coaching( 13
...........................................................................................................3. เขาใจและเรียนรูที่จะใชจุดแข็งของสมาชิกในทีม( 13
.........................................................................................แนวทางการใชหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” ในการโคช& 14
............................................................................................................................................แหลงขอมูลอางอิง& 15
3
ที่มา
องคกรที่ประสบความสำเร็จจะตองเขาใจวาพนักงานแตละคนมีจุดแข็งที่แตกตางกัน
และองคกรตองใชประโยชนสูงสุดจากความแตกตางเหลานั้น
จากการสำรวจพนักงานกวา 1.7 ลานคนจาก 101 บริษัทใน 63 ประเทศ ดวยคำถามวา
“พวกเขามีโอกาสทำสิ่งที่ทำไดดีที่สุด ในทุกวันเพียงใด” คำตอบคือ มีคนเพียงรอยละ
20 เทานั้นที่รูสึกวาไดใชจุดแข็งในการทำงานทุกวัน หากเราสามารถเพิ่มจำนวนจากรอย
ละ 20 เปน 40 หรือ 60 จะเกิดผลดีเพียงใด
องคกรสวนใหญมีสมมติฐานที่คลาดเคลื่อนสองขอคือ
- คนทุกคนสามารถเรียนรูใหมีความสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไดแทบทุกเรื่อง
- การพัฒนาที่ดีที่สุดคือทุมความสนใจ มุงแกไขที่จุดออน
สมมติฐานทั้งสองขอทำใหละเลยการมุงเนนจุดแข็งของพนักงาน สิ่งที่ควรจะเปนซึ่งผู
จัดการยอดเยี่ยมทั่วโลกใชในการบริหารทีมของเขาคือ
- พรสวรรคแตละคนยั่งยืนและพิเศษเฉพาะตัว
- ควรมุงเนนพัฒนาจุดแข็งที่เยี่ยมที่สุดของผูนั้น
The Gallup Organization ใชเวลาสามสิบปสัมภาษณคน 2 ลานคน จนพบ
แบบแผน 34 แบบ ซึ่งเรียกวา “ลักษณะสำคัญ” (Themes) คือลักษณะพรสวรรค
ของมนุษยเราที่ปรากฏแพรหลายที่สุด ผลการวิจัยยังแสดงใหเห็นวาทั้ง 34 ขอนี้
เมื่อผสมรวมกันในหลายรูปแบบ จะสามารถใชอธิบายผลการทำงานที่ดีเลิศไดกวางที่สุด
ตัวอยางเชน วอเร็น บัฟเฟตต นักธุรกิจผูประสบความสำเร็จจากการเลนหุน เขา
ทำไดดีเพราะเขารับรูแบบแผนและจุดแข็งของตน และนำมาใชในการการลงทุนในหุน
คนสวนใหญคาดหวังวาคนเลนหุนที่จะประสบความสำเร็จ ควรจะตองไมเชื่อใจใคร
งายๆ มีสมองที่รวดเร็วคอยคิดคนหาแบบแผนในตลาดอันซับซอน ในขณะที่วอเร็นเปน
คนใจเย็น เนนความจริง และเชื่อใจคน เขาใชจุดแข็งเหลานี้โดยการใชความใจเย็น
ลงทุนแบบมุมมองยี่สิบปซึ่งทำใหเขาเลือกลงทุนกับบริษัทที่เขาทำนายวิถีทางภายในยี่สิบ
ปไดอยางมั่นใจ การเนนความเปนจริงทำใหเขาเลือกลงทุนในผลิตภัณฑหรือบริการที่
เขาเขาใจไดงายเชน อาหาร เครื่องดื่ม หนังสือพิมพ สุดทายเขาใชความเชื่อใจ ดวย
การตรวจสอบผูบริหารระดับสูงของบริษัทที่เขาเลือกจะลงทุนกอนดวยความระมัดระวัง
หลังจากนั้นก็เชื่อใจไมแทรกแซงการบริหารในแตละวันของพวกเขา
4
จุดแข็ง (Strengths)
คือการปฏิบัติกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งไดแทบสมบูรณแบบอยางสม่ำเสมอ
(Consistent near perfect performance in an activity)
หลักการสามขอที่สำคัญที่สุดในการใชจุดแข็งใหเปนประโยชนตอชีวิตคือ
1. จะถือกิจกรรมใดๆเปนจุดแข็งไดก็ตอเมื่อคุณสามารถทำกิจกรรมนั้นไดอยาง
สม่ำเสมอจนคาดหวังได
2. คุณไมจำเปนตองมีจุดแข็งที่เกี่ยวกับบทบาทของตนในทุกดานจึงจะเปนเลิศได ความ
คิดที่วาผูปฏิบัติไดดีเลิศตองเกงรอบดานนั้นเปนเรื่องที่เปนไปแทบไมได ในทางตรง
ขามเมื่อเราศึกษาผูปฏิบัติไดเปนเลิศนั้น พวกเขาแหลมคมกันเฉพาะดาน
3. คุณจะเปนเลิศไดดวยการเพิ่มพูนจุดแข็งของตนใหมากที่สุด
มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวไดสูง เราสามารถปรับตัวและเรียนรูไดแทบทุกเรื่องถา
จำเปน แตอาจจะทำไดดีขึ้นเพียงเล็กนอย แตเราไมสามารถพัฒนาจนกระทั่งแทบ
สมบูรณแบบอยางสม่ำเสมอไดโดยลำพังจากการฝกหัด การพัฒนาจุดแข็งในกิจกรรม
ใดๆก็ตาม จำตองใชพรสวรรคตามธรรมชาติบางประการ ดังนั้นเราจึงควรมีเครื่องมือ
บางอยางที่สามารถแยกพรสวรรคที่มีมาตามธรรมชาติออกจากสิ่งที่สามารถเรียนรูได
เพื่อใหงายตอความเขาใจ ขอใหนิยามสามเรื่องดังนี้
• พรสวรรค (Talents) คือแบบแผนของความคิด ความรูสึก หรือพฤติกรรมของคุณ
ที่เกิดขึ้นซ้ำๆอยางเปนธรรมชาติ สิ่งที่แบบประเมิน Strengthsfinder (SF) วัดไดก็
คือลักษณะของพรสวรรคตางๆของคุณ
• ความรู (Knowledge) ประกอบดวยขอมูลและบทเรียนที่ไดเรียนรู
• ทักษะ (Skills) คือขั้นตอนในการทำกิจกรรม
พรสวรรค ความรู และทักษะ สามประการนี้รวมกันสรางจุดแข็ง (Strengths)
พรสวรรคของคุณมีมาแตกำเนิด ในขณะที่ทักษะและความรูนั้นสามารถหามาไดดวย
การเรียนรูและฝกฝน เชนตัวอยางของพนักงานขาย คุณอาจเรียนวิธีการบรรยาย
สรรพคุณผลิตภัณฑ (ความรู) คุณอาจเรียนวิธีตั้งคำถามเปดเพื่อคนหาความตองการ
ของลูกคา (ทักษะ) แตคุณจะไมมีวันเรียนวิธีผลักดันใหคนที่คุณกำลังเสนอขายตกลง
ณ ขณะที่เหมาะสมดวยรูปแบบที่ถูกจังหวะพอดี เพราะนั่นเปนพรสวรรค
หัวใจในการสรางจุดแข็งที่แทจริงก็คือ การจำแนกพรสวรรคที่สำคัญที่สุดของตนแลวนำ
ไปขัดเกลาดวยความรูและทักษะ
5
ภาษาที่เราสื่อสารกันโดยปกติ ในเรื่องของคน มักจะออกในแงลบ เชน
- คนที่เฉียบแหลมในการจัดระเบียบและโครงสรางใหกับโลก กลับถูกมองวาจูจี้จุกจิก
- คนที่อางความเปนเลิศ กลับถูกมองวาหลงตัวเอง
- คนที่คาดการณลวงหนาและคอยถามวา “อะไรจะเกิดขึ้นถา...” ถูกมองวาขี้กังวล
b
เราควรจะมีภาษาที่ใชสื่อความในเรื่องจุดแข็ง เพื่อชวยอธิบายจุดแข็งที่เราเห็นในตนเอง
และผูอื่น ภาษานี้ตองแมนยำ ตองสามารถบรรยายความแตกตางระหวางบุคคลได
ละเอียด เปนคำพูดเชิงบวก และชวยเราอธิบายจุดแข็งมิใชอธิบายความออนแอ โดย
มีผูใชรวมกันจำนวนมาก ที่มีความเขาใจตรงกัน ซึ่งหนังสือเสนอคำบรรยาย
Strengthsfinders (SF) เปน “ภาษากลาง” (Common Language)
คุณสามารถเปลี่ยนแปลงดานไหนของตนเองไดบาง
ความรู (Knowledge)
สำหรับการสรางจุดแข็ง เราสามารถจำแนกความรูไดเปนสองประเภทที่แตกตางกัน
เราตองมีความรูทั้งสองประเภท ซึ่งเปนสิ่งที่เราสามารถแสวงหาและเรียนรูได คือ
- ความรูดานขอมูล (Factual Knowledge) ซึ่งก็คือเนื้อหาสาระ เชนตอนเริ่มเรียน
ภาษาความรูดานขอมูลคือคำศัพท ความรูนี้ไมไดประกันความเปนเลิศ แตถาไมมีก็
ไมสามารถจะเปนเลิศได เสมือนเปนตั๋วเขางานที่ใหโอกาสคุณกาวสูความเปนเลิศ
- ความรูจากประสบการณ (Experiential Knowledge) ที่ไมสอนในชั้นเรียน ไม
อยูในคูมือ แตเปนเรื่องที่คุณตองฝกวินัยใหตนเองสรางสมและเก็บรักษาไว เชน
การเขียนบทความลงหนังสือพิมพใหจบลงภายในแปดรอยคำ และตองอานสนุกได
อรรถรส ความรูจากประสบการณบางประเภทเปนเรื่องแนวคิด เชนคานิยม
(Values) และการรูจักตนเอง (Self Awareness) ถาคุณจะสรางจุดแข็งใหตนเอง
ก็ตองขัดเกลาทั้งสองประการนี้ และถาใชเวลาก็สามารถพัฒนาได ที่จริงแลวเมื่อ
เราพูดวา “คนนั้นเขาเปลี่ยนไปนะ” เรามักจะไมไดหมายความวา บุคลิกพื้นฐาน
ของเขาเปลี่ยนไป แตหมายความวาคานิยมของเขาเปลี่ยน หรือการรูจักตนเอง
ของเขานั้นเปลี่ยน ไมวาเราจะมองไปทางไหน ก็จะเห็นตัวอยางผูคนที่เปลี่ยนจุด
สนใจของตนดวยการเปลี่ยนคานิยม ถาคุณอยากเปลี่ยนชีวิตของตนเพื่อใหผูอื่นได
ประโยชนจากจุดแข็งของคุณ คุณก็ตองเปลี่ยนคานิยมของคุณ อยามัวเสียเวลา
พยายามเปลี่ยนพรสวรรคเลย
6
ทักษะ (Skills)
ทักษะกำหนดโครงสรางใหกับความรูที่ไดจากประสบการณ กิจกรรมใดๆหากเราสังเกต
สิ่งที่คนเกงไดทำ แลวจัดระบบเปนขั้นตอน ซึ่งหากปฏิบัติตามก็จะทำใหเกิดผลงานที่ดี
ขึ้น แมวาผลของมัน อาจจะไมถึงกับยอดเยี่ยมก็ตามที เชนหากเราสังเกตนักพูดที่พูด
เกงจะพบทักษะโดยมีลำดับดังนี้
1. เขียนเรื่องหรือขอมูลหรือตัวอยางที่กระทบใจคุณ
2. ฝกเลาเรื่องออกมาดังๆ แลวฟงสิ่งที่ตัวเองพูด
3. เรื่องพวกนี้จะเปนเสมือนลูกปดที่รอยสายสรอยของคุณ
4. เรื่องเดียวที่คุณตองทำตอนบรรยายคือรอยลูกปดใหถูกลำดับ แลวคุณก็จะ
บรรยายไดเปนธรรมชาติเหมือนการสนทนา
5. ใชกระดาษโนตหรือแฟมเอกสาร เพื่อเพิ่มลูกปดใหมๆ ใหสรอยของตนเอง
ทักษะชวยใหคุณเลี่ยงไมตองลองผิดลองถูกโดยนำผลการคนควาที่ดีที่สุดจากผูปฏิบัติได
ดีที่สุดมารวมไวในผลงานของตนเองโดยตรง ถาคุณอยากสรางจุดแข็ง ไมวาจะเปน
ดานขาย การตลาด การวิเคราะหทางการเงิน การขับเครื่องบิน หรือการรักษา
พยาบาล คุณจำเปนตองเรียนรูและฝกฝนทักษะที่เกี่ยวของทั้งหมด
แตควรระวังใหดี ทักษะนั้นมีประโยชนลอใจเสียจนบดบังขอบกพรองสองอยาง ขอ
บกพรองแรกคือวา แมทักษะจะชวยใหคุณปฏิบัติ แตมันจะไมชวยใหคุณเปนเลิศ ขอที่
สองกิจกรรมบางอยางไมสามารถแบงออกเปนขั้นตอนตางๆไดเชนความเห็นอกเห็นใจ
พรสวรรค (Talent)
พรสวรรคคือ แบบแผนของความคิด ความรูสึก หรือพฤติกรรมที่เกิดซ้ำๆ ซึ่ง
สามารถนำมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนได
แมกระทั่ง “ขอบกพรอง” เชน Dyslexia คืออาการของคนที่สะกดหรืออานคำยากๆไม
ได ก็อาจเปนพรสวรรคได เพราะเดวิด บอยส ซึ่งเปนทนายฝายรัฐบาลอเมริกันผูยื่น
ฟองไมโครซอฟทในคดีปองกันการผูกขาด เขาชนะใจผูพิพากษาดวยการใชคำอธิบายขอ
กลาวหาของรัฐบาลไดอยางชัดเจน โรค Dyslexia ทำใหเขาเลี่ยงไมใชคำศัพทยาวๆ
ยากๆ แมจะรูความหมายของคำพวกนี้ เขาก็ไมใชในการอางเหตุผลสนับสนุนของตน
เขาอธิบายในบทสมัภาษณวา “ผมเกรงจะพูดผิด” โชคดีที่ความจำเปนตองพึ่งพาคำ
งายๆทำใหคนอื่นเขาใจเหตุผลของเขาไดงายขึ้นไปดวย
b
7
สำหรับเดวิด บอยส แลว Dyslexia เปนพรสวรรคเพราะเขาพบวิธีประยุกตใช
แบบแผนที่เกิดซ้ำๆ นี้ใหเกิดประโยชน และเปลี่ยนมันใหเปนจุดแข็ง ดวยการผสม
ผสานความรูและทักษะทั่วไป
พรสวรรค เกิดมาจากกระบวนการซับซอนทางสมอง โดยจุดประสานประสาท
(Synapse) เปนตัวสรางพรสวรรคใหกับแตละคน
พัฒนาการทางสมองผสมกับปจจัยดานกรรมพันธุ และประสบการณวัยเด็ก ชวยใหคุณ
พบวาจุดเชื่อมโยงบางประเภทราบรื่นและใชงานไดงายกวาจุดเชื่อมโยงอื่น
ตัวตนของคุณเปนปจเจกชนที่มีพรสวรรคแตกตางไปจากคนอื่น คุณจะตอบสนองโลก
ดวยวิธีของคุณเองที่พิเศษและเฉพาะตัวอยางยั่งยืน
เราแตละคนจะมองโลกไมเหมือนกัน ดังนั้น Common Sense จึงไมมีอยูจริง
อยางไรก็ตามความสามารถพิเศษเฉพาะตัวของเราไมไดแบงแยกพวกเราจากกันโดยสิ้น
เชิง เราแตละคนมีความคิดและความรูสึกรวมกับเพื่อนมนุษยดวยกันหลายเรื่อง ไมวา
เราจะไดรับการเลี้ยงดูมาในวัฒนธรรมใด แตละคนคุนเคยกับอารมณ เชนความกลัว
ความเจ็บปวด ความละอาย และความภูมิใจ
เราจะมาลองมาดูตัวอยางเพื่อแยกแยะใหเห็นระหวางองคประกอบของ ทักษะ ความ
รู และพรสวรรคกันซักหนึ่งตัวอยาง
เมื่อหลายปกอน ผมและคุณชนะทีมงานของผม ไปทำงานที่พนัสนิคม หลังเลิกงานก็
เขาไปทานอาหารเย็นในรานชื่อครัววังเดือนหา เราสองคนเดินเขารานพรอมหอบ
โนตบุคคนละเครื่องหวังจะไปสรุปงานตอใหเสร็จ พอเดินเขาไปในรานพนักงานบริการ
คนหนึ่งเดินเขามาตอนรับเราดวยสีหนายิ้มแยม พรอมกลาวตอนรับอยางเปนมิตร เธอ
บอกกับเราวา “เชิญโตะในสุดดีกวาคะมีปลั๊กไฟใหเผื่อวาตองการใชคอมฯ” พอเรานั่ง
ลง เธอก็สอบถามเราวาตองการทานอาหารแบบไหน แพอะไร ชอบอะไรเปนพิเศษ
พอเราจะสั่งปลากะพงเธอบอกวาวันนี้ไมสด ไมแนะนำ ขอเสนอปลาเกาดีกวา เธอฟง
สังเกต และเสนอแนะอยางยอดเยี่ยม ผมสรุปไดเลยวาจุดแข็งของพนักงานคนนี้คือ
การบริการยอดเยี่ยม
นี่คือสิ่งที่เธอทำไดดี สังเกต เขาใจ ตั้งใจ ถาม ฟง พูด รูสตอคของสด รูรายการ
อาหาร ดูแลรายบุคคล รูทำเลที่นั่ง จิตวิทยา ชางพูด
8
หากนำมาแยกแยะจะเปนดังนี้
จุดแข็งของพนักงานผูนี้คือ การบริการลูกคายอดเยี่ยม
ทักษะ ความรู พรสวรรค
ฟง
พูด
ถาม
สังเกต
จิตวิทยา
ทำเลที่นั่ง
สตอคของสด
รายการอาหาร
เขาใจ
ตั้งใจ
ชางพูด
ดูแลรายบุคคล
พรสวรรคทั้ง 34 ขอ จำแนกไดเปนสี่กลุมคือ
ความสัมพันธ
Relating
Themes
การสรางผลกระทบ
Impacting
Themes
ความมุงมั่น
Striving
Themes
ความคิด
Thinking
Themes
Communication
Empathy
Harmony
Includer
Individualization
Relator
Responsibility
Command
Competition
Developer
Maximizer
Positivity
Win Over Others
Achiever
Activator
Adaptability
Belief
Discipline
Focus
Restorative
Self-Assurance
Significance
Analytical
Arranger
Connectedness
Consistency
Context
Deliberative
Futuristic
Ideation
Input
Intellection
Learner
Strategic
9
ทำไมพรสวรรคของคุณจึงสำคัญมากในการสรางจุดแข็ง
ในแตละวันเราตัดสินใจเรื่องปลีกยอยนับพันครั้ง เราไมสามารถที่จะใชเหตุผลมา
พิจารณาตัดสินใจไดทุกเรื่อง ในสถานการณเชนนี้สมองคุณจะทำงานอยางที่ธรรมชาติ
ทำเสมอ นั่นคือหาวิธีที่สะดวกที่สุด ซึ่งก็คือปฏิบัติตามพรสวรรคของคุณที่คุณถนัดและ
คุนเคย
พรสวรรคของคุณซึ่งก็คือ Synapse หรือเซลลสมองที่แข็งแกรงที่สุดของคุณนั้น เปน
วัตถุดิบที่สำคัญที่สุดในการสรางจุดแข็ง ถาคุณสามารถระบุพรสวรรคที่ทรงพลังที่สุด
ของตน และขัดเกลามันดวยทักษะและความรู คุณก็ใกลจะไดใชชีวิตที่เขมแข็ง
รองรอยของพรสวรรค
ประการแรกหากคุณตองการจะเผยใหเห็นพรสวรรคของตน คุณควรติดตาม ปฏิกิริยา
ตอบสนองแบบที่เกิดขึ้นเองในทันทีทันใด (Spontaneous Reactions) ตอ
สถานการณ ตัวอยางเชน ลูกนองโทรมาลางานเพราะลูกปวย หากสิ่งแรกที่คุณคิดคือ
ใครจะมาทำงานแทนเขา คุณอาจจะมีพรสวรรคดานระมัดระวัง หากสิ่งแรกที่คุณคิด
คือลูกเขามีอาการหนักไหมและลูกนองคุณมีจิตใจเปนอยางไร คุณอาจจะมีพรสวรรคใน
เรื่องเห็นอกเห็นใจ นอกจากนี้เราสามารถคนหารองรอยของพรสวรรคจาก
• ความปรารถนาอยางแรงกลา โดยเฉพาะในวัยเยาว เชนดาราสองคนในขณะที่
พวกเขามีอายุเพียงสิบขวบ เขาหามุมในหองอาหารถกกันเรื่องโปรเจ็คทหนังของเขา
ทั้งคูในชวงพักเที่ยง เปนประจำ หรือ
• การเรียนรูไดเร็ว เชนอองรีไมเคยจับพูกันจนอายุ 21 หลังพักฟนจากอาการปวย
แมเขาอยากหาอะไรมาใหเขาทำเพลินๆ จึงเอากลองสีมาให เขาพบวาเขาเรียนรูวิธี
วาดรูปจากคูมือไดอยางรวดเร็ว ทำใหเขาประสบความสำเร็จในฐานะจิตรกรในเวลา
ตอมา หรือ
• สิ่งที่ทำแลว “รูสึกดี” เชนบางคนพอใจเมื่อเห็นคนอื่นปรับปรุงไดแมเพียงเล็กนอย
ในขณะที่คนสวนใหญมองไมเห็น บางคนชอบจัดความสับสนใหเปนระเบียบ บาง
คนสนุกสนานไปกับการเปนเจาภาพในงานใหญ บางคนชื่นชมในความสะอาดยิ้มให
ตัวเองตอนดูดฝุนในหองเสร็จ บางคนรักความคิด บางคนไมเชื่อในความคิดแต
กลับตื่นเตนไปกับความทาทายในการวิเคราะหหา “ความจริง” บางคนจำเปนตอง
ทำใหไดมาตราฐานของตน
10
• อีกวิธีหนึ่งก็คือสังเกตเรื่อง “ความรูสึกเกี่ยวกับเวลา” หากกิจกรรมใดคุณรูสึกวา
เมื่อไรจะหมดเวลาเสียที แสดงวานั่นไมใชพรสวรรค ในทางกลับกัน หากคุณรูสึก
วา เมื่อไรจะมีโอกาสไดทำอีก นั่นนาจะเปนพรสวรรคของคุณ
แบบประเมิน StrengthsFinder (SF)
คือแบบสอบถามจำนวน 177 คู เพื่อวิเคราะหจุดแข็งของผูตอบ โดยแตละคำถามจะมี
คำตอบใหเลือกหนึ่งในหาขอ
ผูตอบแตละคนจะไดรหัสสวนตัวจากหนังสือฯ เลมละหนึ่งรหัส ซึ่งตองลงทะเบียน ที่
www.strengthsfinder.com ทำใหใชไดหนึ่งรหัสตอหนึ่งคน เทานั้น
เพื่อจำลองสถานการณใหเหมือนจริง ผูตอบจะมีเวลาเพียง 20 วินาทีตอขอ
SF ไมไดมีวัตถุประสงคเพื่อเติมจุดแข็งใหคุณ แตเพื่อหาวาคุณมีศักยภาพที่จะเปนจุด
แข็งไดดีที่สุดในเรื่องใด
คุณจะไดรับผลทันทีเมื่อตอบเสร็จ เปนการแสดงผลพรสวรรคที่เดนที่สุดของคุณหา
ประการ ซึ่งเรียกวา ลักษณะเฉพาะของคุณ (Signature Themes) พรสวรรคนี้อาจ
จะยังไมใชจุดแข็ง พรสวรรคแตละประการเปนแบบแผนของความคิด ความรูสึก
หรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำๆ ซึ่งเปนความเปนไปไดสูงมากหากพัฒนาตอไปอาจจะเปน
จุดแข็งของคุณ
11
เราจะรูแคบเกินไปหรือไม ถาเราเนนลักษณะเฉพาะของตน
b
การที่คุณเชี่ยวชาญในการรูวาลักษณะเฉพาะของคุณรวมกันแลวเปนอยางไรแลว คุณ
จะยิ่งมั่นใจในความพิเศษเฉพาะของตนเอง ไมวาคุณจะมีเชื้อชาติ เพศ อายุ หรือ
อาชีพใด ก็จะมั่นใจวาไมมีใครในโลกเหมือนคุณทั้งหมด
มันจะสงผลตอไปวา ถาคุณพิเศษเฉพาะอยางถาวรและนาอัศจรรยแลว คนอื่นๆก็ตอง
พิเศษเฉพาะเชนกัน นอกจากความคลายกันอยางผิวเผินแลว แตละคนมีมุมมองที่แตก
ตางไปเล็กนอย แตก็สรางความหมายใหแกโลกนี้
คุณอาจจะชื่นชอบความทาทายที่จะปนเขาลูกใหม (พรสวรรคดานผูสรางความสำเร็จ)
แตคนอื่นอาจอยากชวยเหลือผูอื่น (ความเชื่อ) คุณอาจเกงในการคนพบแบบแผนจาก
ขอมูล (ชางวิเคราะห) แตคนอื่นอาจมีวิสัยทัศนที่จะเห็นผลกระทบจากการคนพบของ
คุณ (อนาคต) คุณอาจสามารถสรางกลุมคนที่รูจักคุณและพรอมชวยเหลือคุณเต็ม
กำลังไดโดยธรรมชาติ (ชนะใจ) แตคนอื่นอาจสรางความสัมพันธกับคนกลุมนี้ไดลึกซึ้ง
กวา (สรางสัมพันธ)
ยิ่งคุณรูจักความซับซอนของพรสวรรคของคุณเทาไร คุณก็ยิ่งสามารถระบุและมองเห็น
คุณคาของความซับซอนของผูอื่น ในทางกลับกัน ยิ่งคุณไมเห็นคาของพรสวรรคของ
ตนเอง คุณก็ยิ่งไมเห็นวาพรสวรรคของผูอื่นมีคา
เราจะจัดการอยางไรกับจุดออนของตน
นิยามของจุดออนในที่นี้คือ อะไรก็ตามที่ขัดขวางการปฏิบัติใหเปนเลิศ
พอคุณรูจุดออนของตนแลว สิ่งแรกที่คุณทำไดก็คือระบุวาจุดออนนั้นเปน ทักษะ
ความรู หรือพรสวรรค
มีขอสังเกตงายๆคือ ถาคุณยังปฏิบัติไดต่ำกวาเกณฑหลังจากหาความรูและทักษะที่คุณ
รูสึกวาจำเปนมาแลว เมื่อนั้นเราก็ทอนโจทยไดวาสวนประกอบที่หายไปตองเปน
พรสวรรค พอถึงจุดนั้น คุณควรเลิกเสียเวลาพยายามหาความรูเพื่อใหเปนเลิศ แลว
หันมาใชกลยุทธที่สรางสรรค
12
ซึ่งกลยุทธที่ไดกลั่นกรองมาจากการสัมภาษณผูปฏิบัติไดเปนเลิศมาแลวมีหาวิธีคือ
1. ทำใหดีกวาเดิมเล็กนอย
ไทเกอร วูดส เลนหลุมทรายไมเกง ก็ตองฝกใหพอใชได และสนใจเปนพิเศษในการ
ขัดเกลาวงสวิง เพื่อใหจุดแข็งของเขาสมบูรณแบบมากที่สุด
2. ออกแบบสนับสนุน
เชนเควิน ออนเรื่องกลยุทธ เขาจะใชวิธีการจินตนาการ ในตอนเชากอนที่เขาจะสวม
รองเทา เขาจะนึกวาดคำวา “อะไร” ลงบนรองเทาขางซาย และคำวา “ถา” บน
รองเทาขางขวา เพื่อเตือนตนเองวา “อะไรจะเกิดขึ้นถา...” เพื่อใหเขาคาดถึงอุปสรรค
ไวลวงหนา ซึ่งเปนลักษณะของพรสวรรคกลยุทธ
3. ใชพรสวรรคที่แข็งแกรงมากลบจุดออน
นักแตงเพลงที่แตงทำนองเพราะมาก แมวาเนื้อรองจะไมเขาทาเลยก็ตาม
4. หาคูหู
เชนมิเชลมีพรสวรรคดานเปาหมายที่ชัดเจน แตออนดานการสรางสัมพันธ จึงเปด
ธุรกิจโดยหุนกับเดวิดที่เกงเรื่องการสรางสัมพันธ แตออนเรื่องเปาหมายที่ชัดเจน
5. เลิกทำสิ่งนั้น
พรสวรรคของเราสามารถบอกใหรูวาอยูในอาชีพที่เหมาะสมหรือไม
ผลจาก SF จะไมคอยบอกอะไรนักในเรื่องของวงการที่คุณควรเลือก แมจะบอก
แนวทางในเรื่องบทบาทไดบาง ผูเขียนไมแนะนำใหควรเชื่อถือในเรื่องแนวทางนั้น ทั้งนี้
มีตัวอยางในหนังสือหลายกรณีที่คนสามารถประสบความสำเร็จไดในทุกสาขาอาชีพ ไม
วาเขาจะมีลักษณะเฉพาะอยางไร ขึ้นอยูกับวารูจักตนเอง และสามารถใชประโยชน
จากจุดแข็งไดมากเพียงใดตางหาก
นอกจากนี้ มีตัวอยางการคนพบวงการที่เหมาะสมหลายวิธี การฟงความปรารถนา
อยางแรงกลาที่ดึงดูดเรา แลวพิจารณาวาเรารูสึกเปนพิเศษกับเรื่องไหน อาจเปนวิธี
หนึ่ง ถายังไมรูสึก “ปง” กับเรื่องไหนเปนพิเศษ คุณก็ตองทดลองในชวงระหวาง
ศึกษาหรือในชวงปแรกๆระหวางทำงาน แลวตัดทางเลือกใหแคบลง
นอกจากนี้อาจจะลองพูดคุยกับผูที่ทำงานในบทบาท หรือวงการที่เราสนใจ ก็เปนอีก
แนวทางหนึ่ง
13
เราจะใชประโยชนจากความรูความเขาใจในเรื่องพรสวรรคและจุดแข็งอยางไร
TheCoach ไดนำ SF มาใชในการพัฒนาภาวะผูนำและผูบริหารโดยใชในสามลักษณะคือ
1. ปลดปลอยศักยภาพของเราแตละคน
เชนในกรณีที่ผมมี Connectedness คือสามารถเชื่อมโยงเรื่องราว ประเด็น หรือ
บุคคล ที่คนอื่นมองไมเห็นเขาดวยกันไดดี กอนหนานั้นผมไมทราบมากอนวานี่คือจุด
แข็ง คิดวาเปนจุดออนเสียอีก เวลาในที่ประชุมเมื่อตองมีการออกความคิดเห็น ผมมัก
จะพูดเปนคนสุดทาย โดยการเชื่อมโยงประเด็นและความกังวลใจของคนในที่ประชุม
ออกมาขมวด แตผมไมทราบวาเปนจุดแข็ง ดังนั้นผมจึงมักไมออกความเห็น หรือถา
ออกความเห็นก็มักจะตื่นเตนจนเกินเหตุเพราะรูสึกวาตนเองคิดเองไมเปนคอยแตหากิน
กับความคิดของชาวบาน จึงพูดออกมาไดไมดี แตพอรูวานี่เปนจุดแข็งของเรา ดังนั้น
ทุกครั้งจึงมักขอพูดสรุปเปนคนสุดทาย ที่นาขำก็คือครั้งหนึ่งที่บิ๊กซีใหผมไปนั่งฟงเขาสัม
นาแผนงานกันทั้งวัน เพื่อที่จะใหผมกลาวสรุปขมวดประเด็นตอนหานาทีสุดทายแคนั้น
เอง
อีกตัวอยางหนึ่ง บางคนมีจุดแข็งคือ Deliberative คือระมัดระวัง ซึ่งมีคุณสมบัติที่
จะมองปญหาที่อาจจะเกิดไดเร็วกวาคนอื่นๆมาก จนเจาตัวหรือคนรอบขางคิดวาเปน
พวกมองโลกในแงราย หากใครจะระดมความคิดอยามาถามเขาเดี๋ยวจะวงแตกกอน
เพราะมองแตความเสี่ยง ในทางกลับกันหากเขาใจจุดแข็งของเขา เวลาระดมสมอง
ตองการความคิดสรางสรรค อาจจะไมตองเชิญเขาเขามา จนกระทั่งพอไดแนวทาง
สองสามวิธี คราวนี้ก็เชิญเขาเขามาชวยระบุความเสี่ยงวาแตละทางเลือกมีความเสี่ยง
อะไรบาง เขาก็จะทำไดอยางดีเยี่ยมทีเดียว
2. Mentoring / Coaching
วิธีนี้ผมนำมาใชที่ไทยออยลคือการใชเปนแนวทางเพื่อให Mentor/Mentee เขาใจจริตซึ่ง
กันและกัน ในกรณีการโคช ผมใชมากเลยสำหรับการโคชผูบริหารรายบุคคล และ
สำหรับพวกเราก็สามารถใชโคชทีมงานแตละคนได
3. เขาใจและเรียนรูที่จะใชจุดแข็งของสมาชิกในทีม
ในหลายๆองคกรเขาจะตั้งโตะไวเลยวาแตละคนมีพรสวรรคอะไรบาง เพื่อเพื่อนๆจะไดรู
วาใครมีแนวโนมจะถนัดหรือมีจุดแข็งในเรื่องอะไร และจะใชประโยชนจากจุดแข็งของ
ทีมงานแตละคนไดอยางไร
14
แนวทางการใชหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” ในการโคช
1. ใหบุคลากรที่เราตองการโคชทำแบบสอบถามจากหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” โดยทำตาม
ขั้นตอนในหนังสือ
2. นำผลขอมูลพรสวรรคทั้งหาขอมาใหผูทำหนาที่โคช พรอมนำหนังสือ “เจาะจุดแข็ง”
มาดวย
3. เปดหนังสือทำตามขั้นตอนในหนาที่ 204
4. โดยที่ในหนาที่ 205 - 238 คือเมนูของการโคชพรสวรรคทั้ง 34 ขอ โดยเรียงตาม
ลำดับภาษาอังกฤษ เริ่มตั้งแต Achiever - WOO เพียงแตหัวขอในแตละหนาไดแปล
เปนภาษาไทย เชนหนา 205 สำหรับคนที่มีพรสวรรค Achiever จะเขียนไววา “วิธี
บริหารคนที่แกรงดานผูสรางความสำเร็จ”
5. ใหเลือกหนาตามขอมูลของพรสวรรคทั้ง 5 ขอที่ไดมา เชน ผมมีพรสวรรค
Connectedness, Input, Relator, Individualization, Maximizer. ผมก็จะไปดูเมนูใน
หนา 214, 227, 232, 226, 230 ตามลำดับ
6. ในแตละหนา ใหผูที่จะถูกโคช เลือกขอมูล 2-3 Bullet points ที่ตรงกับตัวแขา
แลวเลาใหผูที่เปนโคชฟง
7. ผูเปนโคช ฟงดวยความตั้งใจ ถามหาตัวอยางถาไมแนใจ ทำความเขาใจตกลงกันวา
จากขอมูลที่เขาบอกเรานั้น เขาอยากใหเรา สื่อสาร สอนงาน มอบหมายงาน
บริหารเขา อยางไรที่ถูกจริตเขามากที่สุด
8. หากมีคำถาม โทรมาหาโคชเกรียงศักดิ์ 089-816-8911 email
coachkriengsak@yahoo.com
15
แหลงขอมูลอางอิง
First Break All the Rules
By Marcus Buckingham & Curt Coffman
Now Discover Your Strengths
By Marcus Buckingham & Donald Clifton
Strengthsfinder 2.0
By Tom Rath
How Full is Your Bucket
By Tom Rath
Follow this Path
By Curt Coffman & Gabriel Gonzalez-Molina

More Related Content

What's hot

รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
TinnakritWarisson
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชnumattapon
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
พุทธสาวกและพุทธสาวิกา
พุทธสาวกและพุทธสาวิกาพุทธสาวกและพุทธสาวิกา
พุทธสาวกและพุทธสาวิกา
enksodsoon
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
ครูอ้อ วิรยา
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
thanapisit marakul na ayudhya
 
ตารางแสดงจำนวน
ตารางแสดงจำนวนตารางแสดงจำนวน
ตารางแสดงจำนวนNoonew New
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
ทับทิม เจริญตา
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
Mutita Eamtip
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
Physics Lek
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
Padvee Academy
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
Piyarerk Bunkoson
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 

What's hot (20)

รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
Unit3 3.1อายุทางธรณีppt
Unit3 3.1อายุทางธรณีpptUnit3 3.1อายุทางธรณีppt
Unit3 3.1อายุทางธรณีppt
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
พุทธสาวกและพุทธสาวิกา
พุทธสาวกและพุทธสาวิกาพุทธสาวกและพุทธสาวิกา
พุทธสาวกและพุทธสาวิกา
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ตารางแสดงจำนวน
ตารางแสดงจำนวนตารางแสดงจำนวน
ตารางแสดงจำนวน
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

Viewers also liked

เจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็งเจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็ง
Kriengsak Niratpattanasai
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
Kriengsak Niratpattanasai
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
Kriengsak Niratpattanasai
 
The secrets of CEOs
The secrets of CEOsThe secrets of CEOs
The secrets of CEOs
Kriengsak Niratpattanasai
 
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Boonlert Kanathanasarn
 
งานพรรณ
งานพรรณงานพรรณ
งานพรรณOrapan2529
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
Taweedham Dhamtawee
 
Listening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปรListening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปร
Kriengsak Niratpattanasai
 
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหารExecutive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Utai Sukviwatsirikul
 
Prework coaching
Prework coachingPrework coaching
Prework coaching
Kriengsak Niratpattanasai
 
10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching 10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching
Kriengsak Niratpattanasai
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
Kriengsak Niratpattanasai
 
หลักการพูด
หลักการพูดหลักการพูด
หลักการพูดKruBowbaro
 
การออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอการออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอ
Kriengsak Niratpattanasai
 
Coaching
Coaching Coaching
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
Kriengsak Niratpattanasai
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
Wilawun Wisanuvekin
 

Viewers also liked (20)

เจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็งเจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็ง
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
 
The secrets of CEOs
The secrets of CEOsThe secrets of CEOs
The secrets of CEOs
 
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
 
งานพรรณ
งานพรรณงานพรรณ
งานพรรณ
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
Listening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปรListening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปร
 
Ch amp handout text
Ch amp handout textCh amp handout text
Ch amp handout text
 
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหารExecutive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
 
Influencing other by listening
Influencing other by listeningInfluencing other by listening
Influencing other by listening
 
Prework coaching
Prework coachingPrework coaching
Prework coaching
 
10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching 10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
 
หลักการพูด
หลักการพูดหลักการพูด
หลักการพูด
 
การออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอการออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอ
 
Coaching
Coaching Coaching
Coaching
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
Kongpan Slides With Photo
Kongpan Slides With PhotoKongpan Slides With Photo
Kongpan Slides With Photo
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 

Similar to สรุป เจาะจุดแข็ง

ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานKrooIndy Csaru
 
กิจกรรม ตารางข้อมูล
กิจกรรม  ตารางข้อมูลกิจกรรม  ตารางข้อมูล
กิจกรรม ตารางข้อมูลdechathon
 
แบบ ก.ค.ศ. 3 1.
แบบ ก.ค.ศ. 3 1. แบบ ก.ค.ศ. 3 1.
แบบ ก.ค.ศ. 3 1. numnamons
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์Nirut Uthatip
 
มิดเทอม๑.๕๔
มิดเทอม๑.๕๔มิดเทอม๑.๕๔
มิดเทอม๑.๕๔busarakorn
 
Datastudent
DatastudentDatastudent
Datastudent
Tay Chaloeykrai
 
ใบสมัคร The Bright Brain Train
ใบสมัคร The Bright Brain Trainใบสมัคร The Bright Brain Train
ใบสมัคร The Bright Brain Train
Titima Moungarean
 
Sing2
Sing2Sing2
Sing2
krusing
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
guest9deb61
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
guestf57acc
 
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่thelolitaworld
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิตใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
รัชดาภรณ์ เขียวมณี
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
Totsaporn Inthanin
 

Similar to สรุป เจาะจุดแข็ง (20)

ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
 
กิจกรรม ตารางข้อมูล
กิจกรรม  ตารางข้อมูลกิจกรรม  ตารางข้อมูล
กิจกรรม ตารางข้อมูล
 
แบบ ก.ค.ศ. 3 1.
แบบ ก.ค.ศ. 3 1. แบบ ก.ค.ศ. 3 1.
แบบ ก.ค.ศ. 3 1.
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
 
มิดเทอม๑.๕๔
มิดเทอม๑.๕๔มิดเทอม๑.๕๔
มิดเทอม๑.๕๔
 
Datastudent
DatastudentDatastudent
Datastudent
 
ใบสมัคร The Bright Brain Train
ใบสมัคร The Bright Brain Trainใบสมัคร The Bright Brain Train
ใบสมัคร The Bright Brain Train
 
Sing2
Sing2Sing2
Sing2
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
 
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โครงการนาฏมวยไทย
โครงการนาฏมวยไทยโครงการนาฏมวยไทย
โครงการนาฏมวยไทย
 
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิตใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
 
คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำคำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
 

More from Kriengsak Niratpattanasai

Learning how to learn
Learning how to learnLearning how to learn
Learning how to learn
Kriengsak Niratpattanasai
 
สลได์ CEO Forum
สลได์ CEO Forum สลได์ CEO Forum
สลได์ CEO Forum
Kriengsak Niratpattanasai
 
The first 90 days thai summary
The first 90 days thai summaryThe first 90 days thai summary
The first 90 days thai summary
Kriengsak Niratpattanasai
 
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าการโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
Kriengsak Niratpattanasai
 
Better Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better LeadershipBetter Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better Leadership
Kriengsak Niratpattanasai
 
สรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesสรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rules
Kriengsak Niratpattanasai
 
Nida coaching 2014
Nida coaching 2014Nida coaching 2014
Nida coaching 2014
Kriengsak Niratpattanasai
 
StrengthsFinder Slides for Champ 2014
StrengthsFinder Slides for Champ 2014  StrengthsFinder Slides for Champ 2014
StrengthsFinder Slides for Champ 2014
Kriengsak Niratpattanasai
 
coaching
coachingcoaching
Coaching feedback form
Coaching feedback form Coaching feedback form
Coaching feedback form
Kriengsak Niratpattanasai
 
7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์
7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์ 7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์
7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์
Kriengsak Niratpattanasai
 

More from Kriengsak Niratpattanasai (20)

Learning how to learn
Learning how to learnLearning how to learn
Learning how to learn
 
สลได์ CEO Forum
สลได์ CEO Forum สลได์ CEO Forum
สลได์ CEO Forum
 
The first 90 days thai summary
The first 90 days thai summaryThe first 90 days thai summary
The first 90 days thai summary
 
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าการโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
 
Better Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better LeadershipBetter Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better Leadership
 
สรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesสรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rules
 
Nida coaching 2014
Nida coaching 2014Nida coaching 2014
Nida coaching 2014
 
StrengthsFinder Slides for Champ 2014
StrengthsFinder Slides for Champ 2014  StrengthsFinder Slides for Champ 2014
StrengthsFinder Slides for Champ 2014
 
coaching
coachingcoaching
coaching
 
Coaching feedback form
Coaching feedback form Coaching feedback form
Coaching feedback form
 
Homeroom 4 values
Homeroom 4 valuesHomeroom 4 values
Homeroom 4 values
 
Homeroom 4 values ho
Homeroom 4 values hoHomeroom 4 values ho
Homeroom 4 values ho
 
Homeroom 3 note
Homeroom 3 noteHomeroom 3 note
Homeroom 3 note
 
Slide homeroom 2 คนต้นแบบ
Slide homeroom 2 คนต้นแบบSlide homeroom 2 คนต้นแบบ
Slide homeroom 2 คนต้นแบบ
 
Homeroom 2 คนต้นแบบ
Homeroom 2 คนต้นแบบHomeroom 2 คนต้นแบบ
Homeroom 2 คนต้นแบบ
 
Ch amp day 2 am
Ch amp day 2 amCh amp day 2 am
Ch amp day 2 am
 
Ch amp day 1 pm
Ch amp day 1 pmCh amp day 1 pm
Ch amp day 1 pm
 
Ch amp day 1 am
Ch amp day 1 amCh amp day 1 am
Ch amp day 1 am
 
7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์
7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์ 7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์
7T Show โค้ชเกรียงศักดิ์
 
รวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ชรวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ช
 

สรุป เจาะจุดแข็ง

  • 1. 1 Strengthsfinder Briefing June 2011 จัดเตรียมโดย เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย coachkriengsak@yahoo.com www.thaicoach.com
  • 2. 2 .......................................................................................................................................................................ที่มา& 3 ...........................................................................................................................................จุดแข็ง (Strengths)& 4 ........................................................................................คุณสามารถเปลี่ยนแปลงดานไหนของตนเองไดบาง& 5 ............................................................................................................................................................ความรู (Knowledge)( 5 ........................................................................................................................................................................ทักษะ (Skills)( 6 ...............................................................................................................................................................พรสวรรค (Talent)( 6 .................................................................................ทำไมพรสวรรคของคุณจึงสำคัญมากในการสรางจุดแข็ง& 9 ........................................................................................................................................รองรอยของพรสวรรค& 9 .............................................................................................................แบบประเมิน StrengthsFinder (SF)& 10 .......................................................................เราจะรูแคบเกินไปหรือไม ถาเราเนนลักษณะเฉพาะของตน& 11 ...........................................................................................................เราจะจัดการอยางไรกับจุดออนของตน& 11 ....................................................................................................................................................1. ทำใหดีกวาเดิมเล็กนอย( 12 ............................................................................................................................................................2. ออกแบบสนับสนุน( 12 ..........................................................................................................................3. ใชพรสวรรคที่แข็งแกรงมากลบจุดออน( 12 ..................................................................................................................................................................................4. หาคูหู( 12 .......................................................................................................................................................................5. เลิกทำสิ่งนั้น( 12 ............................................................พรสวรรคของเราสามารถบอกใหรูวาอยูในอาชีพที่เหมาะสมหรือไม& 12 .........................................เราจะใชประโยชนจากความรูความเขาใจในเรื่องพรสวรรคและจุดแข็งอยางไร& 13 ..............................................................................................................................1. ปลดปลอยศักยภาพของเราแตละคน( 13 ...............................................................................................................................................2. Mentoring / Coaching( 13 ...........................................................................................................3. เขาใจและเรียนรูที่จะใชจุดแข็งของสมาชิกในทีม( 13 .........................................................................................แนวทางการใชหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” ในการโคช& 14 ............................................................................................................................................แหลงขอมูลอางอิง& 15
  • 3. 3 ที่มา องคกรที่ประสบความสำเร็จจะตองเขาใจวาพนักงานแตละคนมีจุดแข็งที่แตกตางกัน และองคกรตองใชประโยชนสูงสุดจากความแตกตางเหลานั้น จากการสำรวจพนักงานกวา 1.7 ลานคนจาก 101 บริษัทใน 63 ประเทศ ดวยคำถามวา “พวกเขามีโอกาสทำสิ่งที่ทำไดดีที่สุด ในทุกวันเพียงใด” คำตอบคือ มีคนเพียงรอยละ 20 เทานั้นที่รูสึกวาไดใชจุดแข็งในการทำงานทุกวัน หากเราสามารถเพิ่มจำนวนจากรอย ละ 20 เปน 40 หรือ 60 จะเกิดผลดีเพียงใด องคกรสวนใหญมีสมมติฐานที่คลาดเคลื่อนสองขอคือ - คนทุกคนสามารถเรียนรูใหมีความสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไดแทบทุกเรื่อง - การพัฒนาที่ดีที่สุดคือทุมความสนใจ มุงแกไขที่จุดออน สมมติฐานทั้งสองขอทำใหละเลยการมุงเนนจุดแข็งของพนักงาน สิ่งที่ควรจะเปนซึ่งผู จัดการยอดเยี่ยมทั่วโลกใชในการบริหารทีมของเขาคือ - พรสวรรคแตละคนยั่งยืนและพิเศษเฉพาะตัว - ควรมุงเนนพัฒนาจุดแข็งที่เยี่ยมที่สุดของผูนั้น The Gallup Organization ใชเวลาสามสิบปสัมภาษณคน 2 ลานคน จนพบ แบบแผน 34 แบบ ซึ่งเรียกวา “ลักษณะสำคัญ” (Themes) คือลักษณะพรสวรรค ของมนุษยเราที่ปรากฏแพรหลายที่สุด ผลการวิจัยยังแสดงใหเห็นวาทั้ง 34 ขอนี้ เมื่อผสมรวมกันในหลายรูปแบบ จะสามารถใชอธิบายผลการทำงานที่ดีเลิศไดกวางที่สุด ตัวอยางเชน วอเร็น บัฟเฟตต นักธุรกิจผูประสบความสำเร็จจากการเลนหุน เขา ทำไดดีเพราะเขารับรูแบบแผนและจุดแข็งของตน และนำมาใชในการการลงทุนในหุน คนสวนใหญคาดหวังวาคนเลนหุนที่จะประสบความสำเร็จ ควรจะตองไมเชื่อใจใคร งายๆ มีสมองที่รวดเร็วคอยคิดคนหาแบบแผนในตลาดอันซับซอน ในขณะที่วอเร็นเปน คนใจเย็น เนนความจริง และเชื่อใจคน เขาใชจุดแข็งเหลานี้โดยการใชความใจเย็น ลงทุนแบบมุมมองยี่สิบปซึ่งทำใหเขาเลือกลงทุนกับบริษัทที่เขาทำนายวิถีทางภายในยี่สิบ ปไดอยางมั่นใจ การเนนความเปนจริงทำใหเขาเลือกลงทุนในผลิตภัณฑหรือบริการที่ เขาเขาใจไดงายเชน อาหาร เครื่องดื่ม หนังสือพิมพ สุดทายเขาใชความเชื่อใจ ดวย การตรวจสอบผูบริหารระดับสูงของบริษัทที่เขาเลือกจะลงทุนกอนดวยความระมัดระวัง หลังจากนั้นก็เชื่อใจไมแทรกแซงการบริหารในแตละวันของพวกเขา
  • 4. 4 จุดแข็ง (Strengths) คือการปฏิบัติกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งไดแทบสมบูรณแบบอยางสม่ำเสมอ (Consistent near perfect performance in an activity) หลักการสามขอที่สำคัญที่สุดในการใชจุดแข็งใหเปนประโยชนตอชีวิตคือ 1. จะถือกิจกรรมใดๆเปนจุดแข็งไดก็ตอเมื่อคุณสามารถทำกิจกรรมนั้นไดอยาง สม่ำเสมอจนคาดหวังได 2. คุณไมจำเปนตองมีจุดแข็งที่เกี่ยวกับบทบาทของตนในทุกดานจึงจะเปนเลิศได ความ คิดที่วาผูปฏิบัติไดดีเลิศตองเกงรอบดานนั้นเปนเรื่องที่เปนไปแทบไมได ในทางตรง ขามเมื่อเราศึกษาผูปฏิบัติไดเปนเลิศนั้น พวกเขาแหลมคมกันเฉพาะดาน 3. คุณจะเปนเลิศไดดวยการเพิ่มพูนจุดแข็งของตนใหมากที่สุด มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวไดสูง เราสามารถปรับตัวและเรียนรูไดแทบทุกเรื่องถา จำเปน แตอาจจะทำไดดีขึ้นเพียงเล็กนอย แตเราไมสามารถพัฒนาจนกระทั่งแทบ สมบูรณแบบอยางสม่ำเสมอไดโดยลำพังจากการฝกหัด การพัฒนาจุดแข็งในกิจกรรม ใดๆก็ตาม จำตองใชพรสวรรคตามธรรมชาติบางประการ ดังนั้นเราจึงควรมีเครื่องมือ บางอยางที่สามารถแยกพรสวรรคที่มีมาตามธรรมชาติออกจากสิ่งที่สามารถเรียนรูได เพื่อใหงายตอความเขาใจ ขอใหนิยามสามเรื่องดังนี้ • พรสวรรค (Talents) คือแบบแผนของความคิด ความรูสึก หรือพฤติกรรมของคุณ ที่เกิดขึ้นซ้ำๆอยางเปนธรรมชาติ สิ่งที่แบบประเมิน Strengthsfinder (SF) วัดไดก็ คือลักษณะของพรสวรรคตางๆของคุณ • ความรู (Knowledge) ประกอบดวยขอมูลและบทเรียนที่ไดเรียนรู • ทักษะ (Skills) คือขั้นตอนในการทำกิจกรรม พรสวรรค ความรู และทักษะ สามประการนี้รวมกันสรางจุดแข็ง (Strengths) พรสวรรคของคุณมีมาแตกำเนิด ในขณะที่ทักษะและความรูนั้นสามารถหามาไดดวย การเรียนรูและฝกฝน เชนตัวอยางของพนักงานขาย คุณอาจเรียนวิธีการบรรยาย สรรพคุณผลิตภัณฑ (ความรู) คุณอาจเรียนวิธีตั้งคำถามเปดเพื่อคนหาความตองการ ของลูกคา (ทักษะ) แตคุณจะไมมีวันเรียนวิธีผลักดันใหคนที่คุณกำลังเสนอขายตกลง ณ ขณะที่เหมาะสมดวยรูปแบบที่ถูกจังหวะพอดี เพราะนั่นเปนพรสวรรค หัวใจในการสรางจุดแข็งที่แทจริงก็คือ การจำแนกพรสวรรคที่สำคัญที่สุดของตนแลวนำ ไปขัดเกลาดวยความรูและทักษะ
  • 5. 5 ภาษาที่เราสื่อสารกันโดยปกติ ในเรื่องของคน มักจะออกในแงลบ เชน - คนที่เฉียบแหลมในการจัดระเบียบและโครงสรางใหกับโลก กลับถูกมองวาจูจี้จุกจิก - คนที่อางความเปนเลิศ กลับถูกมองวาหลงตัวเอง - คนที่คาดการณลวงหนาและคอยถามวา “อะไรจะเกิดขึ้นถา...” ถูกมองวาขี้กังวล b เราควรจะมีภาษาที่ใชสื่อความในเรื่องจุดแข็ง เพื่อชวยอธิบายจุดแข็งที่เราเห็นในตนเอง และผูอื่น ภาษานี้ตองแมนยำ ตองสามารถบรรยายความแตกตางระหวางบุคคลได ละเอียด เปนคำพูดเชิงบวก และชวยเราอธิบายจุดแข็งมิใชอธิบายความออนแอ โดย มีผูใชรวมกันจำนวนมาก ที่มีความเขาใจตรงกัน ซึ่งหนังสือเสนอคำบรรยาย Strengthsfinders (SF) เปน “ภาษากลาง” (Common Language) คุณสามารถเปลี่ยนแปลงดานไหนของตนเองไดบาง ความรู (Knowledge) สำหรับการสรางจุดแข็ง เราสามารถจำแนกความรูไดเปนสองประเภทที่แตกตางกัน เราตองมีความรูทั้งสองประเภท ซึ่งเปนสิ่งที่เราสามารถแสวงหาและเรียนรูได คือ - ความรูดานขอมูล (Factual Knowledge) ซึ่งก็คือเนื้อหาสาระ เชนตอนเริ่มเรียน ภาษาความรูดานขอมูลคือคำศัพท ความรูนี้ไมไดประกันความเปนเลิศ แตถาไมมีก็ ไมสามารถจะเปนเลิศได เสมือนเปนตั๋วเขางานที่ใหโอกาสคุณกาวสูความเปนเลิศ - ความรูจากประสบการณ (Experiential Knowledge) ที่ไมสอนในชั้นเรียน ไม อยูในคูมือ แตเปนเรื่องที่คุณตองฝกวินัยใหตนเองสรางสมและเก็บรักษาไว เชน การเขียนบทความลงหนังสือพิมพใหจบลงภายในแปดรอยคำ และตองอานสนุกได อรรถรส ความรูจากประสบการณบางประเภทเปนเรื่องแนวคิด เชนคานิยม (Values) และการรูจักตนเอง (Self Awareness) ถาคุณจะสรางจุดแข็งใหตนเอง ก็ตองขัดเกลาทั้งสองประการนี้ และถาใชเวลาก็สามารถพัฒนาได ที่จริงแลวเมื่อ เราพูดวา “คนนั้นเขาเปลี่ยนไปนะ” เรามักจะไมไดหมายความวา บุคลิกพื้นฐาน ของเขาเปลี่ยนไป แตหมายความวาคานิยมของเขาเปลี่ยน หรือการรูจักตนเอง ของเขานั้นเปลี่ยน ไมวาเราจะมองไปทางไหน ก็จะเห็นตัวอยางผูคนที่เปลี่ยนจุด สนใจของตนดวยการเปลี่ยนคานิยม ถาคุณอยากเปลี่ยนชีวิตของตนเพื่อใหผูอื่นได ประโยชนจากจุดแข็งของคุณ คุณก็ตองเปลี่ยนคานิยมของคุณ อยามัวเสียเวลา พยายามเปลี่ยนพรสวรรคเลย
  • 6. 6 ทักษะ (Skills) ทักษะกำหนดโครงสรางใหกับความรูที่ไดจากประสบการณ กิจกรรมใดๆหากเราสังเกต สิ่งที่คนเกงไดทำ แลวจัดระบบเปนขั้นตอน ซึ่งหากปฏิบัติตามก็จะทำใหเกิดผลงานที่ดี ขึ้น แมวาผลของมัน อาจจะไมถึงกับยอดเยี่ยมก็ตามที เชนหากเราสังเกตนักพูดที่พูด เกงจะพบทักษะโดยมีลำดับดังนี้ 1. เขียนเรื่องหรือขอมูลหรือตัวอยางที่กระทบใจคุณ 2. ฝกเลาเรื่องออกมาดังๆ แลวฟงสิ่งที่ตัวเองพูด 3. เรื่องพวกนี้จะเปนเสมือนลูกปดที่รอยสายสรอยของคุณ 4. เรื่องเดียวที่คุณตองทำตอนบรรยายคือรอยลูกปดใหถูกลำดับ แลวคุณก็จะ บรรยายไดเปนธรรมชาติเหมือนการสนทนา 5. ใชกระดาษโนตหรือแฟมเอกสาร เพื่อเพิ่มลูกปดใหมๆ ใหสรอยของตนเอง ทักษะชวยใหคุณเลี่ยงไมตองลองผิดลองถูกโดยนำผลการคนควาที่ดีที่สุดจากผูปฏิบัติได ดีที่สุดมารวมไวในผลงานของตนเองโดยตรง ถาคุณอยากสรางจุดแข็ง ไมวาจะเปน ดานขาย การตลาด การวิเคราะหทางการเงิน การขับเครื่องบิน หรือการรักษา พยาบาล คุณจำเปนตองเรียนรูและฝกฝนทักษะที่เกี่ยวของทั้งหมด แตควรระวังใหดี ทักษะนั้นมีประโยชนลอใจเสียจนบดบังขอบกพรองสองอยาง ขอ บกพรองแรกคือวา แมทักษะจะชวยใหคุณปฏิบัติ แตมันจะไมชวยใหคุณเปนเลิศ ขอที่ สองกิจกรรมบางอยางไมสามารถแบงออกเปนขั้นตอนตางๆไดเชนความเห็นอกเห็นใจ พรสวรรค (Talent) พรสวรรคคือ แบบแผนของความคิด ความรูสึก หรือพฤติกรรมที่เกิดซ้ำๆ ซึ่ง สามารถนำมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนได แมกระทั่ง “ขอบกพรอง” เชน Dyslexia คืออาการของคนที่สะกดหรืออานคำยากๆไม ได ก็อาจเปนพรสวรรคได เพราะเดวิด บอยส ซึ่งเปนทนายฝายรัฐบาลอเมริกันผูยื่น ฟองไมโครซอฟทในคดีปองกันการผูกขาด เขาชนะใจผูพิพากษาดวยการใชคำอธิบายขอ กลาวหาของรัฐบาลไดอยางชัดเจน โรค Dyslexia ทำใหเขาเลี่ยงไมใชคำศัพทยาวๆ ยากๆ แมจะรูความหมายของคำพวกนี้ เขาก็ไมใชในการอางเหตุผลสนับสนุนของตน เขาอธิบายในบทสมัภาษณวา “ผมเกรงจะพูดผิด” โชคดีที่ความจำเปนตองพึ่งพาคำ งายๆทำใหคนอื่นเขาใจเหตุผลของเขาไดงายขึ้นไปดวย b
  • 7. 7 สำหรับเดวิด บอยส แลว Dyslexia เปนพรสวรรคเพราะเขาพบวิธีประยุกตใช แบบแผนที่เกิดซ้ำๆ นี้ใหเกิดประโยชน และเปลี่ยนมันใหเปนจุดแข็ง ดวยการผสม ผสานความรูและทักษะทั่วไป พรสวรรค เกิดมาจากกระบวนการซับซอนทางสมอง โดยจุดประสานประสาท (Synapse) เปนตัวสรางพรสวรรคใหกับแตละคน พัฒนาการทางสมองผสมกับปจจัยดานกรรมพันธุ และประสบการณวัยเด็ก ชวยใหคุณ พบวาจุดเชื่อมโยงบางประเภทราบรื่นและใชงานไดงายกวาจุดเชื่อมโยงอื่น ตัวตนของคุณเปนปจเจกชนที่มีพรสวรรคแตกตางไปจากคนอื่น คุณจะตอบสนองโลก ดวยวิธีของคุณเองที่พิเศษและเฉพาะตัวอยางยั่งยืน เราแตละคนจะมองโลกไมเหมือนกัน ดังนั้น Common Sense จึงไมมีอยูจริง อยางไรก็ตามความสามารถพิเศษเฉพาะตัวของเราไมไดแบงแยกพวกเราจากกันโดยสิ้น เชิง เราแตละคนมีความคิดและความรูสึกรวมกับเพื่อนมนุษยดวยกันหลายเรื่อง ไมวา เราจะไดรับการเลี้ยงดูมาในวัฒนธรรมใด แตละคนคุนเคยกับอารมณ เชนความกลัว ความเจ็บปวด ความละอาย และความภูมิใจ เราจะมาลองมาดูตัวอยางเพื่อแยกแยะใหเห็นระหวางองคประกอบของ ทักษะ ความ รู และพรสวรรคกันซักหนึ่งตัวอยาง เมื่อหลายปกอน ผมและคุณชนะทีมงานของผม ไปทำงานที่พนัสนิคม หลังเลิกงานก็ เขาไปทานอาหารเย็นในรานชื่อครัววังเดือนหา เราสองคนเดินเขารานพรอมหอบ โนตบุคคนละเครื่องหวังจะไปสรุปงานตอใหเสร็จ พอเดินเขาไปในรานพนักงานบริการ คนหนึ่งเดินเขามาตอนรับเราดวยสีหนายิ้มแยม พรอมกลาวตอนรับอยางเปนมิตร เธอ บอกกับเราวา “เชิญโตะในสุดดีกวาคะมีปลั๊กไฟใหเผื่อวาตองการใชคอมฯ” พอเรานั่ง ลง เธอก็สอบถามเราวาตองการทานอาหารแบบไหน แพอะไร ชอบอะไรเปนพิเศษ พอเราจะสั่งปลากะพงเธอบอกวาวันนี้ไมสด ไมแนะนำ ขอเสนอปลาเกาดีกวา เธอฟง สังเกต และเสนอแนะอยางยอดเยี่ยม ผมสรุปไดเลยวาจุดแข็งของพนักงานคนนี้คือ การบริการยอดเยี่ยม นี่คือสิ่งที่เธอทำไดดี สังเกต เขาใจ ตั้งใจ ถาม ฟง พูด รูสตอคของสด รูรายการ อาหาร ดูแลรายบุคคล รูทำเลที่นั่ง จิตวิทยา ชางพูด
  • 8. 8 หากนำมาแยกแยะจะเปนดังนี้ จุดแข็งของพนักงานผูนี้คือ การบริการลูกคายอดเยี่ยม ทักษะ ความรู พรสวรรค ฟง พูด ถาม สังเกต จิตวิทยา ทำเลที่นั่ง สตอคของสด รายการอาหาร เขาใจ ตั้งใจ ชางพูด ดูแลรายบุคคล พรสวรรคทั้ง 34 ขอ จำแนกไดเปนสี่กลุมคือ ความสัมพันธ Relating Themes การสรางผลกระทบ Impacting Themes ความมุงมั่น Striving Themes ความคิด Thinking Themes Communication Empathy Harmony Includer Individualization Relator Responsibility Command Competition Developer Maximizer Positivity Win Over Others Achiever Activator Adaptability Belief Discipline Focus Restorative Self-Assurance Significance Analytical Arranger Connectedness Consistency Context Deliberative Futuristic Ideation Input Intellection Learner Strategic
  • 9. 9 ทำไมพรสวรรคของคุณจึงสำคัญมากในการสรางจุดแข็ง ในแตละวันเราตัดสินใจเรื่องปลีกยอยนับพันครั้ง เราไมสามารถที่จะใชเหตุผลมา พิจารณาตัดสินใจไดทุกเรื่อง ในสถานการณเชนนี้สมองคุณจะทำงานอยางที่ธรรมชาติ ทำเสมอ นั่นคือหาวิธีที่สะดวกที่สุด ซึ่งก็คือปฏิบัติตามพรสวรรคของคุณที่คุณถนัดและ คุนเคย พรสวรรคของคุณซึ่งก็คือ Synapse หรือเซลลสมองที่แข็งแกรงที่สุดของคุณนั้น เปน วัตถุดิบที่สำคัญที่สุดในการสรางจุดแข็ง ถาคุณสามารถระบุพรสวรรคที่ทรงพลังที่สุด ของตน และขัดเกลามันดวยทักษะและความรู คุณก็ใกลจะไดใชชีวิตที่เขมแข็ง รองรอยของพรสวรรค ประการแรกหากคุณตองการจะเผยใหเห็นพรสวรรคของตน คุณควรติดตาม ปฏิกิริยา ตอบสนองแบบที่เกิดขึ้นเองในทันทีทันใด (Spontaneous Reactions) ตอ สถานการณ ตัวอยางเชน ลูกนองโทรมาลางานเพราะลูกปวย หากสิ่งแรกที่คุณคิดคือ ใครจะมาทำงานแทนเขา คุณอาจจะมีพรสวรรคดานระมัดระวัง หากสิ่งแรกที่คุณคิด คือลูกเขามีอาการหนักไหมและลูกนองคุณมีจิตใจเปนอยางไร คุณอาจจะมีพรสวรรคใน เรื่องเห็นอกเห็นใจ นอกจากนี้เราสามารถคนหารองรอยของพรสวรรคจาก • ความปรารถนาอยางแรงกลา โดยเฉพาะในวัยเยาว เชนดาราสองคนในขณะที่ พวกเขามีอายุเพียงสิบขวบ เขาหามุมในหองอาหารถกกันเรื่องโปรเจ็คทหนังของเขา ทั้งคูในชวงพักเที่ยง เปนประจำ หรือ • การเรียนรูไดเร็ว เชนอองรีไมเคยจับพูกันจนอายุ 21 หลังพักฟนจากอาการปวย แมเขาอยากหาอะไรมาใหเขาทำเพลินๆ จึงเอากลองสีมาให เขาพบวาเขาเรียนรูวิธี วาดรูปจากคูมือไดอยางรวดเร็ว ทำใหเขาประสบความสำเร็จในฐานะจิตรกรในเวลา ตอมา หรือ • สิ่งที่ทำแลว “รูสึกดี” เชนบางคนพอใจเมื่อเห็นคนอื่นปรับปรุงไดแมเพียงเล็กนอย ในขณะที่คนสวนใหญมองไมเห็น บางคนชอบจัดความสับสนใหเปนระเบียบ บาง คนสนุกสนานไปกับการเปนเจาภาพในงานใหญ บางคนชื่นชมในความสะอาดยิ้มให ตัวเองตอนดูดฝุนในหองเสร็จ บางคนรักความคิด บางคนไมเชื่อในความคิดแต กลับตื่นเตนไปกับความทาทายในการวิเคราะหหา “ความจริง” บางคนจำเปนตอง ทำใหไดมาตราฐานของตน
  • 10. 10 • อีกวิธีหนึ่งก็คือสังเกตเรื่อง “ความรูสึกเกี่ยวกับเวลา” หากกิจกรรมใดคุณรูสึกวา เมื่อไรจะหมดเวลาเสียที แสดงวานั่นไมใชพรสวรรค ในทางกลับกัน หากคุณรูสึก วา เมื่อไรจะมีโอกาสไดทำอีก นั่นนาจะเปนพรสวรรคของคุณ แบบประเมิน StrengthsFinder (SF) คือแบบสอบถามจำนวน 177 คู เพื่อวิเคราะหจุดแข็งของผูตอบ โดยแตละคำถามจะมี คำตอบใหเลือกหนึ่งในหาขอ ผูตอบแตละคนจะไดรหัสสวนตัวจากหนังสือฯ เลมละหนึ่งรหัส ซึ่งตองลงทะเบียน ที่ www.strengthsfinder.com ทำใหใชไดหนึ่งรหัสตอหนึ่งคน เทานั้น เพื่อจำลองสถานการณใหเหมือนจริง ผูตอบจะมีเวลาเพียง 20 วินาทีตอขอ SF ไมไดมีวัตถุประสงคเพื่อเติมจุดแข็งใหคุณ แตเพื่อหาวาคุณมีศักยภาพที่จะเปนจุด แข็งไดดีที่สุดในเรื่องใด คุณจะไดรับผลทันทีเมื่อตอบเสร็จ เปนการแสดงผลพรสวรรคที่เดนที่สุดของคุณหา ประการ ซึ่งเรียกวา ลักษณะเฉพาะของคุณ (Signature Themes) พรสวรรคนี้อาจ จะยังไมใชจุดแข็ง พรสวรรคแตละประการเปนแบบแผนของความคิด ความรูสึก หรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำๆ ซึ่งเปนความเปนไปไดสูงมากหากพัฒนาตอไปอาจจะเปน จุดแข็งของคุณ
  • 11. 11 เราจะรูแคบเกินไปหรือไม ถาเราเนนลักษณะเฉพาะของตน b การที่คุณเชี่ยวชาญในการรูวาลักษณะเฉพาะของคุณรวมกันแลวเปนอยางไรแลว คุณ จะยิ่งมั่นใจในความพิเศษเฉพาะของตนเอง ไมวาคุณจะมีเชื้อชาติ เพศ อายุ หรือ อาชีพใด ก็จะมั่นใจวาไมมีใครในโลกเหมือนคุณทั้งหมด มันจะสงผลตอไปวา ถาคุณพิเศษเฉพาะอยางถาวรและนาอัศจรรยแลว คนอื่นๆก็ตอง พิเศษเฉพาะเชนกัน นอกจากความคลายกันอยางผิวเผินแลว แตละคนมีมุมมองที่แตก ตางไปเล็กนอย แตก็สรางความหมายใหแกโลกนี้ คุณอาจจะชื่นชอบความทาทายที่จะปนเขาลูกใหม (พรสวรรคดานผูสรางความสำเร็จ) แตคนอื่นอาจอยากชวยเหลือผูอื่น (ความเชื่อ) คุณอาจเกงในการคนพบแบบแผนจาก ขอมูล (ชางวิเคราะห) แตคนอื่นอาจมีวิสัยทัศนที่จะเห็นผลกระทบจากการคนพบของ คุณ (อนาคต) คุณอาจสามารถสรางกลุมคนที่รูจักคุณและพรอมชวยเหลือคุณเต็ม กำลังไดโดยธรรมชาติ (ชนะใจ) แตคนอื่นอาจสรางความสัมพันธกับคนกลุมนี้ไดลึกซึ้ง กวา (สรางสัมพันธ) ยิ่งคุณรูจักความซับซอนของพรสวรรคของคุณเทาไร คุณก็ยิ่งสามารถระบุและมองเห็น คุณคาของความซับซอนของผูอื่น ในทางกลับกัน ยิ่งคุณไมเห็นคาของพรสวรรคของ ตนเอง คุณก็ยิ่งไมเห็นวาพรสวรรคของผูอื่นมีคา เราจะจัดการอยางไรกับจุดออนของตน นิยามของจุดออนในที่นี้คือ อะไรก็ตามที่ขัดขวางการปฏิบัติใหเปนเลิศ พอคุณรูจุดออนของตนแลว สิ่งแรกที่คุณทำไดก็คือระบุวาจุดออนนั้นเปน ทักษะ ความรู หรือพรสวรรค มีขอสังเกตงายๆคือ ถาคุณยังปฏิบัติไดต่ำกวาเกณฑหลังจากหาความรูและทักษะที่คุณ รูสึกวาจำเปนมาแลว เมื่อนั้นเราก็ทอนโจทยไดวาสวนประกอบที่หายไปตองเปน พรสวรรค พอถึงจุดนั้น คุณควรเลิกเสียเวลาพยายามหาความรูเพื่อใหเปนเลิศ แลว หันมาใชกลยุทธที่สรางสรรค
  • 12. 12 ซึ่งกลยุทธที่ไดกลั่นกรองมาจากการสัมภาษณผูปฏิบัติไดเปนเลิศมาแลวมีหาวิธีคือ 1. ทำใหดีกวาเดิมเล็กนอย ไทเกอร วูดส เลนหลุมทรายไมเกง ก็ตองฝกใหพอใชได และสนใจเปนพิเศษในการ ขัดเกลาวงสวิง เพื่อใหจุดแข็งของเขาสมบูรณแบบมากที่สุด 2. ออกแบบสนับสนุน เชนเควิน ออนเรื่องกลยุทธ เขาจะใชวิธีการจินตนาการ ในตอนเชากอนที่เขาจะสวม รองเทา เขาจะนึกวาดคำวา “อะไร” ลงบนรองเทาขางซาย และคำวา “ถา” บน รองเทาขางขวา เพื่อเตือนตนเองวา “อะไรจะเกิดขึ้นถา...” เพื่อใหเขาคาดถึงอุปสรรค ไวลวงหนา ซึ่งเปนลักษณะของพรสวรรคกลยุทธ 3. ใชพรสวรรคที่แข็งแกรงมากลบจุดออน นักแตงเพลงที่แตงทำนองเพราะมาก แมวาเนื้อรองจะไมเขาทาเลยก็ตาม 4. หาคูหู เชนมิเชลมีพรสวรรคดานเปาหมายที่ชัดเจน แตออนดานการสรางสัมพันธ จึงเปด ธุรกิจโดยหุนกับเดวิดที่เกงเรื่องการสรางสัมพันธ แตออนเรื่องเปาหมายที่ชัดเจน 5. เลิกทำสิ่งนั้น พรสวรรคของเราสามารถบอกใหรูวาอยูในอาชีพที่เหมาะสมหรือไม ผลจาก SF จะไมคอยบอกอะไรนักในเรื่องของวงการที่คุณควรเลือก แมจะบอก แนวทางในเรื่องบทบาทไดบาง ผูเขียนไมแนะนำใหควรเชื่อถือในเรื่องแนวทางนั้น ทั้งนี้ มีตัวอยางในหนังสือหลายกรณีที่คนสามารถประสบความสำเร็จไดในทุกสาขาอาชีพ ไม วาเขาจะมีลักษณะเฉพาะอยางไร ขึ้นอยูกับวารูจักตนเอง และสามารถใชประโยชน จากจุดแข็งไดมากเพียงใดตางหาก นอกจากนี้ มีตัวอยางการคนพบวงการที่เหมาะสมหลายวิธี การฟงความปรารถนา อยางแรงกลาที่ดึงดูดเรา แลวพิจารณาวาเรารูสึกเปนพิเศษกับเรื่องไหน อาจเปนวิธี หนึ่ง ถายังไมรูสึก “ปง” กับเรื่องไหนเปนพิเศษ คุณก็ตองทดลองในชวงระหวาง ศึกษาหรือในชวงปแรกๆระหวางทำงาน แลวตัดทางเลือกใหแคบลง นอกจากนี้อาจจะลองพูดคุยกับผูที่ทำงานในบทบาท หรือวงการที่เราสนใจ ก็เปนอีก แนวทางหนึ่ง
  • 13. 13 เราจะใชประโยชนจากความรูความเขาใจในเรื่องพรสวรรคและจุดแข็งอยางไร TheCoach ไดนำ SF มาใชในการพัฒนาภาวะผูนำและผูบริหารโดยใชในสามลักษณะคือ 1. ปลดปลอยศักยภาพของเราแตละคน เชนในกรณีที่ผมมี Connectedness คือสามารถเชื่อมโยงเรื่องราว ประเด็น หรือ บุคคล ที่คนอื่นมองไมเห็นเขาดวยกันไดดี กอนหนานั้นผมไมทราบมากอนวานี่คือจุด แข็ง คิดวาเปนจุดออนเสียอีก เวลาในที่ประชุมเมื่อตองมีการออกความคิดเห็น ผมมัก จะพูดเปนคนสุดทาย โดยการเชื่อมโยงประเด็นและความกังวลใจของคนในที่ประชุม ออกมาขมวด แตผมไมทราบวาเปนจุดแข็ง ดังนั้นผมจึงมักไมออกความเห็น หรือถา ออกความเห็นก็มักจะตื่นเตนจนเกินเหตุเพราะรูสึกวาตนเองคิดเองไมเปนคอยแตหากิน กับความคิดของชาวบาน จึงพูดออกมาไดไมดี แตพอรูวานี่เปนจุดแข็งของเรา ดังนั้น ทุกครั้งจึงมักขอพูดสรุปเปนคนสุดทาย ที่นาขำก็คือครั้งหนึ่งที่บิ๊กซีใหผมไปนั่งฟงเขาสัม นาแผนงานกันทั้งวัน เพื่อที่จะใหผมกลาวสรุปขมวดประเด็นตอนหานาทีสุดทายแคนั้น เอง อีกตัวอยางหนึ่ง บางคนมีจุดแข็งคือ Deliberative คือระมัดระวัง ซึ่งมีคุณสมบัติที่ จะมองปญหาที่อาจจะเกิดไดเร็วกวาคนอื่นๆมาก จนเจาตัวหรือคนรอบขางคิดวาเปน พวกมองโลกในแงราย หากใครจะระดมความคิดอยามาถามเขาเดี๋ยวจะวงแตกกอน เพราะมองแตความเสี่ยง ในทางกลับกันหากเขาใจจุดแข็งของเขา เวลาระดมสมอง ตองการความคิดสรางสรรค อาจจะไมตองเชิญเขาเขามา จนกระทั่งพอไดแนวทาง สองสามวิธี คราวนี้ก็เชิญเขาเขามาชวยระบุความเสี่ยงวาแตละทางเลือกมีความเสี่ยง อะไรบาง เขาก็จะทำไดอยางดีเยี่ยมทีเดียว 2. Mentoring / Coaching วิธีนี้ผมนำมาใชที่ไทยออยลคือการใชเปนแนวทางเพื่อให Mentor/Mentee เขาใจจริตซึ่ง กันและกัน ในกรณีการโคช ผมใชมากเลยสำหรับการโคชผูบริหารรายบุคคล และ สำหรับพวกเราก็สามารถใชโคชทีมงานแตละคนได 3. เขาใจและเรียนรูที่จะใชจุดแข็งของสมาชิกในทีม ในหลายๆองคกรเขาจะตั้งโตะไวเลยวาแตละคนมีพรสวรรคอะไรบาง เพื่อเพื่อนๆจะไดรู วาใครมีแนวโนมจะถนัดหรือมีจุดแข็งในเรื่องอะไร และจะใชประโยชนจากจุดแข็งของ ทีมงานแตละคนไดอยางไร
  • 14. 14 แนวทางการใชหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” ในการโคช 1. ใหบุคลากรที่เราตองการโคชทำแบบสอบถามจากหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” โดยทำตาม ขั้นตอนในหนังสือ 2. นำผลขอมูลพรสวรรคทั้งหาขอมาใหผูทำหนาที่โคช พรอมนำหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” มาดวย 3. เปดหนังสือทำตามขั้นตอนในหนาที่ 204 4. โดยที่ในหนาที่ 205 - 238 คือเมนูของการโคชพรสวรรคทั้ง 34 ขอ โดยเรียงตาม ลำดับภาษาอังกฤษ เริ่มตั้งแต Achiever - WOO เพียงแตหัวขอในแตละหนาไดแปล เปนภาษาไทย เชนหนา 205 สำหรับคนที่มีพรสวรรค Achiever จะเขียนไววา “วิธี บริหารคนที่แกรงดานผูสรางความสำเร็จ” 5. ใหเลือกหนาตามขอมูลของพรสวรรคทั้ง 5 ขอที่ไดมา เชน ผมมีพรสวรรค Connectedness, Input, Relator, Individualization, Maximizer. ผมก็จะไปดูเมนูใน หนา 214, 227, 232, 226, 230 ตามลำดับ 6. ในแตละหนา ใหผูที่จะถูกโคช เลือกขอมูล 2-3 Bullet points ที่ตรงกับตัวแขา แลวเลาใหผูที่เปนโคชฟง 7. ผูเปนโคช ฟงดวยความตั้งใจ ถามหาตัวอยางถาไมแนใจ ทำความเขาใจตกลงกันวา จากขอมูลที่เขาบอกเรานั้น เขาอยากใหเรา สื่อสาร สอนงาน มอบหมายงาน บริหารเขา อยางไรที่ถูกจริตเขามากที่สุด 8. หากมีคำถาม โทรมาหาโคชเกรียงศักดิ์ 089-816-8911 email coachkriengsak@yahoo.com
  • 15. 15 แหลงขอมูลอางอิง First Break All the Rules By Marcus Buckingham & Curt Coffman Now Discover Your Strengths By Marcus Buckingham & Donald Clifton Strengthsfinder 2.0 By Tom Rath How Full is Your Bucket By Tom Rath Follow this Path By Curt Coffman & Gabriel Gonzalez-Molina