SlideShare a Scribd company logo
1




สวัสดีคะ ลูกเสือ – เนตรนารี บทเรียนที่ถออยูนี้
                                         ื
เปนบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง การกอกองไฟและการ
ปรุงอาหารอยางงาย ของลูกเสือสามัญ ชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5 นะครับ




      ลูกเสือสามารถใชเรียนไดดวยความสามารถของ
ตนเอง ขอใหลูกเสืออานคําแนะนําและปฏิบัติตามคํา
ชี้แจงแตละขั้นตอน ตั้งแตตนจนจบ ลูกเสือจะมีความ
เขาใจเรื่องราวของการ กอกองไฟและการปรุงอาหาร
อยางงายไดอยางถูกตอง โดยปฏิบติตามขั้นตอนดังนี้
                                 ั
2




          ขอ 1. กอนที่ลูกเสือจะศึกษาบทเรียน ลูกเสือ
    ควรทราบวาตนเองมีความรูในเรื่องนี้มากนอยเพียงใด
    โดยทําแบบประเมินผลตนเองกอนเรียน ที่เตรียมไว
    ตอนตน และตรวจคําตอบจากเฉลยที่ใหไว



            ขอ 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาในแตละตอน
            อยางละเอียด อยาขามตอน พรอมทั้งฝกทํา
            กิจกรรมที่กําหนดใหในแตละตอน



           ขอ 3. ถาลูกเสือสามารถตอบคําถามได
           ถูกตอง แสดงวาลูกเสือเขาใจดีแลว ใหอาน
           และตอบคําถามตอไปเรื่อย ๆ จนจบ



                     ขอ 4. ทําแบบประเมินตนเองหลังเรียน ถา
                     ไดคะแนนประเมินต่ํากวารอยละ 80 ให
                     กลับมาทบทวนแลวทําแบบทดสอบใหม



ขอ 5. ลูกเสือตองมีความซื่อสัตยตอ
ตนเองไมดูเฉลยคําถามกอน
3




                             แบบประเมินตนเองกอนเรียน

จุดประสงค 1. บอกรูปแบบ ขั้นตอน และแสดงวิธีการกอไฟ การปรุงเครื่องดื่มรอน
              และปรุงอาหารงาย ๆ นอกสถานที่ได
            2. นําความรูเกี่ยวกับการกอไฟ และการปรุงอาหารไปปรับใชใน
                ชีวิตประจําวันได
            3. เขารวมในกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน

คําแนะนํา ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สดเพียง
                                                                           ุ
           คําตอบ เดียวแลวตอบลงในกระดาษคําตอบ ควรใชเวลาในการทํา
           ไมเกิน 8 นาที
1. การกอกองไฟควรกอบริเวณใด
      ก. ใตตนไม
                                               ข. ใกลพุมไม
      ค. ใกลกอหญา                             ง. ที่โลงหางจากตนไม
2. การกอกองไฟแบบใด ที่ใหความอบอุนและแสงสวางไดดี


       ก.                                         ข.


       ค.                                          ง.

3. ถาตองการเลนรอบกองไฟ ควรกอกองไฟแบบใด


       ก.                                          ข.


       ค.                                         ง.
4




4. หลังจากทําอาหารเสร็จ ควรทําอยางไร
         ก. ปลอยใหไฟดับไปเอง                       ข. ดับไฟใหมอดสนิท
         ค. นอนเฝากองไฟไว ปองกันไฟไหม            ง. ดับไฟโดยเหลือถานเล็กนอย
5. เครื่องดื่มรอนชนิดใด ที่ลูกเสือไมควรดื่ม
         ก. กาแฟรอน                                 ข. โกโกรอน
         ค. น้ําขิง                                  ง. น้ํามะตูม
6. ทําขาวใหสุกวิธีใดตองใชกระบอกไมไผบรรจุขาว
         ก. การตม                                   ข. การหุง
         ค. การหลาม                                  ง. การนึ่ง
7. การนึ่งขาวตองใชขาวกับน้ําในอัตราสวนเทาใด
         ก. ขาว 2 สวน ตอน้ํา 1 สวน               ข. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 2 สวน
         ค. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 1 สวน               ง. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 3 สวน
8. ขอใดเปนอาหารคาวทั้งหมด
     ก. ตมยําปลา ผัดผักบุง ทับทิมกรอบ              ข. ขาวผัด กลวยบวชชี แกงจืด
     ค. กลวยบวชชี ทับทิมกรอบ วุน                   ง. ยําไขเค็ม ผัดถั่วงอก ไขตุน
9. อาหารชนิดใดที่ตองใสกะทิดวย
         ก. กลวยบวชชี                               ข. เตาฮวย
         ค. วุนเมล็ดแมงลัก                          ง. มันเทศตมน้ําตาล
10. อาหารชนิดใดตองใสใบมะกรูด ตะไคร มะนาว
         ก. ตมยํา                                   ข. ผัดผัก
         ค. แกงจืด                                   ง. ไขเจียว
5




                ขอ 5. ก


ขอ 4. ข                            ขอ 6. ค




                                      ขอ 7. ข
  ขอ 3. ค

              เฉลยแบบประเมินตนเอง
                  กอนเรียน


   ขอ 2. ง                            ขอ 8. ง




 ขอ 1. ง
                                         ขอ 9. ก

               ขอ 10. ก
6




     พี่นองลูกเสือที่รกทุกคน
                       ั
         ในการอยูคายพักแรม มีสิ่งหนึ่งที่ลูกเสือ
                   
     จะตองทําไดคือ การกอกองไฟและการปรุง
     อาหารรับประทานในขณะอยูคายพักแรม



                           กอนอืนลูกเสือจะตองรูหลักในการ
                                 ่
                       กอกองไฟกอน เพื่อจะไดกอกองไฟได
                       เหมาะสมกับการใช


                                 หลักในการกอกองไฟ



    วิธีเลือกสถานที่                                          วิธีเตรียมเชื้อเพลิง

                                                        เลือกกิ่งไมเล็กๆ แหง ๆ
เปนบริเวณที่โลงแจงและแหง
                                                        เพราะจะติดไฟไดงาย

                                                      กิ่งไมขนาดใหญ ตองผาไม
หางจากตนไม และบานคน
                                                      ออกเปนซีก ๆ กอน
เก็บกวาดหญาแหงรอบ ๆ ออกเพื่อ
ปองกันการลุกลามของไฟ
                                                      กิ่งไมที่เปยกชื้นตองผึ่งแดดให
                                                      แหง แลวนํามาผาใหเปนซีก ๆ
 คําถามขอที่ 1. เราควรกอกองไฟบริเวณใด
7




                               คําตอบขอที่ 1. ทีโลงแจง หางจากตนไม
                                                 ่


                          การกอกองไฟที่ถูกตองกอใหเหมาะสมกับ
                          งานที่ใช ซึ่งแบงออกเปน 4 รูปแบบ ดังนี้




       1. กองไฟแบบอินเดียนแดง
                                                        3. กองไฟแบบผสม
   ใหความรอนมาก แสงสวางดี
                                                 เหมาะสําหรับการเลนรอบกองไฟ
   เหมาะสําหรับการประกอบอาหาร
           88



                                รูปแบบการกอกองไฟ




     2. กองไฟแบบเชิงตะกอน                                       4. กองไฟแบบดาว
        เชนเดียวกับแบบที่ 1                                ใหแสงสวางและความอบอุน
                                                                                  


คําถามขอที่ 2. หากตองการความสวางและความอบอุน เราควรกอกองไฟแบบใด
8




                                คําตอบขอที่ 2 กองไฟแบบไฟดาว


          ถาลูกเสือจะกอไฟเพื่อใชในกิจกรรมรอบ
      กองไฟ จะใชกองไฟแบบไฟดาวจะเหมาะสม
      หรือเปลาครับ




       ไมเหมาะสมหรอกครับ เพราะการเลนรอบกองไฟ
       ตองใชเวลานานพอสมควร ดังนั้นการเลนรอบ
       กองไฟตองใชกองไฟอีกอยางหนึ่ง ที่อยูไดนาน




คําถามขอที่ 3. ถาเราจะเลนรอบกองไฟ ควรกอกองไฟแบบใด
9




         คําตอบขอที่ 3. กอกองไฟแบบผสม



        เอาละ ทีนี้เรามาเรียนรูเกี่ยวกับการกอไฟ และเมื่อ
        ใชงานเสร็จแลวอยาลืมดับไฟใหสนิทดวยนะ




วิธีการกอไฟ
        1. นําเชื้อเพลิงมาสุมเปนรูปกระโจม
        2. จุดไฟแหยเขาไปตรงชองฐานกระโจม
        3. เมื่อไฟติดดีแลวจึงใสกิ่งไมที่ใหญขึ้น
วิธีดับไฟ
        1. เขี่ยกองไฟออก เก็บเศษเถาถานใสหลุมกลบใหเรียบรอย
        2. เททรายหรือดินลงบริเวณกองไฟใหทั่ว แลวปรับพื้นที่ใหเรียบ
        3. พรมน้ําบนดินหรือทรายใหทั่ว เพื่อใหไฟมอดสนิท
        4. ปรับพื้นดินใหเหมือนสภาพเดิม

                          เมื่อไฟติดจนถานแดงรอนจัด ไมมี
                          ควันแลว ก็ลงมือทําอาหารไดแลวคะ


  คําถามขอที่ 4 หลังจากทําอาหารเสร็จเราตองทําอยางไร
10




                 คําตอบขอที่ 4. ดับไฟใหมอดสนิท




                เรามาชวยกันทําเครื่องดื่มรอน ๆ
                กันดีกวาครับ


                                  ดีจังเลยคะ กอนอื่นเรามารูจัก
                                  กับเครื่องดื่มรอนกันกอนคะ




                         เครื่องดื่มรอน
                       มี 2 ประเภทคือ

ประเภทสําเร็จรูปชงพรอมดื่ม                 ประเภทที่ตองปรุงหรือตมกอนดื่ม




                    โกโกรอน                                             น้ํามะตูม


     นมรอน
                                                      น้ําขิง
11




                             เรามาดูวิธีปรุงเครื่องดื่มรอน
                             กันเถอะคะ




                การชงโกโกรอน
1. ใสน้ํารอนลงในแกว ประมาณ 3 ใน 4 สวน
2. ใสผงโกโก 1 ซอง แลวใชชอนคนใหผง
                             
   โกโกละลาย
3. ชิมรส ถายังไมหวานพอ สามารถเติมนม
   ขนหวาน หรือน้ําตาลไดตามชอบ



                                                           วิธีชงนมรอน
                                            1. ใสน้ํารอนลงไปในแกว ประมาณ 3
     เครื่องดื่มสําเร็จรูป                      ใน 4 สวน
                                            2. ใสนมผง 1 ซอง แลวใชชอนคนให
                                                นมผงละลาย แลวยกขึ้นดื่มได
                                            3. เครื่องดื่มนมรอน ควรจะดื่มใหหมด
                                               ในรวดเดียว และไมควรเติมน้ําตาล
                                               เพิ่ม
12




               การตมน้ํามะตูม
1. ลางแผนมะตูมตากแหงใหสะอาด 3 – 4
   แผน เตรียมไว
2. ตมน้ําใหเดือด แลวจึงใสแผนมะตูม
    ลงไปตม จนมีกลิ่นหอม
3. ใสน้ําตาลทรายใหมีรสหวานพอดี                   เครื่องดื่มที่ตองตมกอน
    แลวยกลง ตักดื่มได




                                               การตมน้ําขิง

                                1. ลางขิงใหสะอาด ฝานขิงเปนแผนใสจาน
                                   เตรียมไว
                                2. ตมน้ําใหสะอาด แลวใสขิงลงไปตมจนมี
                                    กลิ่นหอม
                                3. ใสน้ําตาลทรายใหมีรสหวานพอดีแลวยก
คําถามขอที่ 5. เครื่องดื่ม         ลง ตักดืมได
                                             ่
ชนิดใด ที่ลกเสือไมควรดื่ม
            ู
13




                  คําตอบขอที่ 5. ลูกเสือไมควรดื่มกาแฟ




                                 สิ่งที่ควรรู ลูกเสือไมควรดื่มน้ําชา และกาแฟ
                             เพราะมีสารเสพติด ที่เรียกวา คาเฟอีนเจือปนอยู
                             หากดื่มเขาไปอาจทําใหเกิดอันตรายตอรางกายได


       ลูกเสือทุกคนควรฝกปรุงอาหารใหเปนกอนจะไปอยูคายพัก
       แรม อยางนอยตองรูจักวิธีการทําใหขาวสุกและทํากับขาว
       อยางงาย ๆ ได


             การทําขาวใหสุกมีหลายวิธี ไดแก
             ไ


การหุงขาวแบบเช็ดน้ํา                                 การหลามขาว



     การหุงขาวแบบไมเช็ดน้ํา                      การนึ่งขาว
14




                                    เรามาหัดทําขาวใหสุกดวย
                                   วิธีตาง ๆ กันเถอะครับ


                                               วิธีที่ 1


                             การหุงขาวแบบเช็ดน้ํา

เปนวิธีที่ชาวบานนิยมใชกัน มีวิธีหุง ดังนี้
        1. ตวงขาวใสหมอ และซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง เพื่อลางสิ่งสกปรก
จากนั้นรินน้ําทิ้ง
        2. ใสน้ําใหทวมขาว ประมาณครึ่งตอครึ่ง
        3. ยกหมอขาวขึ้นตั้งบนเตาไฟ พอน้ําเดือดคอย ๆ เปดฝาหมอออก แลวใช
ทัพพีคน เพื่อไมให ขาวติดกนหมอ
        4. เมื่อขาวเริ่มสุกไดที่แลว ( สังเกตจากขาวมีไตสีขาวเล็กนอย ) ก็ยกลง
        5. ปดฝาหมอแลวใชไมขัดฝาใหแนน เอียงหมอรินน้ําขาวทิ้งจนแหง
        6. ยกหมอขาวขึ้นดง จนขาวสุก แลวจึงยกลง
* ดง หมายถึง เอาหมอขาวที่รินน้ําขาวออกแลว ขึ้นตั้งไฟออน ๆ เพื่อใหระอุ
15




                                 วิธีที่ 2




                            การหุงขาวแบบไมเช็ดน้ํา

         เปนการหุงขาวที่ไมรินน้ําทิ้ง ทําใหแรธาตุและวิตามินในขาวไมถูกทําลาย
มีวิธีหุงดังนี้
         1. ตวงขาวใสหมอ และซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง เพื่อลางสิ่งสกปรก
             จากนั้นรินน้ําทิ้ง
         2. ตวงน้ําสะอาดใสหมอ อัตราสวน ขาว 1 สวน ตอน้ํา 1 สวน
         3. ยกหมอขาวขึ้นตั้งบนเตาไฟ ปดฝาใหสนิท ตั้งทิ้งไวประมาณ 5 – 8
             นาที เปดฝาหมอออกแลวใชทัพพีคน เพื่อไมให ขาวไหม
         4. เมื่อขาวเริ่มเดือด เปดฝาหมอ แลวใชทัพพีคน พอน้ํางวดลงบางก็ตักไฟ
             ออกเล็กนอย รอขาวระอุประมาณ 15 – 20 นาที จึงคอยยกลง
16




                              วิธีที่ 3




                             การนึ่งขาว

        เปนการทําขาวใหสุกโดยใชไอน้ํา มีวธีนึ่ง ดังนี้
                                            ิ
        1. ซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง แลวเอาขาวใสลงในชาม
อะลูมิเนียม
        2. ใสน้ําใหทวมขาว อัตราสวน ขาว 1 สวน ตอน้ํา 2 สวน
        3. นําภาชนะที่ใสขาวไปตั้งในกระทะหรือหมอที่มีน้ําพอประมาณ
แลวใชฝาครอบไว
        4. ยกขึ้นตั้งบนเตาไฟ ทิ้งไวประมาณ 30 นาที ขาวก็จะสุก
17




                                    วิธีที่ 4




                                 การหลามขาว

เปนการทําขาวใหสุกโดยการแผรังสีความรอน มีวิธีทําดังนี้
       1. ตัดไมไผสดเปนปลอง ๆ ทะลุปลองดานหนึ่งเพื่อใชบรรจุขาว
       2. ซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง แลวแชน้ําทิ้งไวประมาณ 3 ชั่วโมง
       3. กรอกขาวสารลงในกระบอกไมไผ ( 2 ใน 3 ของกระบอกไมไผ ) เติมน้ํา
ใหทวม ขาวประมาณครึ่งนิ้ว แลวเอาใบตองแหงหอกาบมะพราวอุดปากกระบอกไว
    
และใหมีชองวางตรงปากกระบอกไวพอสมควร เพื่อใหน้ําเดือดได
       4. ทําเตาแนวขนานโดยใชทอนไม ตนกลวย เปนแนวขาหยั่งสําหรับพิง
กระบอกขาว
       5. กอไฟ หมั่นพลิกกระบอกขาวใหไดรบความรอนโดยทั่วถึงกันทุกกระบอก
                                             ั
ทุกดาน เมื่อขาวสุกแลวก็ปอกผิวกระบอกไมไผท่เี กรียมออก เพื่อสะดวกแกการ
รับประทาน



           คําถามขอที่ 6. การทําขาวใหสุกวิธีใดตองใชกระบอกไมไผบรรจุขาว


           คําถามขอที่ 7. การนึ่งขาวตองใสน้ําในอัตราสวนเทาใด
18




              คําตอบขอที่ 6. การหลามขาวตอง
              ใชกระบอกไมไผ


                  คําตอบขอที่ 7. การนึ่งขาวตองใสน้ําใน
                  อัตราสวน ขาว 1 สวน น้า 2 สวน
                                           ํ



                          หุงขาวเสร็จแลว เรามาหัด
                          ปรุงอาหารกันดีกวาคะ




        การปรุงอาหารหมายถึง การทําอาหารใหสุก มีหลายวิธี แลวแตชนิด
และลักษณะของอาหารอาหารพวกผัก นํามาประกอบอาหารไดหลายอยาง
เชน ผัด ยํา ตม ทําเปนแกงตาง ๆ
        อาหารพวกเนื้อ นํามาประกอบอาหารไดหลายอยาง เชน ตม แกง
ทอด ยาง ปง หรือนึ่ง เนื้อสัตวแหงทําใหสุกดวยการปงก็ได ( ใชไฟออน ๆ )
หรือใชตมแกงเมื่อตองการอาหารน้ํา
19




             เรามาปรุงอาหารแบบงาย ๆ กันดีกวาคะ




                       อาหารคาว




                              ตมยําปลากระปอง
เครื่องปรุง
1. ปลากระปอง             2. ตะไคร
3. มะกรูด                 4. พริกขี้หนู
5. มะนาว                  6. ใบกะเพรา
7. น้ําปลา                8. น้ําตาลทราย
9. เห็ดฟาง
วิธีทํา
1. ตมน้ําใหเดือด ฉีกใบมะกรูด และทุบตะไครใสลงไป
2. ใสปลากระปอง และเห็ดฟางลงไป รอใหเดือดสักครู
3. ปรุงรสตามชอบ โดยใสน้ําปลา มะนาว พริกขี้หนูที่ห่นหรือทุบพอแตก
                                                   ั
4. โรยใบกะเพราลงไป ปดฝาหมอใหสนิท แลวยกลง
20




                  ผัดผักบุงหมูกรอบ
เครื่องปรุง
1. ผักบุงจีน                 2. หมูกรอบ
3. กระเทียม                   4. น้ําปลา
5. น้ําตาลทราย                6. พริกขี้หนู
7. น้ํามันพืช
วิธีทํา
1. ลางผักบุงใหสะอาด แลวหั่นเปนทอน ๆ
2. ทุบกระเทียม และพริกขี้หนูใหพอแตก เตรียมไว
3. นํากระทะมาตั้งไฟ แลวใสน้ํามันลงไป รอใหน้ํามันรอน
4. ใสกระเทียมลงไปเจียวใหหอม แลวใสหมูกรอบลงไปผัด
5. ใสผักบุงลงไปผัดพอสุก ปรุงรสดวยน้ําปลา น้ําตาลทราย และพริกขี้หนู ผัดตอให
     สวนผสมเขากัน แลวยกลง
21




                                    ยําไขเค็ม
เครื่องปรุง
1. ไขเค็ม                   2. หอมแดง
3. มะนาว                     4. น้ําปลา
5. น้ําตาลทราย               6. พริกขี้หนู
7. ผักกาดหอม
วิธีทํา
1. ใชมีดผาไขเค็มออกเปน 2 สวน แลวใชชอนควานไขออกจากเปลือก ใสภาชนะ
2. ซอยหอมแดงและพริกขี้หนูใสลงไป
3. ปรุงรสตามชอบ โดยใสน้ําปลา น้ําตาลทราย มะนาว ใชทพพีคลุกใหเขากัน ระวังอยา
                                                         ั
คลุกใหแรงจนไขเละจะทําใหไมนากิน
22




                                   ขาวผัดกุนเชียง
เครื่องปรุง
1. ขาวสวย                   2. ไขไก
3. กุนเชียง                  4. หอมหัวใหญ
5. มะเขือเทศ                 6. น้ําตาลทราย
7. น้ําปลา                   8. พริกไทยปน
9. กระเทียม
วิธีทํา
1. หั่นกุนเชียงเปนแวนบาง ๆ แลวหั่นหอมหัวใหญและมะเขือเทศเปนลูกเตาเตรียมไว
2. นํากระทะมาตั้งไฟ รอใหน้ํามันรอน แลวใสกระเทียมลงไปเจียวใหหอม
3. ใสกุนเชียง หอมหัวใหญ และมะเขือเทศ ผัดพอสุก
4. ใสขาวลงไป ผัดคลุกเคลาใหสวนผสมเขากัน
5. ตอกไขใสลงไป ผัดตอใหไขสุก ปรุงรสดวยน้ําปลา น้ําตาลทราย คลุกเคลาใหไดรส
ตามที่ชอบแลวยกลง


                                  คําถามขอที่ 8. อาหารคาวชนิดใด
                                  ตองใสใบมะกรูด ตะไคร มะนาว
23




                          คําตอบขอที่ 8. ตมยํา


                                   การปรุงอาหารหวาน




                                  วุนเมล็ดแมงลัก
เครื่องปรุง
        1. เมล็ดแมงลัก
        2. น้ําหวานสีแดง
        3. ผงวุน
        4. น้ําตาลทราย
วิธีทํา
        1. ใสน้ําประมาณครึ่งหมอ ตั้งไฟตมใหเดือด
        2. ใสน้ําตาลทรายกะพอใหหวาน ใชทัพพีคนใหน้ําตาลทรายละลาย
        3. ผสมน้ําหวานสีแดงลงไปในหมอ แลวใสผงวุนลงไป จากนั้นคนใหผงวุนละลาย
            เขากันทั่วโดย ใชไฟปานกลาง
        4. ใสเมล็ดแมงลักลงไป คนใหเขากัน แลวยกลงจากเตา
        5. ตักใสแมพิมพ หรือถวยขนาดเล็กรูปรางตาง ๆ ทิ้งไวใหเย็น จัดใสจาน
24




                                    ถั่วเขียวตมน้ําตาล

เครื่องปรุง
        1. ถั่วเขียว
        2. น้ําตาลทราย
วิธีทํา
        1. นําถั่วเขียวมาลางใหสะอาด เก็บเอาสิ่งแปลกปลอมออกใหหมด แลวแชถั่วเขียว
           ในน้ําทิ้งไวประมาณ 2 – 3 ชั่วโมงกอนนํามาตม
        2. ตมน้ําใหเดือด โดยใชไฟปานกลาง เมื่อน้ําเดือด ใหใสถั่วเขียวลงไป ตมจนสุกดี
            สังเกตดูที่เมล็ดถั่วจะเริ่มแตกและนิ่ม
        3.ใสน้ําตาลทรายลงไปพอใหหวาน ตมตอสักครูใหน้ําตาลละลายหมด แลวยกลง
            ตักใสถวยรับประทานได




       คําถามขอที่ 9 อาหารคาวไดแกอะไรบาง



                             คําถามขอที่ 10. อาหารหวานชนิดใดตองใสกะทิดวย
25




คําตอบขอที่ 9. อาหารคาวไดแก ยําไขเค็ม ผัดถั่วงอก ไขตุน




 คําตอบขอที่ 10. อาหารหวานที่ตองใสกะทิดวยไดแก กลวยบวชชี




                              ลูกเสืออยากทําอาหารชนิดใดรับประทาน
                            บาง มีขั้นตอนการทําอยางไร ลองศึกษา
                            หาความรูนะครับ




                                  แบบประเมินตนเอง
                                     หลังเรียน
26




จุดประสงค    เพื่อประเมินผลความกาวหนาในการเรียนรูของลูกเสือ
              เรื่องการกอกองไฟและการปรุงอาหารอยางงาย
คําแนะนํา     ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง
               คําตอบเดียว ควรใชเวลาในการทําแบบประเมินนี้ไมเกิน 8 นาที

1. การกอกองไฟควรกอบริเวณใด
      ก. ที่โลงหางจากตนไม                     ข. ใกลพุมไม
      ค. ใกลกอหญา                               ง. ใตตนไม

2. การกอกองไฟแบบใด ที่ใหความอบอุนและแสงสวางไดดี


      ก.                                          ข.


      ค.                                           ง.




3. ถาตองการเลนรอบกองไฟ ควรกอกองไฟแบบใด
27




       ก.                                            ข.


         ค.                                           ง.
4. หลังจากทําอาหารเสร็จ ควรทําอยางไร
         ก. ปลอยใหไฟดับไปเอง                        ข. ดับไฟโดยเหลือถานเล็กนอย
         ค. นอนเฝากองไฟไว ปองกันไฟไหม             ง. ดับไฟใหมอดสนิท
5. เครื่องดื่มรอนชนิดใด ที่ลูกเสือไมควรดื่ม
         ก. น้ํามะตูม                                 ข. โกโกรอน
         ค. น้ําขิง                                   ง. กาแฟรอน
6. ทําขาวใหสุกวิธีใดตองใชกระบอกไมไผบรรจุขาว
         ก. การตม                                    ข. การหลาม
         ค. การหุง                                    ง. การนึ่ง
7. การนึ่งขาวตองใชขาวกับน้ําในอัตราสวนเทาใด
         ก. ขาว 2 สวน ตอน้ํา 1 สวน                ข. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 2 สวน
         ค. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 1 สวน                ง. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 3 สวน
8. ขอใดเปนอาหารคาวทั้งหมด
     ก. ตมยําปลา ผัดผักบุง ทับทิมกรอบ               ข. ขาวผัด กลวยบวชชี แกงจืด
     ค. กลวยบวชชี ทับทิมกรอบ วุน                    ง. ยําไขเค็ม ผัดถั่วงอก ไขตุน
9. อาหารชนิดใดที่ตองใสกะทิดวย
         ก. มันเทศตมน้ําตาล                          ข. เตาฮวย
         ค. วุนเมล็ดแมงลัก                           ง. กลวยบวชชี
10. อาหารชนิดใดตองใสใบมะกรูด ตะไคร มะนาว
         ก. ผัดผัก                                    ข. ตมยํา
         ค. แกงจืด                                    ง. ไขเจียว
28




                 ขอ 5. ง


ขอ 4. ง                            ขอ 6. ข




                                       ขอ 7. ข
  ขอ 3. ค
              เฉลยแบบประเมินตนเอง
                   หลังเรียน


   ขอ 2. ง
                                       ขอ 8. ง




 ขอ 1. ก
                                         ขอ 9. ง

               ขอ 10. ข
29




                แบบบันทึกคะแนนสอบกอนเรียน และหลังเรียน

                เรื่อง การกอกองไฟและการปรุงอาหารอยางงาย


  กอนเรียน             หลังเรียน                         ความตาง                หมายเหตุ

เต็ม 10 คะแนน       เต็ม 10 คะแนน




                  ลงชื่อ ...............................................ผูกากับ
                                                                          ํ
                               ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
30




                                     บรรณานุกรม

กรมพลศึกษา,กองการลูกเสือ.กระทรวงศึกษาธิการ.ความรูเกี่ยวกับการลูกเสือ.กรุงเทพฯ:โรง
        พิมพคุรุสภาลาดพราว,2542
เขมชาติ อมาตยกุล. กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี สามัญ ( ลูกเสือตรี - โท – เอก ) . กรุงเทพฯ :
        สํานักพิมพแอมพันธ ,2548
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ,สํานักงาน.กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษา
        ปที่5.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2540
____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ
        พ.ศ. 2509.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2530
____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ
        ลูกเสือสามัญ(ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภา,2529
คณะลูกเสือแหงชาติ, มูลนิธิ. กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 – 6.
        กรุงเทพฯ:สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน, มปป..
ดาลัต แกววิเชียร. หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชา ชาวคาย ตามหลักสูตร
        การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2546
เตชินี ชวลิต.กฎลูกเสือ - เนตรนารี และ กฎจราจร.รานสุริยา,มปป..
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ,สํานักงาน.การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรลูกเสือ ยุว
        กาชาดและกิจการนักเรียน. กรุงเทพฯ:มปท.,2547
พลศึกษา, กรม, กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6.
        กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2536
___________. คูมือผูบังคับบัญชาลูกเสือ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภา
        ลาดพราว,2537
วิชาการ, กรม,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ
        องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545
___________. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6 (ลูกเสือ
        สามัญ).กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรสภาลาดพราว,2533
                                      ุ
31




___________. แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพครสภาลาดพราว,2546
                                                  ุุ
___________. เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:
        โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545
อภัย จันทวิมล.การลูกเสือสําหรับเด็กชาย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2545
อํานาจ ชางเรียน.ลูกเสือ - เนตรนารี ชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สมบูรณแบบ.
        กรุงเทพฯ:สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด,2544

More Related Content

What's hot

ข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียร
ข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียรข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียร
ข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียรkrupeak
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
somchai2505
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายคุณานนต์ ทองกรด
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดbawtho
 
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครbambookruble
 
แบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลางแบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลางbawtho
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓jpamok
 

What's hot (19)

ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
ข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียร
ข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียรข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียร
ข้อสอบรายวิชาช่างหินขัด กลางปี (ครั้งที่ 2)ครูวิเชียร
 
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์วรรณศิลป์
วรรณศิลป์
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ข้อสอบ.
ข้อสอบ.ข้อสอบ.
ข้อสอบ.
 
ก.พ.57
ก.พ.57ก.พ.57
ก.พ.57
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวด
 
32 33bullbuster
32 33bullbuster32 33bullbuster
32 33bullbuster
 
รายวิชา 000 150 พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
รายวิชา  000 150  พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบรายวิชา  000 150  พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
รายวิชา 000 150 พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
 
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
แบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลางแบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลาง
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร

บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่นบทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่นwatdang
 
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจบทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจพนัชกร ลี้เจริญ
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
ใบความรู้ปิโตรเคมี
ใบความรู้ปิโตรเคมีใบความรู้ปิโตรเคมี
ใบความรู้ปิโตรเคมี
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพยkaisuy2496
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
Kay Pakham
 
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้rdschool
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentKo Kung
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
Kasem Boonlaor
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
ajpeerawich
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
Pakornkrits
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร (20)

บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่นบทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
 
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจบทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
ใบความรู้ปิโตรเคมี
ใบความรู้ปิโตรเคมีใบความรู้ปิโตรเคมี
ใบความรู้ปิโตรเคมี
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
At9
At9At9
At9
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
วิทย์1
วิทย์1วิทย์1
วิทย์1
 
การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
การเลี้ยงไก่พื้นเมืองการเลี้ยงไก่พื้นเมือง
การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
 
C:\fakepath\การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
C:\fakepath\การเลี้ยงไก่พื้นเมืองC:\fakepath\การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
C:\fakepath\การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
 

More from watdang

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติwatdang
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1watdang
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2watdang
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญwatdang
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]watdang
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญwatdang
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองwatdang
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494watdang
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัยwatdang
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาwatdang
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือwatdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยwatdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9watdang
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 

More from watdang (20)

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญ
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัย
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร

  • 1. 1 สวัสดีคะ ลูกเสือ – เนตรนารี บทเรียนที่ถออยูนี้ ื เปนบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง การกอกองไฟและการ ปรุงอาหารอยางงาย ของลูกเสือสามัญ ชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 นะครับ ลูกเสือสามารถใชเรียนไดดวยความสามารถของ ตนเอง ขอใหลูกเสืออานคําแนะนําและปฏิบัติตามคํา ชี้แจงแตละขั้นตอน ตั้งแตตนจนจบ ลูกเสือจะมีความ เขาใจเรื่องราวของการ กอกองไฟและการปรุงอาหาร อยางงายไดอยางถูกตอง โดยปฏิบติตามขั้นตอนดังนี้ ั
  • 2. 2 ขอ 1. กอนที่ลูกเสือจะศึกษาบทเรียน ลูกเสือ ควรทราบวาตนเองมีความรูในเรื่องนี้มากนอยเพียงใด โดยทําแบบประเมินผลตนเองกอนเรียน ที่เตรียมไว ตอนตน และตรวจคําตอบจากเฉลยที่ใหไว ขอ 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาในแตละตอน อยางละเอียด อยาขามตอน พรอมทั้งฝกทํา กิจกรรมที่กําหนดใหในแตละตอน ขอ 3. ถาลูกเสือสามารถตอบคําถามได ถูกตอง แสดงวาลูกเสือเขาใจดีแลว ใหอาน และตอบคําถามตอไปเรื่อย ๆ จนจบ ขอ 4. ทําแบบประเมินตนเองหลังเรียน ถา ไดคะแนนประเมินต่ํากวารอยละ 80 ให กลับมาทบทวนแลวทําแบบทดสอบใหม ขอ 5. ลูกเสือตองมีความซื่อสัตยตอ ตนเองไมดูเฉลยคําถามกอน
  • 3. 3 แบบประเมินตนเองกอนเรียน จุดประสงค 1. บอกรูปแบบ ขั้นตอน และแสดงวิธีการกอไฟ การปรุงเครื่องดื่มรอน และปรุงอาหารงาย ๆ นอกสถานที่ได 2. นําความรูเกี่ยวกับการกอไฟ และการปรุงอาหารไปปรับใชใน ชีวิตประจําวันได 3. เขารวมในกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน คําแนะนํา ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สดเพียง ุ คําตอบ เดียวแลวตอบลงในกระดาษคําตอบ ควรใชเวลาในการทํา ไมเกิน 8 นาที 1. การกอกองไฟควรกอบริเวณใด ก. ใตตนไม  ข. ใกลพุมไม ค. ใกลกอหญา ง. ที่โลงหางจากตนไม 2. การกอกองไฟแบบใด ที่ใหความอบอุนและแสงสวางไดดี ก. ข. ค. ง. 3. ถาตองการเลนรอบกองไฟ ควรกอกองไฟแบบใด ก. ข. ค. ง.
  • 4. 4 4. หลังจากทําอาหารเสร็จ ควรทําอยางไร ก. ปลอยใหไฟดับไปเอง ข. ดับไฟใหมอดสนิท ค. นอนเฝากองไฟไว ปองกันไฟไหม ง. ดับไฟโดยเหลือถานเล็กนอย 5. เครื่องดื่มรอนชนิดใด ที่ลูกเสือไมควรดื่ม ก. กาแฟรอน ข. โกโกรอน ค. น้ําขิง ง. น้ํามะตูม 6. ทําขาวใหสุกวิธีใดตองใชกระบอกไมไผบรรจุขาว ก. การตม ข. การหุง ค. การหลาม ง. การนึ่ง 7. การนึ่งขาวตองใชขาวกับน้ําในอัตราสวนเทาใด ก. ขาว 2 สวน ตอน้ํา 1 สวน ข. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 2 สวน ค. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 1 สวน ง. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 3 สวน 8. ขอใดเปนอาหารคาวทั้งหมด ก. ตมยําปลา ผัดผักบุง ทับทิมกรอบ ข. ขาวผัด กลวยบวชชี แกงจืด ค. กลวยบวชชี ทับทิมกรอบ วุน ง. ยําไขเค็ม ผัดถั่วงอก ไขตุน 9. อาหารชนิดใดที่ตองใสกะทิดวย ก. กลวยบวชชี ข. เตาฮวย ค. วุนเมล็ดแมงลัก ง. มันเทศตมน้ําตาล 10. อาหารชนิดใดตองใสใบมะกรูด ตะไคร มะนาว ก. ตมยํา ข. ผัดผัก ค. แกงจืด ง. ไขเจียว
  • 5. 5 ขอ 5. ก ขอ 4. ข ขอ 6. ค ขอ 7. ข ขอ 3. ค เฉลยแบบประเมินตนเอง กอนเรียน ขอ 2. ง ขอ 8. ง ขอ 1. ง ขอ 9. ก ขอ 10. ก
  • 6. 6 พี่นองลูกเสือที่รกทุกคน ั ในการอยูคายพักแรม มีสิ่งหนึ่งที่ลูกเสือ  จะตองทําไดคือ การกอกองไฟและการปรุง อาหารรับประทานในขณะอยูคายพักแรม กอนอืนลูกเสือจะตองรูหลักในการ ่ กอกองไฟกอน เพื่อจะไดกอกองไฟได เหมาะสมกับการใช หลักในการกอกองไฟ วิธีเลือกสถานที่ วิธีเตรียมเชื้อเพลิง เลือกกิ่งไมเล็กๆ แหง ๆ เปนบริเวณที่โลงแจงและแหง เพราะจะติดไฟไดงาย กิ่งไมขนาดใหญ ตองผาไม หางจากตนไม และบานคน ออกเปนซีก ๆ กอน เก็บกวาดหญาแหงรอบ ๆ ออกเพื่อ ปองกันการลุกลามของไฟ กิ่งไมที่เปยกชื้นตองผึ่งแดดให แหง แลวนํามาผาใหเปนซีก ๆ คําถามขอที่ 1. เราควรกอกองไฟบริเวณใด
  • 7. 7 คําตอบขอที่ 1. ทีโลงแจง หางจากตนไม ่ การกอกองไฟที่ถูกตองกอใหเหมาะสมกับ งานที่ใช ซึ่งแบงออกเปน 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. กองไฟแบบอินเดียนแดง 3. กองไฟแบบผสม ใหความรอนมาก แสงสวางดี เหมาะสําหรับการเลนรอบกองไฟ เหมาะสําหรับการประกอบอาหาร 88 รูปแบบการกอกองไฟ 2. กองไฟแบบเชิงตะกอน 4. กองไฟแบบดาว เชนเดียวกับแบบที่ 1 ใหแสงสวางและความอบอุน  คําถามขอที่ 2. หากตองการความสวางและความอบอุน เราควรกอกองไฟแบบใด
  • 8. 8 คําตอบขอที่ 2 กองไฟแบบไฟดาว ถาลูกเสือจะกอไฟเพื่อใชในกิจกรรมรอบ กองไฟ จะใชกองไฟแบบไฟดาวจะเหมาะสม หรือเปลาครับ ไมเหมาะสมหรอกครับ เพราะการเลนรอบกองไฟ ตองใชเวลานานพอสมควร ดังนั้นการเลนรอบ กองไฟตองใชกองไฟอีกอยางหนึ่ง ที่อยูไดนาน คําถามขอที่ 3. ถาเราจะเลนรอบกองไฟ ควรกอกองไฟแบบใด
  • 9. 9 คําตอบขอที่ 3. กอกองไฟแบบผสม เอาละ ทีนี้เรามาเรียนรูเกี่ยวกับการกอไฟ และเมื่อ ใชงานเสร็จแลวอยาลืมดับไฟใหสนิทดวยนะ วิธีการกอไฟ 1. นําเชื้อเพลิงมาสุมเปนรูปกระโจม 2. จุดไฟแหยเขาไปตรงชองฐานกระโจม 3. เมื่อไฟติดดีแลวจึงใสกิ่งไมที่ใหญขึ้น วิธีดับไฟ 1. เขี่ยกองไฟออก เก็บเศษเถาถานใสหลุมกลบใหเรียบรอย 2. เททรายหรือดินลงบริเวณกองไฟใหทั่ว แลวปรับพื้นที่ใหเรียบ 3. พรมน้ําบนดินหรือทรายใหทั่ว เพื่อใหไฟมอดสนิท 4. ปรับพื้นดินใหเหมือนสภาพเดิม เมื่อไฟติดจนถานแดงรอนจัด ไมมี ควันแลว ก็ลงมือทําอาหารไดแลวคะ คําถามขอที่ 4 หลังจากทําอาหารเสร็จเราตองทําอยางไร
  • 10. 10 คําตอบขอที่ 4. ดับไฟใหมอดสนิท เรามาชวยกันทําเครื่องดื่มรอน ๆ กันดีกวาครับ ดีจังเลยคะ กอนอื่นเรามารูจัก กับเครื่องดื่มรอนกันกอนคะ เครื่องดื่มรอน มี 2 ประเภทคือ ประเภทสําเร็จรูปชงพรอมดื่ม ประเภทที่ตองปรุงหรือตมกอนดื่ม โกโกรอน น้ํามะตูม นมรอน น้ําขิง
  • 11. 11 เรามาดูวิธีปรุงเครื่องดื่มรอน กันเถอะคะ การชงโกโกรอน 1. ใสน้ํารอนลงในแกว ประมาณ 3 ใน 4 สวน 2. ใสผงโกโก 1 ซอง แลวใชชอนคนใหผง  โกโกละลาย 3. ชิมรส ถายังไมหวานพอ สามารถเติมนม ขนหวาน หรือน้ําตาลไดตามชอบ วิธีชงนมรอน 1. ใสน้ํารอนลงไปในแกว ประมาณ 3 เครื่องดื่มสําเร็จรูป ใน 4 สวน 2. ใสนมผง 1 ซอง แลวใชชอนคนให นมผงละลาย แลวยกขึ้นดื่มได 3. เครื่องดื่มนมรอน ควรจะดื่มใหหมด ในรวดเดียว และไมควรเติมน้ําตาล เพิ่ม
  • 12. 12 การตมน้ํามะตูม 1. ลางแผนมะตูมตากแหงใหสะอาด 3 – 4 แผน เตรียมไว 2. ตมน้ําใหเดือด แลวจึงใสแผนมะตูม ลงไปตม จนมีกลิ่นหอม 3. ใสน้ําตาลทรายใหมีรสหวานพอดี เครื่องดื่มที่ตองตมกอน แลวยกลง ตักดื่มได การตมน้ําขิง 1. ลางขิงใหสะอาด ฝานขิงเปนแผนใสจาน เตรียมไว 2. ตมน้ําใหสะอาด แลวใสขิงลงไปตมจนมี กลิ่นหอม 3. ใสน้ําตาลทรายใหมีรสหวานพอดีแลวยก คําถามขอที่ 5. เครื่องดื่ม ลง ตักดืมได ่ ชนิดใด ที่ลกเสือไมควรดื่ม ู
  • 13. 13 คําตอบขอที่ 5. ลูกเสือไมควรดื่มกาแฟ สิ่งที่ควรรู ลูกเสือไมควรดื่มน้ําชา และกาแฟ เพราะมีสารเสพติด ที่เรียกวา คาเฟอีนเจือปนอยู หากดื่มเขาไปอาจทําใหเกิดอันตรายตอรางกายได ลูกเสือทุกคนควรฝกปรุงอาหารใหเปนกอนจะไปอยูคายพัก แรม อยางนอยตองรูจักวิธีการทําใหขาวสุกและทํากับขาว อยางงาย ๆ ได การทําขาวใหสุกมีหลายวิธี ไดแก ไ การหุงขาวแบบเช็ดน้ํา การหลามขาว การหุงขาวแบบไมเช็ดน้ํา การนึ่งขาว
  • 14. 14 เรามาหัดทําขาวใหสุกดวย วิธีตาง ๆ กันเถอะครับ วิธีที่ 1 การหุงขาวแบบเช็ดน้ํา เปนวิธีที่ชาวบานนิยมใชกัน มีวิธีหุง ดังนี้ 1. ตวงขาวใสหมอ และซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง เพื่อลางสิ่งสกปรก จากนั้นรินน้ําทิ้ง 2. ใสน้ําใหทวมขาว ประมาณครึ่งตอครึ่ง 3. ยกหมอขาวขึ้นตั้งบนเตาไฟ พอน้ําเดือดคอย ๆ เปดฝาหมอออก แลวใช ทัพพีคน เพื่อไมให ขาวติดกนหมอ 4. เมื่อขาวเริ่มสุกไดที่แลว ( สังเกตจากขาวมีไตสีขาวเล็กนอย ) ก็ยกลง 5. ปดฝาหมอแลวใชไมขัดฝาใหแนน เอียงหมอรินน้ําขาวทิ้งจนแหง 6. ยกหมอขาวขึ้นดง จนขาวสุก แลวจึงยกลง * ดง หมายถึง เอาหมอขาวที่รินน้ําขาวออกแลว ขึ้นตั้งไฟออน ๆ เพื่อใหระอุ
  • 15. 15 วิธีที่ 2 การหุงขาวแบบไมเช็ดน้ํา เปนการหุงขาวที่ไมรินน้ําทิ้ง ทําใหแรธาตุและวิตามินในขาวไมถูกทําลาย มีวิธีหุงดังนี้ 1. ตวงขาวใสหมอ และซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง เพื่อลางสิ่งสกปรก จากนั้นรินน้ําทิ้ง 2. ตวงน้ําสะอาดใสหมอ อัตราสวน ขาว 1 สวน ตอน้ํา 1 สวน 3. ยกหมอขาวขึ้นตั้งบนเตาไฟ ปดฝาใหสนิท ตั้งทิ้งไวประมาณ 5 – 8 นาที เปดฝาหมอออกแลวใชทัพพีคน เพื่อไมให ขาวไหม 4. เมื่อขาวเริ่มเดือด เปดฝาหมอ แลวใชทัพพีคน พอน้ํางวดลงบางก็ตักไฟ ออกเล็กนอย รอขาวระอุประมาณ 15 – 20 นาที จึงคอยยกลง
  • 16. 16 วิธีที่ 3 การนึ่งขาว เปนการทําขาวใหสุกโดยใชไอน้ํา มีวธีนึ่ง ดังนี้ ิ 1. ซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง แลวเอาขาวใสลงในชาม อะลูมิเนียม 2. ใสน้ําใหทวมขาว อัตราสวน ขาว 1 สวน ตอน้ํา 2 สวน 3. นําภาชนะที่ใสขาวไปตั้งในกระทะหรือหมอที่มีน้ําพอประมาณ แลวใชฝาครอบไว 4. ยกขึ้นตั้งบนเตาไฟ ทิ้งไวประมาณ 30 นาที ขาวก็จะสุก
  • 17. 17 วิธีที่ 4 การหลามขาว เปนการทําขาวใหสุกโดยการแผรังสีความรอน มีวิธีทําดังนี้ 1. ตัดไมไผสดเปนปลอง ๆ ทะลุปลองดานหนึ่งเพื่อใชบรรจุขาว 2. ซาวขาวดวยน้ําสะอาด 1 ครั้ง แลวแชน้ําทิ้งไวประมาณ 3 ชั่วโมง 3. กรอกขาวสารลงในกระบอกไมไผ ( 2 ใน 3 ของกระบอกไมไผ ) เติมน้ํา ใหทวม ขาวประมาณครึ่งนิ้ว แลวเอาใบตองแหงหอกาบมะพราวอุดปากกระบอกไว  และใหมีชองวางตรงปากกระบอกไวพอสมควร เพื่อใหน้ําเดือดได 4. ทําเตาแนวขนานโดยใชทอนไม ตนกลวย เปนแนวขาหยั่งสําหรับพิง กระบอกขาว 5. กอไฟ หมั่นพลิกกระบอกขาวใหไดรบความรอนโดยทั่วถึงกันทุกกระบอก ั ทุกดาน เมื่อขาวสุกแลวก็ปอกผิวกระบอกไมไผท่เี กรียมออก เพื่อสะดวกแกการ รับประทาน คําถามขอที่ 6. การทําขาวใหสุกวิธีใดตองใชกระบอกไมไผบรรจุขาว คําถามขอที่ 7. การนึ่งขาวตองใสน้ําในอัตราสวนเทาใด
  • 18. 18 คําตอบขอที่ 6. การหลามขาวตอง ใชกระบอกไมไผ คําตอบขอที่ 7. การนึ่งขาวตองใสน้ําใน อัตราสวน ขาว 1 สวน น้า 2 สวน ํ หุงขาวเสร็จแลว เรามาหัด ปรุงอาหารกันดีกวาคะ การปรุงอาหารหมายถึง การทําอาหารใหสุก มีหลายวิธี แลวแตชนิด และลักษณะของอาหารอาหารพวกผัก นํามาประกอบอาหารไดหลายอยาง เชน ผัด ยํา ตม ทําเปนแกงตาง ๆ อาหารพวกเนื้อ นํามาประกอบอาหารไดหลายอยาง เชน ตม แกง ทอด ยาง ปง หรือนึ่ง เนื้อสัตวแหงทําใหสุกดวยการปงก็ได ( ใชไฟออน ๆ ) หรือใชตมแกงเมื่อตองการอาหารน้ํา
  • 19. 19 เรามาปรุงอาหารแบบงาย ๆ กันดีกวาคะ อาหารคาว ตมยําปลากระปอง เครื่องปรุง 1. ปลากระปอง 2. ตะไคร 3. มะกรูด 4. พริกขี้หนู 5. มะนาว 6. ใบกะเพรา 7. น้ําปลา 8. น้ําตาลทราย 9. เห็ดฟาง วิธีทํา 1. ตมน้ําใหเดือด ฉีกใบมะกรูด และทุบตะไครใสลงไป 2. ใสปลากระปอง และเห็ดฟางลงไป รอใหเดือดสักครู 3. ปรุงรสตามชอบ โดยใสน้ําปลา มะนาว พริกขี้หนูที่ห่นหรือทุบพอแตก ั 4. โรยใบกะเพราลงไป ปดฝาหมอใหสนิท แลวยกลง
  • 20. 20 ผัดผักบุงหมูกรอบ เครื่องปรุง 1. ผักบุงจีน 2. หมูกรอบ 3. กระเทียม 4. น้ําปลา 5. น้ําตาลทราย 6. พริกขี้หนู 7. น้ํามันพืช วิธีทํา 1. ลางผักบุงใหสะอาด แลวหั่นเปนทอน ๆ 2. ทุบกระเทียม และพริกขี้หนูใหพอแตก เตรียมไว 3. นํากระทะมาตั้งไฟ แลวใสน้ํามันลงไป รอใหน้ํามันรอน 4. ใสกระเทียมลงไปเจียวใหหอม แลวใสหมูกรอบลงไปผัด 5. ใสผักบุงลงไปผัดพอสุก ปรุงรสดวยน้ําปลา น้ําตาลทราย และพริกขี้หนู ผัดตอให สวนผสมเขากัน แลวยกลง
  • 21. 21 ยําไขเค็ม เครื่องปรุง 1. ไขเค็ม 2. หอมแดง 3. มะนาว 4. น้ําปลา 5. น้ําตาลทราย 6. พริกขี้หนู 7. ผักกาดหอม วิธีทํา 1. ใชมีดผาไขเค็มออกเปน 2 สวน แลวใชชอนควานไขออกจากเปลือก ใสภาชนะ 2. ซอยหอมแดงและพริกขี้หนูใสลงไป 3. ปรุงรสตามชอบ โดยใสน้ําปลา น้ําตาลทราย มะนาว ใชทพพีคลุกใหเขากัน ระวังอยา ั คลุกใหแรงจนไขเละจะทําใหไมนากิน
  • 22. 22 ขาวผัดกุนเชียง เครื่องปรุง 1. ขาวสวย 2. ไขไก 3. กุนเชียง 4. หอมหัวใหญ 5. มะเขือเทศ 6. น้ําตาลทราย 7. น้ําปลา 8. พริกไทยปน 9. กระเทียม วิธีทํา 1. หั่นกุนเชียงเปนแวนบาง ๆ แลวหั่นหอมหัวใหญและมะเขือเทศเปนลูกเตาเตรียมไว 2. นํากระทะมาตั้งไฟ รอใหน้ํามันรอน แลวใสกระเทียมลงไปเจียวใหหอม 3. ใสกุนเชียง หอมหัวใหญ และมะเขือเทศ ผัดพอสุก 4. ใสขาวลงไป ผัดคลุกเคลาใหสวนผสมเขากัน 5. ตอกไขใสลงไป ผัดตอใหไขสุก ปรุงรสดวยน้ําปลา น้ําตาลทราย คลุกเคลาใหไดรส ตามที่ชอบแลวยกลง คําถามขอที่ 8. อาหารคาวชนิดใด ตองใสใบมะกรูด ตะไคร มะนาว
  • 23. 23 คําตอบขอที่ 8. ตมยํา การปรุงอาหารหวาน วุนเมล็ดแมงลัก เครื่องปรุง 1. เมล็ดแมงลัก 2. น้ําหวานสีแดง 3. ผงวุน 4. น้ําตาลทราย วิธีทํา 1. ใสน้ําประมาณครึ่งหมอ ตั้งไฟตมใหเดือด 2. ใสน้ําตาลทรายกะพอใหหวาน ใชทัพพีคนใหน้ําตาลทรายละลาย 3. ผสมน้ําหวานสีแดงลงไปในหมอ แลวใสผงวุนลงไป จากนั้นคนใหผงวุนละลาย เขากันทั่วโดย ใชไฟปานกลาง 4. ใสเมล็ดแมงลักลงไป คนใหเขากัน แลวยกลงจากเตา 5. ตักใสแมพิมพ หรือถวยขนาดเล็กรูปรางตาง ๆ ทิ้งไวใหเย็น จัดใสจาน
  • 24. 24 ถั่วเขียวตมน้ําตาล เครื่องปรุง 1. ถั่วเขียว 2. น้ําตาลทราย วิธีทํา 1. นําถั่วเขียวมาลางใหสะอาด เก็บเอาสิ่งแปลกปลอมออกใหหมด แลวแชถั่วเขียว ในน้ําทิ้งไวประมาณ 2 – 3 ชั่วโมงกอนนํามาตม 2. ตมน้ําใหเดือด โดยใชไฟปานกลาง เมื่อน้ําเดือด ใหใสถั่วเขียวลงไป ตมจนสุกดี สังเกตดูที่เมล็ดถั่วจะเริ่มแตกและนิ่ม 3.ใสน้ําตาลทรายลงไปพอใหหวาน ตมตอสักครูใหน้ําตาลละลายหมด แลวยกลง ตักใสถวยรับประทานได คําถามขอที่ 9 อาหารคาวไดแกอะไรบาง คําถามขอที่ 10. อาหารหวานชนิดใดตองใสกะทิดวย
  • 25. 25 คําตอบขอที่ 9. อาหารคาวไดแก ยําไขเค็ม ผัดถั่วงอก ไขตุน คําตอบขอที่ 10. อาหารหวานที่ตองใสกะทิดวยไดแก กลวยบวชชี ลูกเสืออยากทําอาหารชนิดใดรับประทาน บาง มีขั้นตอนการทําอยางไร ลองศึกษา หาความรูนะครับ แบบประเมินตนเอง หลังเรียน
  • 26. 26 จุดประสงค เพื่อประเมินผลความกาวหนาในการเรียนรูของลูกเสือ เรื่องการกอกองไฟและการปรุงอาหารอยางงาย คําแนะนํา ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง คําตอบเดียว ควรใชเวลาในการทําแบบประเมินนี้ไมเกิน 8 นาที 1. การกอกองไฟควรกอบริเวณใด ก. ที่โลงหางจากตนไม ข. ใกลพุมไม ค. ใกลกอหญา ง. ใตตนไม 2. การกอกองไฟแบบใด ที่ใหความอบอุนและแสงสวางไดดี ก. ข. ค. ง. 3. ถาตองการเลนรอบกองไฟ ควรกอกองไฟแบบใด
  • 27. 27 ก. ข. ค. ง. 4. หลังจากทําอาหารเสร็จ ควรทําอยางไร ก. ปลอยใหไฟดับไปเอง ข. ดับไฟโดยเหลือถานเล็กนอย ค. นอนเฝากองไฟไว ปองกันไฟไหม ง. ดับไฟใหมอดสนิท 5. เครื่องดื่มรอนชนิดใด ที่ลูกเสือไมควรดื่ม ก. น้ํามะตูม ข. โกโกรอน ค. น้ําขิง ง. กาแฟรอน 6. ทําขาวใหสุกวิธีใดตองใชกระบอกไมไผบรรจุขาว ก. การตม ข. การหลาม ค. การหุง ง. การนึ่ง 7. การนึ่งขาวตองใชขาวกับน้ําในอัตราสวนเทาใด ก. ขาว 2 สวน ตอน้ํา 1 สวน ข. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 2 สวน ค. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 1 สวน ง. ขาว 1 สวน ตอน้ํา 3 สวน 8. ขอใดเปนอาหารคาวทั้งหมด ก. ตมยําปลา ผัดผักบุง ทับทิมกรอบ ข. ขาวผัด กลวยบวชชี แกงจืด ค. กลวยบวชชี ทับทิมกรอบ วุน ง. ยําไขเค็ม ผัดถั่วงอก ไขตุน 9. อาหารชนิดใดที่ตองใสกะทิดวย ก. มันเทศตมน้ําตาล ข. เตาฮวย ค. วุนเมล็ดแมงลัก ง. กลวยบวชชี 10. อาหารชนิดใดตองใสใบมะกรูด ตะไคร มะนาว ก. ผัดผัก ข. ตมยํา ค. แกงจืด ง. ไขเจียว
  • 28. 28 ขอ 5. ง ขอ 4. ง ขอ 6. ข ขอ 7. ข ขอ 3. ค เฉลยแบบประเมินตนเอง หลังเรียน ขอ 2. ง ขอ 8. ง ขอ 1. ก ขอ 9. ง ขอ 10. ข
  • 29. 29 แบบบันทึกคะแนนสอบกอนเรียน และหลังเรียน เรื่อง การกอกองไฟและการปรุงอาหารอยางงาย กอนเรียน หลังเรียน ความตาง หมายเหตุ เต็ม 10 คะแนน เต็ม 10 คะแนน ลงชื่อ ...............................................ผูกากับ ํ ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
  • 30. 30 บรรณานุกรม กรมพลศึกษา,กองการลูกเสือ.กระทรวงศึกษาธิการ.ความรูเกี่ยวกับการลูกเสือ.กรุงเทพฯ:โรง พิมพคุรุสภาลาดพราว,2542 เขมชาติ อมาตยกุล. กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี สามัญ ( ลูกเสือตรี - โท – เอก ) . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแอมพันธ ,2548 คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ,สํานักงาน.กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษา ปที่5.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2540 ____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ พ.ศ. 2509.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2530 ____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ ลูกเสือสามัญ(ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภา,2529 คณะลูกเสือแหงชาติ, มูลนิธิ. กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 – 6. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน, มปป.. ดาลัต แกววิเชียร. หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชา ชาวคาย ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2546 เตชินี ชวลิต.กฎลูกเสือ - เนตรนารี และ กฎจราจร.รานสุริยา,มปป.. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ,สํานักงาน.การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรลูกเสือ ยุว กาชาดและกิจการนักเรียน. กรุงเทพฯ:มปท.,2547 พลศึกษา, กรม, กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2536 ___________. คูมือผูบังคับบัญชาลูกเสือ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว,2537 วิชาการ, กรม,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545 ___________. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6 (ลูกเสือ สามัญ).กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรสภาลาดพราว,2533 ุ
  • 31. 31 ___________. แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพครสภาลาดพราว,2546 ุุ ___________. เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545 อภัย จันทวิมล.การลูกเสือสําหรับเด็กชาย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2545 อํานาจ ชางเรียน.ลูกเสือ - เนตรนารี ชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สมบูรณแบบ. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด,2544