SlideShare a Scribd company logo
โรงเรียนแม่ ริมวิทยาคม




อาเภอแม่ ริม จังหวัดเชียงใหม่
โครงงานอาชีพ (เกษตร)
การปลูกผักบุ้งแซมข้ าวโพดหวาน
   ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้ น
ผู้รับผิดชอบโครงงาน



นิลุบล ไชยสมปาน ปานจันทร์ วัชรี เสวิน     รัตนาภรณ์ วงศ์เสื อ




                 ครู วรรณพงษ์ เมืองเล็น
                       ครู ทปรึกษา
                            ี่
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน
  ่
           จากสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิ จไทยในปั จจุ บน ที่ มีสภาพการ
                                                                 ั
ดารงชีวตอยูท่ามกลางการแข่งขันกันทุกด้านเพื่อสรรหาทรัพยากร และปั จจัย
          ิ ่
ที่เอื้ออานวยความสะดวก สาหรับตนเองและครอบครัว ประกอบกับกระแส
ความเจริ ญก้า วหน้ า ทางด้า นเทคโนโลยี ที่ ทัน สมัย ท าให้ ก ารด ารงชี วิ ต
ประจ าวัน ของคนไทยต้อ งต่ อ สู ้ แ ข่ ง ขัน กัน ทุ ก ด้า น ส่ ง ผลกระทบท าให้
เศรษฐกิ จในครอบครั วไม่สมดุ ล มี รายจ่ า ยมากกว่า รายรั บ หนี้ สิน เพิ่ มขึ้ น
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หั ว ทรงมี พ ระราชด ารั ส เกี่ ย วกับ “เศรษฐกิ จ
พอเพียง” ซึ่งเป็ นปรัชญาที่ ชี้แนะแนวทางการดาเนิ นชีวตชาวไทยมานานกว่า
                                                           ิ
25 ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ได้ทรงเน้นย้ าแนวทางการแก้ไข
เพื่อให้รอดพ้น และดารงอยู่ได้อย่างมันคงและยังยืนภายใต้กระแสโลกาภิ
                                        ่            ่
วัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
การปลูกพืชผักเพื่อการบริ โภคเอง ก็เป็ นวิถีทางหนึ่ งที่สามารถ
ปฏิ บติได้ตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง นอกจากจะได้เรี ยนรู ้ วิชาการ
     ั
เกษตรเกี่ ยวกับการปลูก ผัก จากการปฏิ บัติจริ งแล้ว ยังได้บริ โภคผัก ที่
ปลอดสารเคมี ช่วยครอบครัวประหยัด และยังหารายได้ระหว่างเรี ยน
โรงเรี ยนแม่ริมวิทยาคมมีนโยบายส่งเสริ มนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวัน กลุ่มผูทาโครงงานปั จจุบันเรี ยนอยู่ช้ ัน
                                       ้
มัธยมศึ กษาปี ที่ 3/6 จึ งทาโครงงานปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน โดย
                                             ้
การปฏิบติจริ ง และประยุกต์ ให้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
         ั
สาหรับการดารงชีวตประจาวันได้
                     ิ
วัตถุประสงค์
  „1.เพื่อศึกษาเรี ยนรู ้ทกษะวิธีการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน
                          ั                  ้
  „2.เพื่อใช้ในการบริ โภคในครอบครัวและจาหน่าย
  „3.เพื่อประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตร

    เป้ าหมาย
   - เป้ าหมายเชิงปริมาณ
          ปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน จานวน 4 แปลง
                    ้
   - เป้ าหมายเชิงคุณภาพ
          นักเรี ยนมีความรู ้และทักษะเกี่ยวกับการปลูกผักบุงแซมข้าวโพด
                                                          ้
หวาน และสามารถนาไปบริ โภคได้
สถานทีดาเนินการ
       ่
 แปลงเกษตรโรงเรี ยนแม่ริมวิทยาคม อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

ระยะเวลาทีดาเนินการ
          ่
 เริ่ มทาโครงงานตั้งแต่วนที่ มิถุนายน 2553 ถึง กันยายน 2553
                        ั
ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ
    ่
„1.นักเรี ยนมีความรู ้วธีการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน
                       ิ             ้
„2.นักเรี ยนมีปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน สาหรับใช้ในการบริ โภคในครอบครัว
                         ้
และจาหน่าย
„3.นักเรี ยนสามารถประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตรได้
ขอบเขตของโครงงาน
       ขอบเขตด้ านประชากร
           ประชากรที่ใช้ในการทาโครงงานครั้งนี้ คือ แปลงผักบุงแซมข้าวโพดหวาน
                                                                 ้
       จานวน 4 แปลงบริ เวณแปลงเกษตรโรงเรี ยนแม่ริมวิทยาคม
       ขอบเขตด้ านเนือหา
                       ้
           การทาโครงงานครั้งนี้เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักบุงแซมข้าวโพด
                                                                      ้
       หวานซึ่งมีเนื้อหาที่จะใช้ในการศึกษาครั้งนี้ดงนี้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การ
                                                   ั
       ปลูกผักบุง และการปลูกข้าวโพดหวาน
                ้
     นิยามศัพท์ เฉพาะ
ในการทาโครงงานครั้งนี้ ผูทาโครงงานได้ใช้ศพท์บางคาในความหมายและขอบเขตจากัด ดังนี้
                         ้                 ั
   ผักบุง หมายถึง ผักบุงใบไผ่เรี ยวมรกต หจก.พี เอ ซีดส์จากัด
          ้            ้
                    ่
   ข้าวโพดหวาน อยูใน ข้าวโพดหวานพันธุ์ซูเปอร์สวีทคอร์น
                                  ั
   ปุ๋ ยคอก หมายถึง มูลไก่ที่ใส่ กบแปลงปลูกผัก
   คณะผูทาโครงงาน หมายถึง นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3ที่ทาโครงงานจานวน 3 คน
            ้
วิธีการดาเนินงาน
                1.ขั้นเตรียม
      1.1 ประชุมปรึ กษาหารื อในกลุ่ม และปรึ กษาครู ที่ปรึ กษาหาแนวทางดาเนินกิจกรรม
การทาโครงงาน
      1.2 วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ของโครงงานปลูกผักบุงแซมข้าวโพด
                                                                        ้
หวานวางแผนการดาเนินงานปลูกปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานและศึกษาเอกสารที่
                                          ้
เกี่ยวข้อง
      2.ขั้นดาเนินงาน
      2.1 เตรี ยม แปลงปลูกผักบุงและข้าวโพดหวานขนาดกว้าง 1 x 8 เมตร จานวน 4
                                  ้
แปลง ใส่ปุ๋ยคอก
      2.2 หว่านเมล็ด ปลูกผักบุงและข้าวโพดหวานในแปลงและถอนแยกปลูก
                                ้
      2.3 ปฏิบติ ดูแล รักษา พรวนดิน กาจัดวัชพืช ใส่ปุ๋ย รดน้ า
                 ั
      2.4 เก็บเกี่ยว นาไปผลผลิตไปบริ โภคและจาหน่าย
3.ขั้นประเมินผล
3.1 รวบรวมข้อมูล
3.2 วิเคราะห์ขอมูล
              ้
3.3 สรุ ปและรายงานผล นาเสนอโครงงาน
การวิเคราะห์ จุดแข็งจุดอ่ อนข้ าวโพดหวาน(SWOT Analysis)
            ปัจจัยภายใน
                 จุดแข็ง (Strength)                         จุดอ่ อน (Weakness)
1. เจริ ญเติบโตได้ดีทุกฤดูกาล                 1. เก็บได้ไม่นาน (ใบเหลือง) สี ซีด
2. ปลูกง่าย โตเร็ ว (เมล็ด/กล้า)              2.ราคาถูกถ้าปลูกมาก
3. ทนทานต่อสิ่ งแวดล้อม                       3.เน่าเร็ ว
4. ปลอดสารพิษ เนื่องจากปลูกเองไม่ใช้สารเคมี   4.มีหอยทากรบกวน
5. อายุการเก็บเกี่ยวสั้น
              ปัจจัยภายนอก
              โอกาส (Opportunity)                            อุปสรรค (Threat)
1. ผูคนนิยมบริ โภค
     ้                                        1. แปลงเกษตรดินไม่ดี แน่นแข็ง
2. นาไปประกอบอาหารหลายชนิด                    2. ต้องใส่ปุ๋ยคอกจานวนมาก
3. ฤดูฝนตลาดขาดผักเนื่องจากน้ าท่วม           3. การแข่งขันการตลาดสูงฤดูฝนผักในตลาดมี
4. ผูปกครอง โรงเรี ยนสนับสนุน
       ้                                      มาก
                                                         ่
                                              4. บ้านอยูไกลวันหยุดมาดูแลลาบาก
วัสดุอปกรณ์
      ุ
  1   จอบ
  2   บัวรดน้ า
  3   เมล็ดผักบุงใบไผ่เรี ยวมรกต
                   ้
  4   เมล็ดข้าวโพดหวานซุปเปอร์ สวีทคอร์น
  5   ปุ๋ ยน้ าชีวภาพ
  6   ปุ๋ ยคอกมูลไก่
  7   เศษหญ้าแห้ง
  8   ปุ๋ ยยูเรี ย
  9   ปุ๋ ยหมัก
งบประมาณดาเนินการ
ที่   รายการ                            จานวน    ราคาต่ อหน่ วย   จานวนเงินบาท


1     เมล็ดข้าวโพดหวาน                   1 ถุง        20               20
2     เมล็ดผักบุง
                ้                        1 ถุง        20               20
3     ปุ๋ ยคอกมูลไก่                     3 กส         30               90
4     ปุ๋ ยยูเรี ย                                    25               25
5     ค่าแรง                             3 คน         150             450
6     ค่าน้ า                                         50               50
                     รวมต้ นทุน                                       655
การเก็บเกียว
          ่
           ผักบุง เมื่ออายุได้ 35-40 วันนับจากหว่านเมล็ด เก็บเกี่ยว
                 ้
ทั้ง 3 แปลงโดยการใช้มีดตัดและเด็ดยอด ให้เหลือใบติดโคนต้น
จานวน 3 ใบ จานวน 25 กิโลกรัม แล้วปล่อยให้ตนผักบุงแตกกอ ้       ้
รอเก็บเกี่ยวในรุ่ นที่ 2 และ 3 ต่อไป
                                        ่
           ข้าวโพดหวานแต่ละพันธุ์วาเป็ นพันธุ์หนัก, เบา หรื อปาน
กลาง เช่ นพันธุ์ เบา อายุ 55-65 วัน พันธุ์ปานกลาง 70-85 วัน และ
พันธุ์ หนักตั้ง แต่ 90 วันขึ้ นไป เก็ บเกี่ ยวในเวลา เช้าตรู่ และรี บส่ ง
ตลาดทันที ไม่ ค วรทิ้ ง ไว้เ กิ น 24 ชั่ว โมง เพราะจะท าให้ น้ า ตาล
ลดลง
ราคาจาหน่ายในท้องตลาด
     ผักบุงเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20 บาท คิดเป็ นเงิน 800
          ้                                              บาท
ข้าวโพดหวานเฉลี่ยกิโลกรัมละ 12 บาท คิดเป็ นเงิน 420       บาท
                         รวม                     1220    บาท
     การคานวณกาไร-ขาดทุน
                ราคาจาหน่าย                 1220 บาท
                ราคาต้นทุน                  655    บาท
              กาไร = ราคาจาหน่าย ‟ ราคาต้นทุน
                       = 1220 - 655
        กาไร           =       565 บาท
     เปอร์เซ็นต์กาไร = กาไรที่ได้ x 100
                            ราคาต้นทุน
                       = 565 x 100
                               655
                กาไร = 86.26 เปอร์เซ็นต์
ปัญหา
1. ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ แน่นแข็งมาก
2. ผักกวางตุงมีหอยทากรบกวน
             ้
3. ผักบุงมีราแป้ งขาวรบกวนทาให้ผกไม่ค่อย สวย
        ้                        ั
4. น้ าไหลไม่สม่าเสมอ
                   ่
5. บ้านนักเรี ยนอยูไกลการเดินทางดูแลวันหยุดไม่สะดวกเท่าที่ควร
          ข้ อเสนอแนะ
1. ใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ ยหมัก เพื่อปรับปรุ งดิน
2. กาจัดหอยทากโดยการใช้สมันไพร หรื อกาจัดด้วยมือ
3. อย่าหว่านเมล็ดผักบุงแน่นเกินไป
                       ้
4. ใช้วสดุคลุมดินเพื่อป้ องกันการระเหยน้ า
        ั
5. นักเรี ยนปลูกผักที่บานแล้วครู ออกไปนิเทศให้คาปรึ กษา
                         ้
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
       สรุป
           การทาโครงงานครั้งนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรี ยนรู ้ทกษะวิธีการปลูกปลูกผักบุง
                                     ั                            ั                      ้
แซมข้าวโพดหวานเพื่อใช้ในการบริ โภคในครอบครัวจาหน่าย และเพื่อประยุกต์ใช้ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตร คณะผูทาโครงงานได้รวบรวมข้อมูลด้วยตนเองจาก
                                              ้
การสังเกตและ การปฏิบติจริ งมาวิเคราะห์ดวย ร้อยละ และบรรยายสรุ ปได้ดงนี้
                         ั                 ้                                ั
            การคานวณค่าใช้จ่ายและกาไรขาดทุน
            จากการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานจานวน 4 แปลง การลงทุน จานวน 655บาท
                            ้
จาหน่ายผักบุงคิดเป็ นเงิน 800บาท และ จาหน่ายข้าวโพดหวานคิดเป็ นเงิน 420 บาทรวม เป็ นเงิน
              ้
1220บาท ได้กาไร 565 บาท คิดเป็ นร้อยละ 86.26
  อภิปรายผล
   จากการดาเนินโครงงานปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานทาให้ นักเรี ยนมีความรู ้และทักษะ
                                   ้
  ในการ ปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน เช่น พันธุ์ผกบุง และข้าวโพดหวาน วิธีการเตรี ยม
                  ้                               ั ้
  ดิ น ทัก ษะการหว่ า นเมล็ ด การดู แ ลรั ก ษา การรดน้ า การใส่ ปุ๋ ย โรคและศัต รู ผ ัก
  ตลอดจนการเก็บเกี่ยว ทาให้นกเรี ยนมีผกบุงและข้าวโพดหวานปลอดสารพิษบริ โภค
                               ั        ั ้
จาหน่าย สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญา
 เศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข กับกิจกรรมการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานโดยยึด
                                                             ้
 กรอบความพอประมาณ ได้แ ก่ การท ากิ จ กรรมโครงงานปลู ก ผัก จ านวน 4 แปลง ให้
 พอเหมาะกับเวลา แรงงาน ความสามารถของนักเรี ยนงบประมาณที่มีอยู่ กรอบความมีเหตุ
 มีผล ได้แก่ กิจกรรมการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน เพื่อได้ผกปลอดสารเคมีบริ โภคและ
                                 ้                               ั
 จาหน่าย เพื่อศึกษาความรู ้และทักษะในการปลูกผัก เพื่อฝึ กการทางานเป็ นกลุ่ม
กรอบการมีภูมิคุมกันที่ดีในตนเอง ได้แก่ การปลูกผักปลอดสารเคมีกินเองโดยไม่ตองได้ซ้ื อ
                 ้                                                             ้
การไม่เป็ นหนี้ สิน การไม่ใช้สารเคมีในการเกษตร การใส่ ปุ๋ยหมักที ผลิตเอง กิ จกรรมการ
ปลูกผักทาให้ร่างกายแข็งแรง สุ ขภาพจิตดี เงื่อนไขความรู ้ ได้แก่ นักเรี ยนมีความรู ้ ความรู ้
และทักษะในการปลูก ผักบุงและข้าวโพดหวานได้แก่ พันธุ์ผกบุงและข้าวโพดหวาน การ
                            ้                               ั ้
เตรี ยมดิน การหว่านเมล็ด การดูแลเอาใจใส่ การรดน้ า การใส่ปุ๋ย โรคและศัตรู ผก ตลอดจน
                                                                             ั
การเก็บเกี่ ยว ฯลฯ เงื่อนไขคุณธรรม ได้แก่ นักเรี ยนมีความรับผิดชอบ ความขยัน อดทน
เสี ยสละ ไม่เห็นแก่ตว มีความสามัคคี มีนิสยประหยัด อดออม รู ้จกการทางานเป็ นกลุ่ม
                     ั                   ั                     ั
ซึ่ งจะเห็ นได้ว่าจากการทาโครงงานเกษตรโดยการปลูกผักบุงแซมข้าวโพด-
                                                                 ้
  หวานสามารถประยุกต์ ให้สอดคล้องกับ หลัก ปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพีย ง 3 ห่ วง 2
  เงื่อนไขได้ ทาให้คณะผูทาโครงงาน เห็นแนวทางแบบอย่างในการประยุกต์ใช้ปรัชญา
                             ้
  เศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตรและกิจกรรมอื่นๆในการดารงชีวิตประจาวันได้
  อย่างสมดุล เหมาะกับสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมให้อย่างยังยืน
                                                             ่
         ข้ อเสนอแนะ
           1. ควรประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดารงชีวตทุกกิจกรรม
                                                                  ิ
           2. ควรทาโครงงานปลูกผักที่บริ โภคในครัวเรื อนเป็ นประจา เช่น ตะไคร้ ข่า ขิง ผัก
เชียงดา มะเขือเปราะ พริ กขี้หนู หรื อผักอื่นๆที่ปลอดสารพิษ
           3. ควรส่งเสริ มการปลูกผักที่บานนักเรี ยนแล้วครู ออกไปนิเทศให้คาปรึ กษาเพื่อที่จะ
                                        ้
ทาให้นกเรี ยนได้บริ โภคในครัวเรื อน
       ั
           4. ควรมีการปรับปรุ งดิน แปลงเกษตร โดยการใช้ปุ๋ยคอก หรื อปุ๋ ยอินทรี ยเ์ ป็ นหลัก
สาหรับปุ๋ ยยูเรี ยสามารถใช้ได้ดีและสะดวกควรค่อยลดปริ มาณลง เพื่อให้คุณสมบัติทางกายภาพ
ของดินดีข้ ึน
สรุป
การคานวณค่าใช้จ่ายและกาไรขาดทุน
  จากการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานจานวน 4
                     ้
  แปลง การลงทุน จานวน 655 บาท จาหน่ า ย
  ผักบุงคิดเป็ นเงิน 800 บาท และ ข้าวโพดหวาน
       ้
  คิดเป็ นเงิน 420 บาทรวม เป็ นเงิน 1220 บาท
  ได้กาไร 565บาท คิดเป็ นร้อยละ 86.26
จากประเมินผลการดาเนินงานปลูกผักบุ้งและข้ าวโพดหวาน
  พบว่านักเรี ยนมีความรู ้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมี
  ความพึงพอใจในการทาโครงงานโดยภาพรวมระดับมากที่สุด
  ร้อยละ 66.67 ส่ วนด้าน ความถนัด สนใจในการปลูกผักบุงและ ้
  ข้าวโพดหวาน วิธีการปลูกง่าย ผลผลิตผักบุงข้าวโพดหวานมี
                                              ้
  คุ ณภาพ ความรู ้ ในการปลูกผักบุ งข้าวโพดหวาน การปลูกพื ช
                                     ้
  แซม ระดับมากร้ อ ยละ 100.00 ขณะเดี ย วกัน การปฏิ บัติ ดู แ ล
  รักษาแปลงปลูก การใส่ ปุ๋ย ความร่ วมมือสมาชิ กในกลุ่มอยู่ใน
  ระดับมากร้อยละ 66.67 ขณะที่การเตรี ยมดิ นสะดวก การ
  ป้ องกันกาจัดศัตรู ผกบุง ข้าวโพดหวาน ระดับปานกลางร้อยละ
                      ั ้
  66.67 สาหรับการกาจัดวัชพืช ระดับปานกลางร้อยละ 100.00
ประโยชนทีได้ จากการดาเนินโครงงาน
            ่
   นักเรี ยนมีความรู้และทักษะในการปลูกผักบุงและ
                                             ้
  ข้าวโพดหวาน ได้แก่ พันธุผกบุงและข้าวโพดหวาน การ
                             ์ ั ้
  เตรี ยมดินการหว่านเมล็ด การดูแลเอาใจใส่ การรดน้ าการ
  ใส่ปุ๋ยการเก็บเกี่ยว มีปลูกผักบุงและข้าวโพดหวาน ปลอด
                                  ้
  สารพิษเพื่อบริ โภคและจาหน่าย สามารถประยุกต์ใช้หลัก
  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข กับกิจกรรม
  การปลูกผักบุงและข้าวโพด เห็นแนวทางประยุกต์ใช้
                ้
  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมอื่นๆในการ
  ดารงชีวิตประจาวันได้
ภาพกิจกรรม
เตรียมแปลงปลูกพร้ อม ใส่ ปยคอก
                          ุ๋
โรยเมล็ดผักบุ้งเป็ นแถว พร้ อมกับหยอดเมล็ดข้ าวโพดหวาน
ข้ าวโพดหวานอายุ 28 วัน
เก็บเกี่ยวผักบุง ในรุ่ นที่ 1
               ้
ผักบุ้งอายุ 28 วัน เก็บเกียวบริโภคและจาหน่ าย
                          ่
ผักบุ้งขนาดพอเหมาะนาไปบริโภค
เก็บเกียวผักบุ้งโดยการเด็ดยอดเพือให้ แตกยอดใหม่
       ่                        ่
ข้ าวโพดอายุ 50 วัน
ร่ องรอยหนูกดแทะฝักข้ าวโพด
            ั
หนูกดแทะฝักข้ าวโพด
    ั
เก็บผลผลิตไปบริโภคและจาหน่ าย
ข้ าวโพดหวานอายุ 65 วัน เก็บเกียวได้
                               ่
ข้ าวโพดหวานอายุ 65 วัน เก็บเกียวได้
                               ่
ขอบคุณคะ
       ่

More Related Content

What's hot

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพBeerza Kub
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 

What's hot (20)

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 

Similar to โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงTanwalai Kullawong
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNunteeka Nunun
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6juckit009
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)Nutthakorn Songkram
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 

Similar to โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (20)

โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
การเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาวการเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาว
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
W200753 53
W200753 53W200753 53
W200753 53
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 

โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  • 3. ผู้รับผิดชอบโครงงาน นิลุบล ไชยสมปาน ปานจันทร์ วัชรี เสวิน รัตนาภรณ์ วงศ์เสื อ ครู วรรณพงษ์ เมืองเล็น ครู ทปรึกษา ี่
  • 4. ทีมาและความสาคัญของโครงงาน ่ จากสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิ จไทยในปั จจุ บน ที่ มีสภาพการ ั ดารงชีวตอยูท่ามกลางการแข่งขันกันทุกด้านเพื่อสรรหาทรัพยากร และปั จจัย ิ ่ ที่เอื้ออานวยความสะดวก สาหรับตนเองและครอบครัว ประกอบกับกระแส ความเจริ ญก้า วหน้ า ทางด้า นเทคโนโลยี ที่ ทัน สมัย ท าให้ ก ารด ารงชี วิ ต ประจ าวัน ของคนไทยต้อ งต่ อ สู ้ แ ข่ ง ขัน กัน ทุ ก ด้า น ส่ ง ผลกระทบท าให้ เศรษฐกิ จในครอบครั วไม่สมดุ ล มี รายจ่ า ยมากกว่า รายรั บ หนี้ สิน เพิ่ มขึ้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หั ว ทรงมี พ ระราชด ารั ส เกี่ ย วกับ “เศรษฐกิ จ พอเพียง” ซึ่งเป็ นปรัชญาที่ ชี้แนะแนวทางการดาเนิ นชีวตชาวไทยมานานกว่า ิ 25 ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ได้ทรงเน้นย้ าแนวทางการแก้ไข เพื่อให้รอดพ้น และดารงอยู่ได้อย่างมันคงและยังยืนภายใต้กระแสโลกาภิ ่ ่ วัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
  • 5. การปลูกพืชผักเพื่อการบริ โภคเอง ก็เป็ นวิถีทางหนึ่ งที่สามารถ ปฏิ บติได้ตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง นอกจากจะได้เรี ยนรู ้ วิชาการ ั เกษตรเกี่ ยวกับการปลูก ผัก จากการปฏิ บัติจริ งแล้ว ยังได้บริ โภคผัก ที่ ปลอดสารเคมี ช่วยครอบครัวประหยัด และยังหารายได้ระหว่างเรี ยน โรงเรี ยนแม่ริมวิทยาคมมีนโยบายส่งเสริ มนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวัน กลุ่มผูทาโครงงานปั จจุบันเรี ยนอยู่ช้ ัน ้ มัธยมศึ กษาปี ที่ 3/6 จึ งทาโครงงานปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน โดย ้ การปฏิบติจริ ง และประยุกต์ ให้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ั สาหรับการดารงชีวตประจาวันได้ ิ
  • 6. วัตถุประสงค์ „1.เพื่อศึกษาเรี ยนรู ้ทกษะวิธีการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน ั ้ „2.เพื่อใช้ในการบริ โภคในครอบครัวและจาหน่าย „3.เพื่อประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตร เป้ าหมาย - เป้ าหมายเชิงปริมาณ ปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน จานวน 4 แปลง ้ - เป้ าหมายเชิงคุณภาพ นักเรี ยนมีความรู ้และทักษะเกี่ยวกับการปลูกผักบุงแซมข้าวโพด ้ หวาน และสามารถนาไปบริ โภคได้
  • 7. สถานทีดาเนินการ ่ แปลงเกษตรโรงเรี ยนแม่ริมวิทยาคม อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ระยะเวลาทีดาเนินการ ่ เริ่ มทาโครงงานตั้งแต่วนที่ มิถุนายน 2553 ถึง กันยายน 2553 ั ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ่ „1.นักเรี ยนมีความรู ้วธีการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน ิ ้ „2.นักเรี ยนมีปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน สาหรับใช้ในการบริ โภคในครอบครัว ้ และจาหน่าย „3.นักเรี ยนสามารถประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตรได้
  • 8. ขอบเขตของโครงงาน ขอบเขตด้ านประชากร ประชากรที่ใช้ในการทาโครงงานครั้งนี้ คือ แปลงผักบุงแซมข้าวโพดหวาน ้ จานวน 4 แปลงบริ เวณแปลงเกษตรโรงเรี ยนแม่ริมวิทยาคม ขอบเขตด้ านเนือหา ้ การทาโครงงานครั้งนี้เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักบุงแซมข้าวโพด ้ หวานซึ่งมีเนื้อหาที่จะใช้ในการศึกษาครั้งนี้ดงนี้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การ ั ปลูกผักบุง และการปลูกข้าวโพดหวาน ้ นิยามศัพท์ เฉพาะ ในการทาโครงงานครั้งนี้ ผูทาโครงงานได้ใช้ศพท์บางคาในความหมายและขอบเขตจากัด ดังนี้ ้ ั ผักบุง หมายถึง ผักบุงใบไผ่เรี ยวมรกต หจก.พี เอ ซีดส์จากัด ้ ้ ่ ข้าวโพดหวาน อยูใน ข้าวโพดหวานพันธุ์ซูเปอร์สวีทคอร์น ั ปุ๋ ยคอก หมายถึง มูลไก่ที่ใส่ กบแปลงปลูกผัก คณะผูทาโครงงาน หมายถึง นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3ที่ทาโครงงานจานวน 3 คน ้
  • 9. วิธีการดาเนินงาน 1.ขั้นเตรียม 1.1 ประชุมปรึ กษาหารื อในกลุ่ม และปรึ กษาครู ที่ปรึ กษาหาแนวทางดาเนินกิจกรรม การทาโครงงาน 1.2 วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ของโครงงานปลูกผักบุงแซมข้าวโพด ้ หวานวางแผนการดาเนินงานปลูกปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานและศึกษาเอกสารที่ ้ เกี่ยวข้อง 2.ขั้นดาเนินงาน 2.1 เตรี ยม แปลงปลูกผักบุงและข้าวโพดหวานขนาดกว้าง 1 x 8 เมตร จานวน 4 ้ แปลง ใส่ปุ๋ยคอก 2.2 หว่านเมล็ด ปลูกผักบุงและข้าวโพดหวานในแปลงและถอนแยกปลูก ้ 2.3 ปฏิบติ ดูแล รักษา พรวนดิน กาจัดวัชพืช ใส่ปุ๋ย รดน้ า ั 2.4 เก็บเกี่ยว นาไปผลผลิตไปบริ โภคและจาหน่าย
  • 10. 3.ขั้นประเมินผล 3.1 รวบรวมข้อมูล 3.2 วิเคราะห์ขอมูล ้ 3.3 สรุ ปและรายงานผล นาเสนอโครงงาน
  • 11. การวิเคราะห์ จุดแข็งจุดอ่ อนข้ าวโพดหวาน(SWOT Analysis) ปัจจัยภายใน จุดแข็ง (Strength) จุดอ่ อน (Weakness) 1. เจริ ญเติบโตได้ดีทุกฤดูกาล 1. เก็บได้ไม่นาน (ใบเหลือง) สี ซีด 2. ปลูกง่าย โตเร็ ว (เมล็ด/กล้า) 2.ราคาถูกถ้าปลูกมาก 3. ทนทานต่อสิ่ งแวดล้อม 3.เน่าเร็ ว 4. ปลอดสารพิษ เนื่องจากปลูกเองไม่ใช้สารเคมี 4.มีหอยทากรบกวน 5. อายุการเก็บเกี่ยวสั้น ปัจจัยภายนอก โอกาส (Opportunity) อุปสรรค (Threat) 1. ผูคนนิยมบริ โภค ้ 1. แปลงเกษตรดินไม่ดี แน่นแข็ง 2. นาไปประกอบอาหารหลายชนิด 2. ต้องใส่ปุ๋ยคอกจานวนมาก 3. ฤดูฝนตลาดขาดผักเนื่องจากน้ าท่วม 3. การแข่งขันการตลาดสูงฤดูฝนผักในตลาดมี 4. ผูปกครอง โรงเรี ยนสนับสนุน ้ มาก ่ 4. บ้านอยูไกลวันหยุดมาดูแลลาบาก
  • 12. วัสดุอปกรณ์ ุ 1 จอบ 2 บัวรดน้ า 3 เมล็ดผักบุงใบไผ่เรี ยวมรกต ้ 4 เมล็ดข้าวโพดหวานซุปเปอร์ สวีทคอร์น 5 ปุ๋ ยน้ าชีวภาพ 6 ปุ๋ ยคอกมูลไก่ 7 เศษหญ้าแห้ง 8 ปุ๋ ยยูเรี ย 9 ปุ๋ ยหมัก
  • 13. งบประมาณดาเนินการ ที่ รายการ จานวน ราคาต่ อหน่ วย จานวนเงินบาท 1 เมล็ดข้าวโพดหวาน 1 ถุง 20 20 2 เมล็ดผักบุง ้ 1 ถุง 20 20 3 ปุ๋ ยคอกมูลไก่ 3 กส 30 90 4 ปุ๋ ยยูเรี ย 25 25 5 ค่าแรง 3 คน 150 450 6 ค่าน้ า 50 50 รวมต้ นทุน 655
  • 14. การเก็บเกียว ่ ผักบุง เมื่ออายุได้ 35-40 วันนับจากหว่านเมล็ด เก็บเกี่ยว ้ ทั้ง 3 แปลงโดยการใช้มีดตัดและเด็ดยอด ให้เหลือใบติดโคนต้น จานวน 3 ใบ จานวน 25 กิโลกรัม แล้วปล่อยให้ตนผักบุงแตกกอ ้ ้ รอเก็บเกี่ยวในรุ่ นที่ 2 และ 3 ต่อไป ่ ข้าวโพดหวานแต่ละพันธุ์วาเป็ นพันธุ์หนัก, เบา หรื อปาน กลาง เช่ นพันธุ์ เบา อายุ 55-65 วัน พันธุ์ปานกลาง 70-85 วัน และ พันธุ์ หนักตั้ง แต่ 90 วันขึ้ นไป เก็ บเกี่ ยวในเวลา เช้าตรู่ และรี บส่ ง ตลาดทันที ไม่ ค วรทิ้ ง ไว้เ กิ น 24 ชั่ว โมง เพราะจะท าให้ น้ า ตาล ลดลง
  • 15. ราคาจาหน่ายในท้องตลาด ผักบุงเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20 บาท คิดเป็ นเงิน 800 ้ บาท ข้าวโพดหวานเฉลี่ยกิโลกรัมละ 12 บาท คิดเป็ นเงิน 420 บาท รวม 1220 บาท การคานวณกาไร-ขาดทุน ราคาจาหน่าย 1220 บาท ราคาต้นทุน 655 บาท กาไร = ราคาจาหน่าย ‟ ราคาต้นทุน = 1220 - 655 กาไร = 565 บาท เปอร์เซ็นต์กาไร = กาไรที่ได้ x 100 ราคาต้นทุน = 565 x 100 655 กาไร = 86.26 เปอร์เซ็นต์
  • 16. ปัญหา 1. ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ แน่นแข็งมาก 2. ผักกวางตุงมีหอยทากรบกวน ้ 3. ผักบุงมีราแป้ งขาวรบกวนทาให้ผกไม่ค่อย สวย ้ ั 4. น้ าไหลไม่สม่าเสมอ ่ 5. บ้านนักเรี ยนอยูไกลการเดินทางดูแลวันหยุดไม่สะดวกเท่าที่ควร ข้ อเสนอแนะ 1. ใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ ยหมัก เพื่อปรับปรุ งดิน 2. กาจัดหอยทากโดยการใช้สมันไพร หรื อกาจัดด้วยมือ 3. อย่าหว่านเมล็ดผักบุงแน่นเกินไป ้ 4. ใช้วสดุคลุมดินเพื่อป้ องกันการระเหยน้ า ั 5. นักเรี ยนปลูกผักที่บานแล้วครู ออกไปนิเทศให้คาปรึ กษา ้
  • 17. สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ สรุป การทาโครงงานครั้งนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรี ยนรู ้ทกษะวิธีการปลูกปลูกผักบุง ั ั ้ แซมข้าวโพดหวานเพื่อใช้ในการบริ โภคในครอบครัวจาหน่าย และเพื่อประยุกต์ใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตร คณะผูทาโครงงานได้รวบรวมข้อมูลด้วยตนเองจาก ้ การสังเกตและ การปฏิบติจริ งมาวิเคราะห์ดวย ร้อยละ และบรรยายสรุ ปได้ดงนี้ ั ้ ั การคานวณค่าใช้จ่ายและกาไรขาดทุน จากการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานจานวน 4 แปลง การลงทุน จานวน 655บาท ้ จาหน่ายผักบุงคิดเป็ นเงิน 800บาท และ จาหน่ายข้าวโพดหวานคิดเป็ นเงิน 420 บาทรวม เป็ นเงิน ้ 1220บาท ได้กาไร 565 บาท คิดเป็ นร้อยละ 86.26 อภิปรายผล จากการดาเนินโครงงานปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานทาให้ นักเรี ยนมีความรู ้และทักษะ ้ ในการ ปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน เช่น พันธุ์ผกบุง และข้าวโพดหวาน วิธีการเตรี ยม ้ ั ้ ดิ น ทัก ษะการหว่ า นเมล็ ด การดู แ ลรั ก ษา การรดน้ า การใส่ ปุ๋ ย โรคและศัต รู ผ ัก ตลอดจนการเก็บเกี่ยว ทาให้นกเรี ยนมีผกบุงและข้าวโพดหวานปลอดสารพิษบริ โภค ั ั ้
  • 18. จาหน่าย สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข กับกิจกรรมการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานโดยยึด ้ กรอบความพอประมาณ ได้แ ก่ การท ากิ จ กรรมโครงงานปลู ก ผัก จ านวน 4 แปลง ให้ พอเหมาะกับเวลา แรงงาน ความสามารถของนักเรี ยนงบประมาณที่มีอยู่ กรอบความมีเหตุ มีผล ได้แก่ กิจกรรมการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวาน เพื่อได้ผกปลอดสารเคมีบริ โภคและ ้ ั จาหน่าย เพื่อศึกษาความรู ้และทักษะในการปลูกผัก เพื่อฝึ กการทางานเป็ นกลุ่ม กรอบการมีภูมิคุมกันที่ดีในตนเอง ได้แก่ การปลูกผักปลอดสารเคมีกินเองโดยไม่ตองได้ซ้ื อ ้ ้ การไม่เป็ นหนี้ สิน การไม่ใช้สารเคมีในการเกษตร การใส่ ปุ๋ยหมักที ผลิตเอง กิ จกรรมการ ปลูกผักทาให้ร่างกายแข็งแรง สุ ขภาพจิตดี เงื่อนไขความรู ้ ได้แก่ นักเรี ยนมีความรู ้ ความรู ้ และทักษะในการปลูก ผักบุงและข้าวโพดหวานได้แก่ พันธุ์ผกบุงและข้าวโพดหวาน การ ้ ั ้ เตรี ยมดิน การหว่านเมล็ด การดูแลเอาใจใส่ การรดน้ า การใส่ปุ๋ย โรคและศัตรู ผก ตลอดจน ั การเก็บเกี่ ยว ฯลฯ เงื่อนไขคุณธรรม ได้แก่ นักเรี ยนมีความรับผิดชอบ ความขยัน อดทน เสี ยสละ ไม่เห็นแก่ตว มีความสามัคคี มีนิสยประหยัด อดออม รู ้จกการทางานเป็ นกลุ่ม ั ั ั
  • 19. ซึ่ งจะเห็ นได้ว่าจากการทาโครงงานเกษตรโดยการปลูกผักบุงแซมข้าวโพด- ้ หวานสามารถประยุกต์ ให้สอดคล้องกับ หลัก ปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพีย ง 3 ห่ วง 2 เงื่อนไขได้ ทาให้คณะผูทาโครงงาน เห็นแนวทางแบบอย่างในการประยุกต์ใช้ปรัชญา ้ เศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมการเกษตรและกิจกรรมอื่นๆในการดารงชีวิตประจาวันได้ อย่างสมดุล เหมาะกับสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมให้อย่างยังยืน ่ ข้ อเสนอแนะ 1. ควรประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดารงชีวตทุกกิจกรรม ิ 2. ควรทาโครงงานปลูกผักที่บริ โภคในครัวเรื อนเป็ นประจา เช่น ตะไคร้ ข่า ขิง ผัก เชียงดา มะเขือเปราะ พริ กขี้หนู หรื อผักอื่นๆที่ปลอดสารพิษ 3. ควรส่งเสริ มการปลูกผักที่บานนักเรี ยนแล้วครู ออกไปนิเทศให้คาปรึ กษาเพื่อที่จะ ้ ทาให้นกเรี ยนได้บริ โภคในครัวเรื อน ั 4. ควรมีการปรับปรุ งดิน แปลงเกษตร โดยการใช้ปุ๋ยคอก หรื อปุ๋ ยอินทรี ยเ์ ป็ นหลัก สาหรับปุ๋ ยยูเรี ยสามารถใช้ได้ดีและสะดวกควรค่อยลดปริ มาณลง เพื่อให้คุณสมบัติทางกายภาพ ของดินดีข้ ึน
  • 20. สรุป การคานวณค่าใช้จ่ายและกาไรขาดทุน จากการปลูกผักบุงแซมข้าวโพดหวานจานวน 4 ้ แปลง การลงทุน จานวน 655 บาท จาหน่ า ย ผักบุงคิดเป็ นเงิน 800 บาท และ ข้าวโพดหวาน ้ คิดเป็ นเงิน 420 บาทรวม เป็ นเงิน 1220 บาท ได้กาไร 565บาท คิดเป็ นร้อยละ 86.26
  • 21. จากประเมินผลการดาเนินงานปลูกผักบุ้งและข้ าวโพดหวาน พบว่านักเรี ยนมีความรู ้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมี ความพึงพอใจในการทาโครงงานโดยภาพรวมระดับมากที่สุด ร้อยละ 66.67 ส่ วนด้าน ความถนัด สนใจในการปลูกผักบุงและ ้ ข้าวโพดหวาน วิธีการปลูกง่าย ผลผลิตผักบุงข้าวโพดหวานมี ้ คุ ณภาพ ความรู ้ ในการปลูกผักบุ งข้าวโพดหวาน การปลูกพื ช ้ แซม ระดับมากร้ อ ยละ 100.00 ขณะเดี ย วกัน การปฏิ บัติ ดู แ ล รักษาแปลงปลูก การใส่ ปุ๋ย ความร่ วมมือสมาชิ กในกลุ่มอยู่ใน ระดับมากร้อยละ 66.67 ขณะที่การเตรี ยมดิ นสะดวก การ ป้ องกันกาจัดศัตรู ผกบุง ข้าวโพดหวาน ระดับปานกลางร้อยละ ั ้ 66.67 สาหรับการกาจัดวัชพืช ระดับปานกลางร้อยละ 100.00
  • 22. ประโยชนทีได้ จากการดาเนินโครงงาน ่ นักเรี ยนมีความรู้และทักษะในการปลูกผักบุงและ ้ ข้าวโพดหวาน ได้แก่ พันธุผกบุงและข้าวโพดหวาน การ ์ ั ้ เตรี ยมดินการหว่านเมล็ด การดูแลเอาใจใส่ การรดน้ าการ ใส่ปุ๋ยการเก็บเกี่ยว มีปลูกผักบุงและข้าวโพดหวาน ปลอด ้ สารพิษเพื่อบริ โภคและจาหน่าย สามารถประยุกต์ใช้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข กับกิจกรรม การปลูกผักบุงและข้าวโพด เห็นแนวทางประยุกต์ใช้ ้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมอื่นๆในการ ดารงชีวิตประจาวันได้
  • 25. โรยเมล็ดผักบุ้งเป็ นแถว พร้ อมกับหยอดเมล็ดข้ าวโพดหวาน
  • 28. ผักบุ้งอายุ 28 วัน เก็บเกียวบริโภคและจาหน่ าย ่
  • 35. ข้ าวโพดหวานอายุ 65 วัน เก็บเกียวได้ ่
  • 36. ข้ าวโพดหวานอายุ 65 วัน เก็บเกียวได้ ่