SlideShare a Scribd company logo
โรคมะเร็งปากมดลูก
• มะเร็ง ปากมดลูก จะเป็น โรคที่ป ้อ งกัน และรัก ษาให้ห าย
  ได้ แต่ โรคมะเร็ง ปากมดลูก   ยัง คงครองแชมป์อ น ดับ       ั
  หนึ่ง ของมะเร็ง ที่ค ร่า ชีว ิต ผู้ห ญิง โดยมีอ ัต ราการเสีย
  ชีว ิต ของ มะเร็ง ปากมดลูก เฉลี่ย สูง ถึง 7 คนต่อ วัน   และ
  พบผู้ป ่ว ย มะเร็ง ปากมดลูก รายใหม่ส ูง ถึง 6,000 คนต่อ
  ปี โดยในจำานวนของผู้มีเชื้อนี้กว่าครึ่งต้องเสียชีวิต เนื่องจากผู้
  ป่วยส่วนใหญ่มักอายและกลัวที่จะไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาเชื้อ
  มะเร็ง
             โรคมะเร็ง ปากมดลูก (Cancer of Cervix)  เกิด
  จากเชื้อไวรัสตัวหนึ่งที่ชื่อว่า HPV (Human Papilloma
  Virus) ภาษาไทยเรียกกันว่า ไวรัสหูด ไวรัสชนิดนี้ติดต่อจาก
  การสัมผัส ส่วนใหญ่เป็นการสัมผัสทางเพศสัมพันธ์ที่ทำาให้มีรอย
  ถลอกของผิวหรือเยื่อบุ และเชื้อไวรัสจะเข้าไปที่ปากมดลูก
  ทำาให้ปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อหรือเซลล์ จาก
  ปากมดลูกปกติกลายเป็นระยะก่อนเป็น มะเร็ง ปากมดลูก
• สาเหตุส ำา คัญ ของมะเร็ง ปากมดลูก
    สาเหตุการเกิดมะเร็งปากมดลูกยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจน มีปัจจัยหลาย
    อย่างที่มีความสัมพันธ์กับโรคมะเร็งปากมดลูก เช่น การมีเพศสัมพันธ์ ตั้งแต่
    อายุยังน้อย, มีบุตรมาก, มีประวัติเป็นกามโรค เป็นต้น แต่จากสถิติและการ
    ศึกษาค้นคว้าพบว่า มะเร็งปากมดลูกมีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อไวรัสฮิว
    แมนแพปพิลโลมาหรือเชื้อเอชพีวี (Human papilloma virus – HPV )
    บริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะที่บริเวณปากมดลูก (รวมทั้งอวัยวะเพศ
    ภายนอก) เชื้อ HPV แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
    -กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (High risk HPV) มี 13 ชนิด คือ 16, 18, 31, 33,
    35, 39, 45, 51, 52, 56, 58, 59, 68
    -กลุ่มที่มีความเสี่ยงตำ่า (Low risk HPV) ได้แก่ 2, 3, 6, 11, 42, 43, 44
    นอกจากนี้ยงมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เพิ่มโอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูก
                  ั
    ปัจ จัย เสี่ย งของการเป็น มะเร็ง ปากมดลูก
    ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายหญิง ได้แก่

• การมีคู่นอนหลายคน ความเสี่ยงสูงขึ้นตามจำานวนคู่นอนที่เพิ่มขึ้น  
• การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย 
• การสูบบุหรี่ 
• มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอดส์ เริม ซิฟิลิส และ
  หนองใน เป็นต้น 
• การให้กำาเนิดลูกหลายคน 
• การกินยาคุมกำาเนิด 
โรคมะเร็งเต้านม
• โรคมะเร็งเต้านมเกิดจากเนื้อเยื่อของเต้านมมีการเปลียนแปลง
                                                       ่
  เป็นเซลล์มะเร็งซึ่ง อาจจะกิดเป็นมะเร็งเต้านมที่เกิดกับท่อนำ้านม
  หรือมะเร็งเต้านมที่เกิดกับต่อมนำ้านม มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบ
  ได้บ่อย ดังนั้นท่านผู้อ่านที่เป็นหญิง หรือชายควรจะตรวจเต้านม
  ตัวเอง
• วิธ ีก ารรัก ษามะเร็ง เต้า นม :          การรักษามะเร็งเต้านม
  เป็นการรักษาผสมผสานกันระหว่างการผ่าตัด การฉายรังสีรักษา
  และการให้ยาเคมีบำาบัด การรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมสำาหรับ
  ผู้ป่วยแต่ละรายทำาให้ผลการรักษาดี ผู้ป่วยมีอายุยืนยาว แพทย์ผู้
  รักษาจำาเป็นต้องเลือกวิธีการและลำาดับการรักษาให้เหมาะสมกับ
  ผู้ป่วยแต่ละคนเพื่อให้ได้ผลการรักษาที่ดีที่สุด            รัก ษา
  ด้ว ยการผ่า ตัด           การผ่าตัดรักษาทีใช้ในทางปฏิบัติมี 2
                                               ่
  วิธี คือ           
• 1. การผ่า ตัด เต้า นมออกบางส่ว น หมายถึง การตัดก้อนมะเร็ง
  รวมทั้งเนื้อเต้านมที่ดีที่หุ้มรอบมะเร็งออกด้วยร่วมกับการเลาะต่อม
  นำ้าเหลืองบริเวณรักแร้ออก ถ้ามะเร็งมีการแพร่กระจายไปยังต่อม
  นำ้าเหลือง การผ่าตัดโดยวิธีนี้ต้องฉายรังสีบริเวณเต้านมภายหลัง
  การผ่าตัดทุกรายเพื่อลดโอกาสกลับเป็นใหม่ของมะเร็ง ผลการ
  ผ่าตัดโดยวิธนี้ได้ผลดีพอ ๆ กับการตัดเต้านมออกทั้งเต้า         
                  ี
• 2. การตัด เต้า นมออกโดยวิธ ีม าตรฐาน คือ การตัดเนื้อเต้า
  นมทั้งหมดร่วมกับเลาะต่อมนำ้าเหลืองบริเวณรักแร้ออก แพทย์จะ
  ผ่าตัดด้วยวิธีนี้ในกรณีที่ก้อนเนื้องอกมีขนาดใหญ่กว่าวิธแรก  ี
มะเร็ง ผิว หนัง
• เป็น มะเร็ง ที่พ บได้น ้อ ย ประมาณร้อ ยละ 5 ของมะเร็ง
  ทั้ง หมด มัก พบในผู้ท ี่ม ีอ ายุม าก กว่า 40 ปี และพบใน
  เพศชายมากกว่า เพศหญิง  
• สาเหตุ ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าการระคายเคืองต่อผิวหนัง
  เป็นระยะเวลานานๆ เป็นสาเหตุ ให้เกิดมะเร็งผิวหนังได้ เช่น 1.
  แสงแดดและแสงอุลตราไวโอเลต พบว่า ผิวหนังส่วนที่ถูก
  แสงแดด เป็นระยะเวลา นานๆ จะมีโอกาสเป็นมะเร็งมากกว่าส่วน
  อืน 2. ยาที่มีส่วนประกอบของสารหนู ทั้งยาจีน ยาไทย เมื่อรับ
    ่
  ประทานนาน ๆ จะทำาให้ เป็นโรคผิวหนังและกลายเป็นมะเร็งใน
  ที่สุด 3. หูด ไฝ ปาน หรือแผลเรื้อรังทีมีการระคายเคืองเป็นเวลา
                                        ่
  นานๆ อาจกลายเป็นมะเร็ง ได้
• สาเหตุก ารเกิด
•  1.แสงแดดซึ่งมีรงสีอัลตร้าไวโอเล็ท ในช่วงเวลา 10.00 -
                     ั
  15.00 น.  2.การระคายเคืองของสารเคมี เช่น การได้รับสารหนู
  ยาแผนโบราณ แหล่งนำ้า อาหาร  3.การเป็นแผลเรือรังจะมีการ
                                                    ้
  เปลี่ยนแปลง มีการทำาลายยีนส์ที่ควบคุมการแบ่งตัวของเซลล์
  ผิวหนังตามปกติ  4.พันธุกรรม
• เราจะป้อ งกัน ได้อ ย่า งไร
•  •หลีกเลี่ยงแสงแดดในช่วงเวลา 10.00 - 15.00 น.  •ใช้ครีม
  กันแดด ที่มีค่า SPF > 15  •หลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยงต่อการระคาย
  เคืองของผิวหนัง เช่น การสัมผัสสารเคมีบ่อยๆ หรือ การใช้วตถุั
  ขัดถูผิวหนังอย่างแรงๆ บางชนิด
• ท่า นทราบไหม ไฝบางชนิด อาจกลายเป็น มะเร็ง ผิว หนัง
  เราจะสัง เกตได้อ ย่า งไร
•  •ไฝที่มีลกษณะขอบไม่เรียบ  •สีไฝไม่สมำ่าเสมอ  •ขนาดโต
              ั
  มากกว่า 6 มม.  •เมื่อแบ่งเส้นผ่าศูนย์กลางแล้ว ลักษณะของไฝ
  สองข้างจะไม่เหมือนกัน
• มีว ิธ ีก ารรัก ษาอย่า งไร
•  •ถ้าเป็นผื่นแอคตินิค เคราโตซิส สามารถใช้การจี้ด้วยความเย็น
  ในการรักษาก็เพียงพอ  •ถ้าลุกลามเป็นมะเร็งบาซอล เซลล์ คาร์ซิ
  โนมา ใช้วธีการจี้ไฟฟ้า ร่วมกับการขูดผิวหนังหรือการตัดออก
                ิ
มะเร็ง ตับ
            เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 ในเพศชายและอันดับ
  2 ในเพศหญิง และเป็นมะเร็งที่มีการดำาเนินโรคเร็วมาก มักจะ
  เสียชีวิตใน 3 -6 เดือน
• สาเหตุ
• 1. การเกิดของโรค แยกตามประเภทได้ 2 ชนิด คือ
• 1.1 ชนิดที่เกิดกับตับโดยตรง (มะเร็งปฐมภูมิ) ในประเทศไทย
  พบมากมี 2 ชนิดคือ
• ปัจ จัย เสี่ย งของมะเร็ง ตับ มีอ ะไรบ้า ง
• ไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี พบว่าหากเป็นเรื้อรังจะพบว่ามีอัตราการเกิดมะเร็ง
  ตับสูง
• การได้รับสาร Aflatoxin ซึ่งเป็นสารเคมีที่ผลิตจากเชื้อราที่อยู่ในอาหาร
  พวก ถัว แป้งสาลี ถั่วเหลือง ข้าวโพด ข้าว
           ่
• ตับแข็งจากจาก สุรา ตับอักเสบ เป็นปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งตับ
• การได้รับสาร vinyl chloride
• ยาคุมกำาเนิดดังได้กล่าวข้างต้น
• ยาฮอร์โมนเพศชาย ที่ใช้รักษาโรคโลหิตจาง หรือการเสื่อมสมรรถภาพทาง
  เพศ พบว่ามีการเพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งตับ
• สารหนู หากได้รับติดต่อกันก็เพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งตับ
• สูบบุหรี่ บางรายงานกล่าวว่าการสูบบุหรี่ทำาให้มะเร็งตับเพิ่ม
• มะเร็ง ตับ ป้อ งกัน ได้ห รือ ไม่
• มะเร็งตับสามารถป้องกันได้โดยการสาธารณะสุข
• แนะนำาให้ฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี แก่เด็กทุกราย รวมทั้งให้ความรู้
  แก่ประชาชนถึงวิธีการติดต่อของไวรัสตับอักเสบ บี และซี
• ลดสาร aflatoxin โดยการเน้นการเก็บอาหารให้แห้งเพื่อลดปริมาณ
  aflatoxin
• โรคตับแข็ง โดยการลดการดื่มสุรา
• พยาธิใบไม้ในตับ ให้ประชาชนลดการบริโภคอาหารดิบๆ
• สารเคมีต่าง ควรมีมาตรการป้องกันทั้งผู้บริโภค และคนงานมิให้ได้รับสารเคมี
  เหล่านี้
มะเร็งตับอ่อน
• เป็นมะเร็งที่มีความรุนแรงมากชนิดหนึ่ง แต่เป็นมะเร็งที่ไม่ค่อยพบ
  บ่อยนักเป็นมะเร็งของผู้ใหญ่เกิดในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
• สาเหตุข องการเกิด มะเร็ง ตับ อ่อ น
• ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของมะเร็งตับอ่อนแต่พบว่าอาจมีปัจจัย
  เสี่ยงได้ดังนี้
•  1.ในคนที่สบบุหรีจัด มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งตับอ่อนมากกว่า
                  ู  ่
   2.ในคนที่มีครอบครัวป่วยเป็นมะเร็งตับอ่อน มีโอกาสเป็นมะเร็ง
  ตับอ่อนได้สูงกว่า  3.ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน มีปัจจัยเสี่ยงสูงกว่า
• อาการและอาการแสดง
• อาการของมะเร็งตับอ่อนเมื่อเริ่มเป็นมักไม่มีอาการต่อเมื่อก้อน
  มะเร็งโตมากขึ้นจะไปกดทับทางเดินนำ้าดี ทำาให้มีตัวเหลือง ตา
  เหลือง หรือ ปวดหลังได้ ซึ่งมักเป็นอาการที่พบได้ในโรคทั่วๆไป
  ไม่ใช่อาการเฉพาะของมะเร็งตับอ่อน

  ถ้าโรครุนแรงมากขึ้น อาจมีอาการแน่นท้องจากมีนำ้าในท้อง เบื่อ
มะเร็งท่อนำ้าดี
• มะเร็ง ท่อ นำ้า ดี หรือ โคแลงจิโ อคาร์ซ ิโ นมา (อังกฤษ:
  cholangiocarcinoma) เป็นมะเร็งชนิดหนึงที่เกิดกับท่อ นำ้า ดี
                                                   ่
  ซึ่งเป็นอวัยวะที่นำานำ้าดีจากตับมายังลำาไส้เล็ก มะเร็งอื่นๆ ในทาง
  เดินนำ้าดีมีเช่นมะเร็งตับอ่อน มะเร็ง ถุง นำ้า ดี มะเร็งของ
  กระเปาะของวาเตอร์เป็นต้น มะเร็งท่อนำ้าดีถอเป็น     ื
  มะเร็งชนิดต่อมอย่างหนึ่งที่ค่อนข้างพบน้อยโดยมีอุบัติการณ์ต่อ
  ปีประมาณ 1-2 รายต่อ 100,000 คนในโลกตะวันตก[1] แต่
  อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนำ้าดีในไทยกลับมีสูงมากที่สุดในโลก[2]
  และในช่วงหลายสิบปีมานี้อัตราอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนำาดีทั่ว
  โลกกำาลังเพิ่มขึ้น[3]
• อาการเด่นของมะเร็งท่อนำ้าดีคือการมีผล
  การตรวจการทำางานของตับผิดปกติ ปวดท้อ ง ดีซ่าน
  นำ้าหนักลด และอาจมีอาการคันทั่วไป มีไข้ สีของอุจจาระและ
  ปัสสาวะเปลี่ยนไป โรคนี้วินิจฉัยโดยอาศัยผลตรวจเลือด ผล
  ตรวจภาพรังสี ผลการส่องกล้อง และบางครั้งอาจต้องอาศัยการ
  ผ่าตัดเปิดสำารวจ มะเร็งท่อนำ้าดีมักปรากฏอาการในระยะท้ายๆ
  ของโรคซึ่งทำาให้เป็นการจำากัดทางเลือกในการรักษา ปัจจัย
มะเร็ง ลำา ไส้ใ หญ่
• มะเร็งลำาไส้ใหญ่พบบ่อยในผู้ใหญ่ มะเร็งส่านใหญ่รักษา
  หายขาดถ้าสามารถวินิจฉัยได้เร็วและรักษาเร็วมะเร็งลำาไส้ใหญ่
  ก็เช่นกัน ดังนั้นท่านผู้อ่านควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมะเร็ง
  ลำาไส้ใหญ่
• อาการของมะเร็ง ลำา ไส้ใ หญ่ :
•  •มีเลือดปนมาในอุจจาระ •การมีเลือดออกทางทวาร
  หนัก •อุจจาระมีขนาดเล็กลง  •ปวดถ่ายอุจจาระบ่อยๆ
  อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน  •อุปนิสัยการขับถ่ายเปลี่ยน
  ไป เช่น เคยถ่ายอุจจาระทุกวันก็เปลี่ยนไปมีอาการท้อง
  ผูก •อาการท้องผูกสลับท้องเสีย •ลำาไสอักเสบเรื้อรัง
   •ปวดมวนท้อง  •อาจคลำาได้ก้อนในช่องท้อง ซึ่งมัก
  เป็นทางด้านขวาตอนล่าง  •อาการปวดเบ่งบริเวณ
  ทวารหนักคล้าย ปวดอุจจาระตลอดเวลา  •นำ้าหนักลด
  โดยไม่ทราบเหตุ  •อาจมีอาการซีด อ่อนเพลีย และนำ้า
  หนักตัวลด •ผู้ป่วยบางรายอาจมาด้วยอาการของลำาไส้
  อุดตัน คือ ปวดท้องอย่างรุนแรงคล้ายลำาไส้ถูกบิด แต่
  เป็นอยูเพียงชั่วครู่ แล้วก็ทเลาไป และกลับเป็นใหม่อีก
          ่                   ุ
  ร่วมกับการไม่ถายอุจจาระ ไม่ผายลม เป็นต้น
                  ่
มะเร็งลำาไส้ตรง (Rectal cancer)
• อาการ
• ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งของลำาไส้ตรง ในระยะแรกอาจไม่มีอาการอะไรเลย แต่ถ้ามี
  อาการดังต่อไปนี้ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจว่าเป็นโรคมะเร็งลำาไส้ตรงหรือไม่
• มีอ าการถ่า ยเป็น เลือ ดชัด เจนและเป็น เลือ ดแดงสด ไม่ป นอยูเ นื้อ    ่
  อุจ จาระ (ต่า งกับ มะเร็ง ลำา ไส้ใ หญ่ท ี่เ ลือ ดจะปนอยู่ใ นเนื้อ อุจ จาระ )
• มีอ าการปวดเบ่ง หรือ รู้ส ก เหมือ นถ่า ยไม่ส ุด (tenesmus) คือ หลัง ถ่า ย
                              ึ
  อุจ จาระเสร็จ แล้ว ก็ย ัง รู้ส ึก ปวดถ่า ยอุจ จาระตลอดเวลา
• ถ้า มะเร็ง ขนาดใหญ่ม าก อาจทำา ให้เ กิด ลำา ไส้ต รงอุด ตัน ได้ โดยตอน
  แรกจะเห็น ว่า ลำา อุจ จาระเล็ก ลงเรื่อ ยๆ หรือ มีล ัก ษณะเหมือ นขีแ พะ แต่
                                                                          ้
  ถ้า การอุด ตัน รุน แรงมาก อาจทำา ให้เ กิด อาการของลำา ไส้ใ หญ่อ ุด ตัน
  ได้ (ผูป ่ว ยจะมีอ าการท้อ งอืด , ปวดมวนท้อ งเป็น พัก ๆ ดีข น เมื่อ ถ่า ย
         ้                                                         ึ้
  อุจ จาระหรือ ผายลม, ถ้า เป็น มากจะไม่ถ ่า ยอุจ จาระและไม่ผ ายลมเลย )
• ถ้า มะเร็ง ลามไปถึง ปริเ วณกระดูก สัน หลัง ส่ว นล่า งและก้น กบ จะทำา ให้
  มีอ าการปวดร้า วลงมาที่แ ก้ม ก้น และหัว หน่า วได้
• มีอ าการอ่อ นเพลีย ไม่ม ีแ รง จากภาวะซีด ที่เ กิด ตามหลัง ถ่า ยเป็น เลือ ด
  เป็น เวลานาน
• มีอ าการทั่ว ไปของมะเร็ง : ผู้ป ่ว ยจะมีอ าการเบื่อ อาหาร , นำ้า หนัก ลด
  มากโดยสามารถอธิบ ายเหตุผ ลได้, รู้ส ึก เหนื่อ ยหรือ ล้า เป็น ต้น
• สาเหตุ
• ในปัจจุบันยังไม่มีใครรู้สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดมะเร็งลำาไส้ตรง แต่แพทย์รู้
  ว่ามะเร็งลำาไส้ตรงเกิดเมื่อเซลล์ปกติในลำาไส้ใหญ่เปลี่ยนแปลงไป คือ เซลล์
วิธีรักโรคมะเร็ง
• 1. จิต ใจ ต้อ งสู้
•  2. อาหาร งดเว้น เนื้อ สัต ว์ (ปลารับ ประทานได้) แล้ว หัน
  มารับ ประทานอาหาร 15 ชนิด ได้แ ก่ 

•    - ธัญพืช 5 ชนิด ได้แก่ ข้าวกล้อง,ข้าวม้ง,ข้าวบาเล่ย์,ข้าวสาลี
  และลูกเดือย นำามาหุงด้วยหม้อข้าวไฟฟ้าและรับประทาน
•          - ผักผลไม้ 10 ชนิด ได้แก่ หอมหัวใหญ่,มันฝรั่งหรือ
  มันเทศ,กล้วยนำ้าว้าสุก (8 ลูก/วัน),ฟักทอง,ข้าวโพดหวาน,ยอด
  แค,ถั่วพู (2 ชนิดนี้ห้ามขาด) บลอคโคลี่ หรือกระหลำ่าดอก,ถั่ว
  หวานและคะน้าฮ่องกง (ผักผลไม้ 5 ชนิดแรกใช้นึ่ง) นำาทั้ง 10
  ชนิดมาหั่นเป็นชิ้นๆ นำามาเข้าเครื่องปั่นแบบไม่ต้องละเอียดมาก
  เพื่อให้กระเพาะอาหารทำาหน้าที่ย่อย จากนั้นนำามารับประทาน
  หนัก 1 กก./วันกับธัญพืช
•           3. อาบนำ้า ร้อ นสลับ นำ้า เย็น หรือ เย็น สลับ ร้อ นอย่า ง
  ละ 2 นาที รวมเวลา 10 นาที 1 ครั้ง /วัน
•   จบการเสนอคับ

More Related Content

What's hot

รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
โฮลลี่ เมดิคอล
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
Phansan Ubalee
 
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic cancer knowledge for alls
Basic cancer knowledge for allsBasic cancer knowledge for alls
Basic cancer knowledge for alls
Sukhontis Sukhaneskul
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
โฮลลี่ เมดิคอล
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม thaibreastcancer
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
4LIFEYES
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
โฮลลี่ เมดิคอล
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานMay Pasapun
 
Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
Chuchai Sornchumni
 
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมMin Pchw
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
anucha98
 

What's hot (20)

รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
 
Basic cancer knowledge for alls
Basic cancer knowledge for allsBasic cancer knowledge for alls
Basic cancer knowledge for alls
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
การรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็งการรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็ง
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
 
Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
Cpg cervical cancer
Cpg cervical cancerCpg cervical cancer
Cpg cervical cancer
 

Viewers also liked

Dmhtชี้แจงcm2558
Dmhtชี้แจงcm2558Dmhtชี้แจงcm2558
Dmhtชี้แจงcm2558
Chuchai Sornchumni
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
Prachaya Sriswang
 
Viruses and cancer
Viruses and cancer Viruses and cancer
Viruses and cancer
Robert J Miller MD
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองNana Sabaidee
 
Oncogenic virus ppt
Oncogenic virus pptOncogenic virus ppt
Oncogenic virus ppt
Deepak Sarangi
 
Oncogenic viruses
Oncogenic virusesOncogenic viruses
Oncogenic viruses
Balamurugan r
 
Virus and Cancer
Virus and CancerVirus and Cancer
Ppt.stroke
Ppt.strokePpt.stroke
Ppt.stroke
Prachaya Sriswang
 
CS3C - Justin Magno
CS3C - Justin MagnoCS3C - Justin Magno
CS3C - Justin MagnoPog Arenas
 
Timbul Karya - a junior chef story
Timbul Karya - a junior chef storyTimbul Karya - a junior chef story
Timbul Karya - a junior chef story
gastronomy service
 
Ky nang giao tiep oralcommunication
Ky nang giao tiep   oralcommunicationKy nang giao tiep   oralcommunication
Ky nang giao tiep oralcommunicationLuat Ba
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's lawmamardc
 
XPRESS VACATIONS
XPRESS VACATIONSXPRESS VACATIONS
XPRESS VACATIONS
ai04832122
 
Project Titles
Project TitlesProject Titles
Project Titles
Senthil Kumar
 

Viewers also liked (20)

Dmhtชี้แจงcm2558
Dmhtชี้แจงcm2558Dmhtชี้แจงcm2558
Dmhtชี้แจงcm2558
 
Viruses And Cancer
Viruses And CancerViruses And Cancer
Viruses And Cancer
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Viruses and cancer
Viruses and cancer Viruses and cancer
Viruses and cancer
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
Oncogenic virus ppt
Oncogenic virus pptOncogenic virus ppt
Oncogenic virus ppt
 
Oncogenic viruses
Oncogenic virusesOncogenic viruses
Oncogenic viruses
 
Virus and Cancer
Virus and CancerVirus and Cancer
Virus and Cancer
 
Colon
ColonColon
Colon
 
Ppt.stroke
Ppt.strokePpt.stroke
Ppt.stroke
 
CS3C - Justin Magno
CS3C - Justin MagnoCS3C - Justin Magno
CS3C - Justin Magno
 
Timbul Karya - a junior chef story
Timbul Karya - a junior chef storyTimbul Karya - a junior chef story
Timbul Karya - a junior chef story
 
Dft2
Dft2Dft2
Dft2
 
Pautas
PautasPautas
Pautas
 
Ky nang giao tiep oralcommunication
Ky nang giao tiep   oralcommunicationKy nang giao tiep   oralcommunication
Ky nang giao tiep oralcommunication
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
XPRESS VACATIONS
XPRESS VACATIONSXPRESS VACATIONS
XPRESS VACATIONS
 
Project Titles
Project TitlesProject Titles
Project Titles
 

Similar to โรคมะเร็ง

นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3supphawan
 
อาหารต้านมะเร็ง
อาหารต้านมะเร็งอาหารต้านมะเร็ง
อาหารต้านมะเร็ง
Wichayaporn02
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็ง10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็ง
Tcnk Pond
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลthaibreastcancer
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templates
mearnfunTamonwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
นอนอ. ยิ้มแฉ่งง'
 
โรคอ้วน007
โรคอ้วน007โรคอ้วน007
โรคอ้วน007
Anirut007
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
Sutthinee Sudchai
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 

Similar to โรคมะเร็ง (20)

นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3
 
อาหารต้านมะเร็ง
อาหารต้านมะเร็งอาหารต้านมะเร็ง
อาหารต้านมะเร็ง
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็ง10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็ง
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templates
 
2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
โรคอ้วน007
โรคอ้วน007โรคอ้วน007
โรคอ้วน007
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

โรคมะเร็ง

  • 1.
  • 2. โรคมะเร็งปากมดลูก • มะเร็ง ปากมดลูก จะเป็น โรคที่ป ้อ งกัน และรัก ษาให้ห าย ได้ แต่ โรคมะเร็ง ปากมดลูก   ยัง คงครองแชมป์อ น ดับ ั หนึ่ง ของมะเร็ง ที่ค ร่า ชีว ิต ผู้ห ญิง โดยมีอ ัต ราการเสีย ชีว ิต ของ มะเร็ง ปากมดลูก เฉลี่ย สูง ถึง 7 คนต่อ วัน   และ พบผู้ป ่ว ย มะเร็ง ปากมดลูก รายใหม่ส ูง ถึง 6,000 คนต่อ ปี โดยในจำานวนของผู้มีเชื้อนี้กว่าครึ่งต้องเสียชีวิต เนื่องจากผู้ ป่วยส่วนใหญ่มักอายและกลัวที่จะไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาเชื้อ มะเร็ง            โรคมะเร็ง ปากมดลูก (Cancer of Cervix)  เกิด จากเชื้อไวรัสตัวหนึ่งที่ชื่อว่า HPV (Human Papilloma Virus) ภาษาไทยเรียกกันว่า ไวรัสหูด ไวรัสชนิดนี้ติดต่อจาก การสัมผัส ส่วนใหญ่เป็นการสัมผัสทางเพศสัมพันธ์ที่ทำาให้มีรอย ถลอกของผิวหรือเยื่อบุ และเชื้อไวรัสจะเข้าไปที่ปากมดลูก ทำาให้ปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อหรือเซลล์ จาก ปากมดลูกปกติกลายเป็นระยะก่อนเป็น มะเร็ง ปากมดลูก
  • 3. • สาเหตุส ำา คัญ ของมะเร็ง ปากมดลูก สาเหตุการเกิดมะเร็งปากมดลูกยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจน มีปัจจัยหลาย อย่างที่มีความสัมพันธ์กับโรคมะเร็งปากมดลูก เช่น การมีเพศสัมพันธ์ ตั้งแต่ อายุยังน้อย, มีบุตรมาก, มีประวัติเป็นกามโรค เป็นต้น แต่จากสถิติและการ ศึกษาค้นคว้าพบว่า มะเร็งปากมดลูกมีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อไวรัสฮิว แมนแพปพิลโลมาหรือเชื้อเอชพีวี (Human papilloma virus – HPV ) บริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะที่บริเวณปากมดลูก (รวมทั้งอวัยวะเพศ ภายนอก) เชื้อ HPV แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ -กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (High risk HPV) มี 13 ชนิด คือ 16, 18, 31, 33, 35, 39, 45, 51, 52, 56, 58, 59, 68 -กลุ่มที่มีความเสี่ยงตำ่า (Low risk HPV) ได้แก่ 2, 3, 6, 11, 42, 43, 44 นอกจากนี้ยงมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เพิ่มโอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูก ั ปัจ จัย เสี่ย งของการเป็น มะเร็ง ปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายหญิง ได้แก่ • การมีคู่นอนหลายคน ความเสี่ยงสูงขึ้นตามจำานวนคู่นอนที่เพิ่มขึ้น   • การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย  • การสูบบุหรี่  • มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอดส์ เริม ซิฟิลิส และ หนองใน เป็นต้น  • การให้กำาเนิดลูกหลายคน  • การกินยาคุมกำาเนิด 
  • 4. โรคมะเร็งเต้านม • โรคมะเร็งเต้านมเกิดจากเนื้อเยื่อของเต้านมมีการเปลียนแปลง ่ เป็นเซลล์มะเร็งซึ่ง อาจจะกิดเป็นมะเร็งเต้านมที่เกิดกับท่อนำ้านม หรือมะเร็งเต้านมที่เกิดกับต่อมนำ้านม มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบ ได้บ่อย ดังนั้นท่านผู้อ่านที่เป็นหญิง หรือชายควรจะตรวจเต้านม ตัวเอง
  • 5. • วิธ ีก ารรัก ษามะเร็ง เต้า นม : การรักษามะเร็งเต้านม เป็นการรักษาผสมผสานกันระหว่างการผ่าตัด การฉายรังสีรักษา และการให้ยาเคมีบำาบัด การรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมสำาหรับ ผู้ป่วยแต่ละรายทำาให้ผลการรักษาดี ผู้ป่วยมีอายุยืนยาว แพทย์ผู้ รักษาจำาเป็นต้องเลือกวิธีการและลำาดับการรักษาให้เหมาะสมกับ ผู้ป่วยแต่ละคนเพื่อให้ได้ผลการรักษาที่ดีที่สุด            รัก ษา ด้ว ยการผ่า ตัด           การผ่าตัดรักษาทีใช้ในทางปฏิบัติมี 2 ่ วิธี คือ            • 1. การผ่า ตัด เต้า นมออกบางส่ว น หมายถึง การตัดก้อนมะเร็ง รวมทั้งเนื้อเต้านมที่ดีที่หุ้มรอบมะเร็งออกด้วยร่วมกับการเลาะต่อม นำ้าเหลืองบริเวณรักแร้ออก ถ้ามะเร็งมีการแพร่กระจายไปยังต่อม นำ้าเหลือง การผ่าตัดโดยวิธีนี้ต้องฉายรังสีบริเวณเต้านมภายหลัง การผ่าตัดทุกรายเพื่อลดโอกาสกลับเป็นใหม่ของมะเร็ง ผลการ ผ่าตัดโดยวิธนี้ได้ผลดีพอ ๆ กับการตัดเต้านมออกทั้งเต้า          ี • 2. การตัด เต้า นมออกโดยวิธ ีม าตรฐาน คือ การตัดเนื้อเต้า นมทั้งหมดร่วมกับเลาะต่อมนำ้าเหลืองบริเวณรักแร้ออก แพทย์จะ ผ่าตัดด้วยวิธีนี้ในกรณีที่ก้อนเนื้องอกมีขนาดใหญ่กว่าวิธแรก  ี
  • 6. มะเร็ง ผิว หนัง • เป็น มะเร็ง ที่พ บได้น ้อ ย ประมาณร้อ ยละ 5 ของมะเร็ง ทั้ง หมด มัก พบในผู้ท ี่ม ีอ ายุม าก กว่า 40 ปี และพบใน เพศชายมากกว่า เพศหญิง   • สาเหตุ ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าการระคายเคืองต่อผิวหนัง เป็นระยะเวลานานๆ เป็นสาเหตุ ให้เกิดมะเร็งผิวหนังได้ เช่น 1. แสงแดดและแสงอุลตราไวโอเลต พบว่า ผิวหนังส่วนที่ถูก แสงแดด เป็นระยะเวลา นานๆ จะมีโอกาสเป็นมะเร็งมากกว่าส่วน อืน 2. ยาที่มีส่วนประกอบของสารหนู ทั้งยาจีน ยาไทย เมื่อรับ ่ ประทานนาน ๆ จะทำาให้ เป็นโรคผิวหนังและกลายเป็นมะเร็งใน ที่สุด 3. หูด ไฝ ปาน หรือแผลเรื้อรังทีมีการระคายเคืองเป็นเวลา ่ นานๆ อาจกลายเป็นมะเร็ง ได้
  • 7. • สาเหตุก ารเกิด •  1.แสงแดดซึ่งมีรงสีอัลตร้าไวโอเล็ท ในช่วงเวลา 10.00 - ั 15.00 น.  2.การระคายเคืองของสารเคมี เช่น การได้รับสารหนู ยาแผนโบราณ แหล่งนำ้า อาหาร  3.การเป็นแผลเรือรังจะมีการ ้ เปลี่ยนแปลง มีการทำาลายยีนส์ที่ควบคุมการแบ่งตัวของเซลล์ ผิวหนังตามปกติ  4.พันธุกรรม • เราจะป้อ งกัน ได้อ ย่า งไร •  •หลีกเลี่ยงแสงแดดในช่วงเวลา 10.00 - 15.00 น.  •ใช้ครีม กันแดด ที่มีค่า SPF > 15  •หลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยงต่อการระคาย เคืองของผิวหนัง เช่น การสัมผัสสารเคมีบ่อยๆ หรือ การใช้วตถุั ขัดถูผิวหนังอย่างแรงๆ บางชนิด • ท่า นทราบไหม ไฝบางชนิด อาจกลายเป็น มะเร็ง ผิว หนัง เราจะสัง เกตได้อ ย่า งไร •  •ไฝที่มีลกษณะขอบไม่เรียบ  •สีไฝไม่สมำ่าเสมอ  •ขนาดโต ั มากกว่า 6 มม.  •เมื่อแบ่งเส้นผ่าศูนย์กลางแล้ว ลักษณะของไฝ สองข้างจะไม่เหมือนกัน • มีว ิธ ีก ารรัก ษาอย่า งไร •  •ถ้าเป็นผื่นแอคตินิค เคราโตซิส สามารถใช้การจี้ด้วยความเย็น ในการรักษาก็เพียงพอ  •ถ้าลุกลามเป็นมะเร็งบาซอล เซลล์ คาร์ซิ โนมา ใช้วธีการจี้ไฟฟ้า ร่วมกับการขูดผิวหนังหรือการตัดออก ิ
  • 8. มะเร็ง ตับ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 ในเพศชายและอันดับ 2 ในเพศหญิง และเป็นมะเร็งที่มีการดำาเนินโรคเร็วมาก มักจะ เสียชีวิตใน 3 -6 เดือน • สาเหตุ • 1. การเกิดของโรค แยกตามประเภทได้ 2 ชนิด คือ • 1.1 ชนิดที่เกิดกับตับโดยตรง (มะเร็งปฐมภูมิ) ในประเทศไทย พบมากมี 2 ชนิดคือ
  • 9. • ปัจ จัย เสี่ย งของมะเร็ง ตับ มีอ ะไรบ้า ง • ไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี พบว่าหากเป็นเรื้อรังจะพบว่ามีอัตราการเกิดมะเร็ง ตับสูง • การได้รับสาร Aflatoxin ซึ่งเป็นสารเคมีที่ผลิตจากเชื้อราที่อยู่ในอาหาร พวก ถัว แป้งสาลี ถั่วเหลือง ข้าวโพด ข้าว ่ • ตับแข็งจากจาก สุรา ตับอักเสบ เป็นปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งตับ • การได้รับสาร vinyl chloride • ยาคุมกำาเนิดดังได้กล่าวข้างต้น • ยาฮอร์โมนเพศชาย ที่ใช้รักษาโรคโลหิตจาง หรือการเสื่อมสมรรถภาพทาง เพศ พบว่ามีการเพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งตับ • สารหนู หากได้รับติดต่อกันก็เพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งตับ • สูบบุหรี่ บางรายงานกล่าวว่าการสูบบุหรี่ทำาให้มะเร็งตับเพิ่ม • มะเร็ง ตับ ป้อ งกัน ได้ห รือ ไม่ • มะเร็งตับสามารถป้องกันได้โดยการสาธารณะสุข • แนะนำาให้ฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี แก่เด็กทุกราย รวมทั้งให้ความรู้ แก่ประชาชนถึงวิธีการติดต่อของไวรัสตับอักเสบ บี และซี • ลดสาร aflatoxin โดยการเน้นการเก็บอาหารให้แห้งเพื่อลดปริมาณ aflatoxin • โรคตับแข็ง โดยการลดการดื่มสุรา • พยาธิใบไม้ในตับ ให้ประชาชนลดการบริโภคอาหารดิบๆ • สารเคมีต่าง ควรมีมาตรการป้องกันทั้งผู้บริโภค และคนงานมิให้ได้รับสารเคมี เหล่านี้
  • 10. มะเร็งตับอ่อน • เป็นมะเร็งที่มีความรุนแรงมากชนิดหนึ่ง แต่เป็นมะเร็งที่ไม่ค่อยพบ บ่อยนักเป็นมะเร็งของผู้ใหญ่เกิดในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง • สาเหตุข องการเกิด มะเร็ง ตับ อ่อ น • ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของมะเร็งตับอ่อนแต่พบว่าอาจมีปัจจัย เสี่ยงได้ดังนี้ •  1.ในคนที่สบบุหรีจัด มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งตับอ่อนมากกว่า ู ่  2.ในคนที่มีครอบครัวป่วยเป็นมะเร็งตับอ่อน มีโอกาสเป็นมะเร็ง ตับอ่อนได้สูงกว่า  3.ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน มีปัจจัยเสี่ยงสูงกว่า • อาการและอาการแสดง • อาการของมะเร็งตับอ่อนเมื่อเริ่มเป็นมักไม่มีอาการต่อเมื่อก้อน มะเร็งโตมากขึ้นจะไปกดทับทางเดินนำ้าดี ทำาให้มีตัวเหลือง ตา เหลือง หรือ ปวดหลังได้ ซึ่งมักเป็นอาการที่พบได้ในโรคทั่วๆไป ไม่ใช่อาการเฉพาะของมะเร็งตับอ่อน ถ้าโรครุนแรงมากขึ้น อาจมีอาการแน่นท้องจากมีนำ้าในท้อง เบื่อ
  • 11. มะเร็งท่อนำ้าดี • มะเร็ง ท่อ นำ้า ดี หรือ โคแลงจิโ อคาร์ซ ิโ นมา (อังกฤษ: cholangiocarcinoma) เป็นมะเร็งชนิดหนึงที่เกิดกับท่อ นำ้า ดี ่ ซึ่งเป็นอวัยวะที่นำานำ้าดีจากตับมายังลำาไส้เล็ก มะเร็งอื่นๆ ในทาง เดินนำ้าดีมีเช่นมะเร็งตับอ่อน มะเร็ง ถุง นำ้า ดี มะเร็งของ กระเปาะของวาเตอร์เป็นต้น มะเร็งท่อนำ้าดีถอเป็น ื มะเร็งชนิดต่อมอย่างหนึ่งที่ค่อนข้างพบน้อยโดยมีอุบัติการณ์ต่อ ปีประมาณ 1-2 รายต่อ 100,000 คนในโลกตะวันตก[1] แต่ อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนำ้าดีในไทยกลับมีสูงมากที่สุดในโลก[2] และในช่วงหลายสิบปีมานี้อัตราอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนำาดีทั่ว โลกกำาลังเพิ่มขึ้น[3] • อาการเด่นของมะเร็งท่อนำ้าดีคือการมีผล การตรวจการทำางานของตับผิดปกติ ปวดท้อ ง ดีซ่าน นำ้าหนักลด และอาจมีอาการคันทั่วไป มีไข้ สีของอุจจาระและ ปัสสาวะเปลี่ยนไป โรคนี้วินิจฉัยโดยอาศัยผลตรวจเลือด ผล ตรวจภาพรังสี ผลการส่องกล้อง และบางครั้งอาจต้องอาศัยการ ผ่าตัดเปิดสำารวจ มะเร็งท่อนำ้าดีมักปรากฏอาการในระยะท้ายๆ ของโรคซึ่งทำาให้เป็นการจำากัดทางเลือกในการรักษา ปัจจัย
  • 12. มะเร็ง ลำา ไส้ใ หญ่ • มะเร็งลำาไส้ใหญ่พบบ่อยในผู้ใหญ่ มะเร็งส่านใหญ่รักษา หายขาดถ้าสามารถวินิจฉัยได้เร็วและรักษาเร็วมะเร็งลำาไส้ใหญ่ ก็เช่นกัน ดังนั้นท่านผู้อ่านควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมะเร็ง ลำาไส้ใหญ่
  • 13. • อาการของมะเร็ง ลำา ไส้ใ หญ่ : •  •มีเลือดปนมาในอุจจาระ •การมีเลือดออกทางทวาร หนัก •อุจจาระมีขนาดเล็กลง  •ปวดถ่ายอุจจาระบ่อยๆ อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน  •อุปนิสัยการขับถ่ายเปลี่ยน ไป เช่น เคยถ่ายอุจจาระทุกวันก็เปลี่ยนไปมีอาการท้อง ผูก •อาการท้องผูกสลับท้องเสีย •ลำาไสอักเสบเรื้อรัง  •ปวดมวนท้อง  •อาจคลำาได้ก้อนในช่องท้อง ซึ่งมัก เป็นทางด้านขวาตอนล่าง  •อาการปวดเบ่งบริเวณ ทวารหนักคล้าย ปวดอุจจาระตลอดเวลา  •นำ้าหนักลด โดยไม่ทราบเหตุ  •อาจมีอาการซีด อ่อนเพลีย และนำ้า หนักตัวลด •ผู้ป่วยบางรายอาจมาด้วยอาการของลำาไส้ อุดตัน คือ ปวดท้องอย่างรุนแรงคล้ายลำาไส้ถูกบิด แต่ เป็นอยูเพียงชั่วครู่ แล้วก็ทเลาไป และกลับเป็นใหม่อีก ่ ุ ร่วมกับการไม่ถายอุจจาระ ไม่ผายลม เป็นต้น ่
  • 14. มะเร็งลำาไส้ตรง (Rectal cancer) • อาการ • ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งของลำาไส้ตรง ในระยะแรกอาจไม่มีอาการอะไรเลย แต่ถ้ามี อาการดังต่อไปนี้ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจว่าเป็นโรคมะเร็งลำาไส้ตรงหรือไม่ • มีอ าการถ่า ยเป็น เลือ ดชัด เจนและเป็น เลือ ดแดงสด ไม่ป นอยูเ นื้อ ่ อุจ จาระ (ต่า งกับ มะเร็ง ลำา ไส้ใ หญ่ท ี่เ ลือ ดจะปนอยู่ใ นเนื้อ อุจ จาระ ) • มีอ าการปวดเบ่ง หรือ รู้ส ก เหมือ นถ่า ยไม่ส ุด (tenesmus) คือ หลัง ถ่า ย ึ อุจ จาระเสร็จ แล้ว ก็ย ัง รู้ส ึก ปวดถ่า ยอุจ จาระตลอดเวลา • ถ้า มะเร็ง ขนาดใหญ่ม าก อาจทำา ให้เ กิด ลำา ไส้ต รงอุด ตัน ได้ โดยตอน แรกจะเห็น ว่า ลำา อุจ จาระเล็ก ลงเรื่อ ยๆ หรือ มีล ัก ษณะเหมือ นขีแ พะ แต่ ้ ถ้า การอุด ตัน รุน แรงมาก อาจทำา ให้เ กิด อาการของลำา ไส้ใ หญ่อ ุด ตัน ได้ (ผูป ่ว ยจะมีอ าการท้อ งอืด , ปวดมวนท้อ งเป็น พัก ๆ ดีข น เมื่อ ถ่า ย ้ ึ้ อุจ จาระหรือ ผายลม, ถ้า เป็น มากจะไม่ถ ่า ยอุจ จาระและไม่ผ ายลมเลย ) • ถ้า มะเร็ง ลามไปถึง ปริเ วณกระดูก สัน หลัง ส่ว นล่า งและก้น กบ จะทำา ให้ มีอ าการปวดร้า วลงมาที่แ ก้ม ก้น และหัว หน่า วได้ • มีอ าการอ่อ นเพลีย ไม่ม ีแ รง จากภาวะซีด ที่เ กิด ตามหลัง ถ่า ยเป็น เลือ ด เป็น เวลานาน • มีอ าการทั่ว ไปของมะเร็ง : ผู้ป ่ว ยจะมีอ าการเบื่อ อาหาร , นำ้า หนัก ลด มากโดยสามารถอธิบ ายเหตุผ ลได้, รู้ส ึก เหนื่อ ยหรือ ล้า เป็น ต้น • สาเหตุ • ในปัจจุบันยังไม่มีใครรู้สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดมะเร็งลำาไส้ตรง แต่แพทย์รู้ ว่ามะเร็งลำาไส้ตรงเกิดเมื่อเซลล์ปกติในลำาไส้ใหญ่เปลี่ยนแปลงไป คือ เซลล์
  • 15. วิธีรักโรคมะเร็ง • 1. จิต ใจ ต้อ งสู้ •  2. อาหาร งดเว้น เนื้อ สัต ว์ (ปลารับ ประทานได้) แล้ว หัน มารับ ประทานอาหาร 15 ชนิด ได้แ ก่  •    - ธัญพืช 5 ชนิด ได้แก่ ข้าวกล้อง,ข้าวม้ง,ข้าวบาเล่ย์,ข้าวสาลี และลูกเดือย นำามาหุงด้วยหม้อข้าวไฟฟ้าและรับประทาน •          - ผักผลไม้ 10 ชนิด ได้แก่ หอมหัวใหญ่,มันฝรั่งหรือ มันเทศ,กล้วยนำ้าว้าสุก (8 ลูก/วัน),ฟักทอง,ข้าวโพดหวาน,ยอด แค,ถั่วพู (2 ชนิดนี้ห้ามขาด) บลอคโคลี่ หรือกระหลำ่าดอก,ถั่ว หวานและคะน้าฮ่องกง (ผักผลไม้ 5 ชนิดแรกใช้นึ่ง) นำาทั้ง 10 ชนิดมาหั่นเป็นชิ้นๆ นำามาเข้าเครื่องปั่นแบบไม่ต้องละเอียดมาก เพื่อให้กระเพาะอาหารทำาหน้าที่ย่อย จากนั้นนำามารับประทาน หนัก 1 กก./วันกับธัญพืช •           3. อาบนำ้า ร้อ นสลับ นำ้า เย็น หรือ เย็น สลับ ร้อ นอย่า ง ละ 2 นาที รวมเวลา 10 นาที 1 ครั้ง /วัน
  • 16. จบการเสนอคับ