SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
มะเร็ ง ปากมดลู ก (http://www.chulacancer.net)
ระยะของมะเร็ ง ปากมดลู ก ( Stages of cervical cancer )

          หลังจากวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งปากมดลูกแล้ว จะมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาว่าเซลล์มะเร็งกระจายไปที่ส่วนอื่นๆ ของ
          ร่างกาย

หรือไม่ ข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจเพิ่มเติมจะนำามาใช้ประกอบการจำาแนกระยะของโรคได้ เพื่อใช้ในการวางแผนการรักษาต่อ
ไป

การตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาว่ามะเร็งอยู่เฉพาะในปากมดลูกหรือกระจายไปส่วนอื่นๆของร่างกายนั้น ได้แก่

          - การถ่ายภาพเอ็กซเรย์ปอด เป็นการเอ็กซเรย์ของอวัยวะที่อยู่ในช่องอก เช่น ปอด หัวใจ และกระดูกเป็นต้น การ
          เอ็กซเรย์ คือ การส่งลำาพลังงาน ชนิดหนึ่งผ่านร่างกายของคนไปตกลงบนฟิล์ม ทำาให้เกิดรูปภาพของอวัยวะต่างๆของร่า
          งกาย

          - การถ่ายเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) เป็นการสร้างชุดของภาพที่มีรายละเอียดของอวัยวะต่างๆของร่างกาย ซึ่งถูก

ถ่ายมาจากมุมที่แตกต่างกัน รูปภาพที่ได้มานั้นถูกสร้างขึ้นจากคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมต่อกับเครืองเอ็กซเรย์ นอกจากนี้อาจมีการ
                                                                                          ่
ฉีดสาร

ทึบรังสีเข้าสู่เส้นเลือดดำาหรือกลืนสารทึบรังสีเพื่อช่วยในการมองดูภาพของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อต่างๆได้อย่างชัดเจนมากขึ้น

          - การถ่ายภาพระบบนำ้าเหลือง ( Lymphangiogram ) เป็นการถ่ายภาพเอ็กซเรย์ของระบบนำ้าเหลือง โดยจะมีการฉีด

สารทึบรังสีเข้าไปในหลอดนำ้าเหลืองที่เท้า แล้วสารทึบรังสีนั้นจะเคลื่อนที่ขึ้นผ่านต่อมนำ้าเหลืองและหลอดนำ้าเหลืองต่างๆ และ
จากนั้น

ก็จะมีการถ่ายภาพเอ็กซเรย์ภาพที่ได้จะบอกถึงการอุดกั้นของระบบนำ้าเหลือง ซึ่งจะบอกได้วามะเร็งกระจายไปยังทีต่อมนำ้า
                                                                                   ่                   ่
เหลืองใดบ้าง

          - การผ่าตัดเพื่อประเมินระยะของโรคก่อนการรักษา (Pretreatment surgical staging) เป็นการผ่าตัดเพื่อหาว่ามะเร็ง

นั้นอยู่เฉพาะที่ปากมดลูกหรือกระจายไปยังส่วนอื่นของร่างกายในบางรายมะเร็งปากมดลูกอาจถูกตัดออกไปทั้งหมดในขณะ
เดียวกันนี้

ด้วยการผ่าตัด เพื่อประเมินระยะของโรคนี้มักจะทำาในส่วนหนึ่งของการทดลองเท่านั้น

          - การตรวจอัลตราซาวน์ ( Ultrasound exam ) เป็นการตรวจที่ใช้เสียงที่มีพลังงานสูงผ่านเข้าไปในเนื้อเยือหรืออวัยวะ
                                                                                                            ่

ภายใน จากนั้นจึงมีการสร้างออกมาเป็นภาพการถ่ายภาพจากการสั่นพ้องพลังแม่เหล็ก หรือ เอ็ม อาร์ ไอ ( MRI ) เป็นการใช้
แม่เหล็ก

คลื่นวิทยุ และคอมพิวเตอร์ในการสร้างชุดของรายละเอียดของภาพของร่างกาย

          ผลของการตรวจต่างๆจะถูกนำามาแปลผลร่วมกับผลของการตัดชิ้นเนื้อ เพื่อจะบอกถึงระยะของมะเร็งปากมดลูก




                                                        หน้า 1 / 9
การกระจายของมะเร็ ง ปากมดลู ก นั ้ น มี 3 วิ ธ ี

       การกระจายของมะเร็งปากมดลูกไปสู่ส่วนอื่นๆของร่างกายมี 3 วิธี คือ

                1.กระจายผ่านเนื้อเยือ มะเร็งจะลุกลามเข้าไปในเนื้อเยื่อปกติที่อยู่รอบๆ
                                    ่

                2.กระจายผ่านระบบนำ้าเหลือง มะเร็งจะลุกลามเข้าในระบบนำ้าเหลืองแล้วจากนั้นจะเคลื่อนที่ผานหลอดนำ้าเหลือง
                                                                                                     ่
                ไปสู่

                ส่วนอื่นๆของร่างกาย

                3.กระจายผ่านระบบเลือด มะเร็งจะลุกลามเข้าไปในเส้นเลือดดำาและเส้นเลือดฝอย แล้วจากนั้นจะเคลื่อนที่ผ่าน
                เส้นเลือด

                ไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกาย

       เมื่อเซลล์มะเร็งกระจายจากก้อนมะเร็งต้นกำาเนิดผ่านไปทางหลอดนำ้าเหลือง หรือเส้นเลือดต่างๆ ไปยังส่วนอื่นๆของ
       ร่างกายนั้น

อาจจะเกิดการสร้างตัวเป็นก้อนมะเร็งขึ้นมาใหม่ในที่อื่นๆ การกระจายของก้อนมะเร็งดังกล่าวนั้น เรียกว่า เมแทสเตสิส
( metastasis )

หรือ การกระจายของมะเร็ง ก้อนมะเร็งที่กระจายนั้นจะมีเซลล์ชนิดเดียวกันกับมะเร็งต้นกำาเนิด ยกตัวอย่างเช่น ถ้ามะเร็งเต้านม
กระจายไป

ยังกระดูก เซลล์มะเร็งที่พบที่กระดูกจะเป็นเซลล์มะเร็งเต้านม ไม่ใช่มะเร็งของกระดูก

ระยะของมะเร็ ง ปากมดลู ก แบ่ ง ได้ ด ั ง นี ้

ระยะที ่ 0 ( พบเซลล์ ผ ิ ด ปกติ แ ต่ ไ ม่ ใ ช่ ม ะเร็ ง – Carcinoma in situ )

       ระยะที่ 0 คือการตรวจพบเซลล์ที่ผิดปกติบริเวณผิวนอกสุดของปากมดลูกโดยยังไม่ใช่เซลล์มะเร็ง แต่เซลล์ผิดปกตินอาจ
                                                                                                              ี้
       จะ

กลายเป็นเซลล์มะเร็ง ในเวลาถัดมาและอาจกระจายไปยังเนื้อเยือปกติบริเวณนั้นได้ ระยะที่ 0 เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Carcinoma in
                                                        ่
situ

ระยะที ่ 1

       ระยะที่ 1 คือการตรวจพบมะเร็งอยู่ในปากมดลูกเท่านั้น ในระยะที่ 1 นี้แบ่งออกเป็น ระยะ   1 เอ (1A) และ ระยะ 1 บี
       (1B)

ซึ่งแบ่งโดยขนาดของมะเร็งที่ตรวจพบ

       ระยะ 1A เป็นระยะที่พบมะเร็งน้อยมาก สามารถเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์เท่านั้น ระยะนี้ยังสามารถแบ่งออกเป็นระยะ
       1 เอ 1

(1A1) และระยะ 1 เอ 2 (1A2) โดยแบ่งจากขนาดของมะเร็ง

       ระยะ 1A1 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งที่มีความลึกน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 มิลลิเมตร และ ความกว้างน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7
       มิลลิเมตร


                                                          หน้า 2 / 9
ระยะ 1A2 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งที่มีความลึกมากกว่า 3 มิลลิเมตร แต่ไม่มากกว่า 5 มิลลิเมตร และ ความกว้างน้อย
       กว่าหรือ

เท่ากับ 7 มิลลิเมตร

       ระยะ 1B เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งที่มีความลึกมากกว่า 5 มิลลิเมตร หรือ ความกว้างมากกว่า 7 มิลลิเมตร หรือสามารถ
       มองเห็น

มะเร็งได้ด้วยตาเปล่า โดยมะเร็งจะยังคงอยู่ในปากมดลูกเท่านั้น ระยะนี้สามารถแบ่งออกเป็น ระยะ 1 บี 1 (1B1) และระยะ 1 บี 2
(1B2) โดยแบ่งจากขนาดของมะเร็ง

       ระยะ 1B1 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งขนาดเล็กกว่าหรือเท่ากับ 4 เซนติเมตร

       ระยะ 1B2 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งขนาดใหญ่กว่า 4 เซนติเมตร

ระยะที ่ 2

       ระยะที่ 2 คือการตรวจพบมะเร็งกระจายออกไปจากปากมดลูกแล้วแต่ยังไม่ถึงเนื้อเยื่อของผนังด้านข้างของอุ้งเชิงกราน

( pelvic wall ) หรือมีการกระจายไปยังช่องคลอดแล้วแต่ยังไม่ถึงหนึ่งในสามส่วนล่างของช่องคลอด ระยะที่ 2 นี้ยังแบ่งออก
เป็น ระยะ 2 เอ (2A) และ 2 บี (2B) ซึ่งแบ่งโดยความไกลในการกระจายของมะเร็ง

       ระยะ 2A เป็นระยะที่มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูกไปยังสองในสามส่วนบนของช่องคลอด แต่ยังไม่มการกระจาย
                                                                                             ี
       เข้าไปในเนื้อเยือข้างตัวมดลูก
                       ่

       ระยะ 2B เป็นระยะที่มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูกไปยังเนื้อเยื่อข้างตัวมดลูก

ระยะที ่ 3

       ระยะที่ 3 คือการตรวจพบว่ามะเร็งกระจายออกไปยังหนึ่งในสามส่วนล่างของช่องคลอด โดยอาจจะมีการกระจายไปยัง
       ผนังด้านข้างของอุ้งเชิงกราน และ/หรือ ทำาให้ไตทำางานได้แย่ลง ในระยะที่ 3 นี้แบ่งออกเป็น ระยะ 3 เอ (3A) และ ระยะ
       3 บี (3B) ซึ่งแบ่งโดย ความไกลในการกระจายของมะเร็ง

       ระยะ 3A เป็นระยะที่มะเร็งกระจายไปยังหนึ่งในสามส่วนล่างของช่องคลอด แต่ยังไม่มีการกระจายไปยังผนังด้านข้าง
       ของอุ้งเชิงกราน

       ระยะ 3B เป็นระยะที่มะเร็งกระจายไปยังผนังด้านข้างของอุ้งเชิงกราน และ/หรือ มะเร็งขยายตัวไปกดบริเวณท่อไต (Ur
       eter) ทำาให้เกิดการอุดตันของระบบปัสสาวะทำาให้ไตมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือทำางานได้แย่ลง ในระยะนี้อาจจะพบว่า เซลล์
       มะเร็งกระจายไปยังต่อมนำ้าเหลือง ภายในอุ้งเชิงกราน

ระยะที ่ 4

       ระยะที่ 4 คือการตรวจพบว่ามะเร็งกระจายไปยังกระเพาะปัสสาวะ ทวารหนัก หรือส่วนอื่นๆของร่างกาย ในระยะนี้จะแบ่ง
       ออกเป็นระยะ 4 เอ (4A) และ ระยะ 4 บี (4B) ซึ่งแบ่งจากตำาแหน่งที่มะเร็งกระจาย

       ระยะ 4A เป็นระยะที่มะเร็งกระจายไปยังกระเพาะปัสสาวะหรือทวารหนัก

       ระยะ 4B เป็นระยะที่มะเร็งกระจายออกจากอุ้งเชิงกราน ไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย เช่น ช่องท้อง ตับ ลำาไส้ หรือปอด



                                                    หน้า 3 / 9
เป็นต้น




          หน้า 4 / 9
http://www.rtcog.or.th/html/articles_details.php?id=13
ความรู ้ เ กี ่ ย วกั บ มะเร็ ง ปากมดลู ก

                                           มะเร็งปากมดลูก

บทนำา                                              การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก
สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก                            การรักษามะเร็งปากมดลูก
อาการของมะเร็งปากมดลูก                             การพยากรณ์โรค
ระยะของมะเร็งปากมดลูก                              การป้องกันมะเร็งปากมดลูก




                                              หน้า 5 / 9
รองศาสตราจารย์นายแพทย์จตุพล ศรีสมบูรณ์
                                                                                        อนุกรรมการมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี
                                                                                   ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

บทนำา
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการ เสียชีวิตของคนไทยเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ อุบัติเหตุ และ โรคหัวใจ สำาหรับมะเร็งในสตรี
ไทย มะเร็งที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากที่สดคือมะเร็งปากมดลูก จากรายงานของสำานักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติพบว่า ใน
                                             ุ
ปีพ.ศ. 2544 ประเทศไทยมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ 6,192 ราย เสียชีวิต 3,166 ราย หรือประมาณร้อยละ 50 ถ้าคิด
คำานวณแล้วจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกวันละเกือบ 9 รายมะเร็งปากมดลูกพบมากทีสุดในภาคเหนือของประเทศไ
                                                                                        ่
ทยเมือเปรียบเทียบกับ ภูมิภาคอื่น ๆมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และสามารถตรวจคัดกรองหาความ ผิดปกติ
       ่
ได้ตั้งแต่ระยะก่อนมะเร็ง ซึ่งการรักษาได้ผลดี

สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก
สาเหตุสำาคัญของมะเร็งปากมดลูกเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบันคือ
  การ ติดเชือไวรัสฮิวแมนแพปพิลโลมาหรือเชือเอชพีวีบริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะบริเวณปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงที่ทำาให้มี
             ้                                ้
โอกาสติดเชือไวรัสเอชพีวีหรือเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ ง่ายขึ้น ได้แก่ การมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย หรือ
               ้
การตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย เป็นต้น ปัจจัยนอกจากนี้เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมหรือปัจจัยร่วมที่ทำาให้การติดเชือ เอชพีวีคืบหน้ารุนแร
                                                                                                        ้
งขึ้นจนเป็นมะเร็งปากมดลูก ปัจจัยร่วมเหล่านี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเป็นมะเร็งปากมดลูก หรือทำาให้เป็นมะเร็ง
ปากมดลูกได้สูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับสตรีที่ไม่มีปจจัยเสี่ยง ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่
                                                   ั

       1. ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายหญิง
       - การมีคู่นอนหลายคน ความเสี่ยงสูงขึ้นตามจำานวนคู่นอนที่เพิ่มขึ้น
       - การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อยกว่า 17 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่มีการกลายรูปของเซลล์
       ปากมดลูกมาก ช่วงนี้จะมีความไวต่อสารก่อมะเร็งสูงมากโดยเฉพาะเชื้อเอชพีวี
       - การตั้งครรภ์และการคลอดลูก จำานวนครั้งของการคลอดลูกมากกว่า 4 ครั้ง มีความเสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูกสูง
       ขึ้น 2 ? 3 เท่า
       - มีประวัตการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เริม ซิฟลิส และหนองใน เป็นต้น
                  ิ                                               ิ
       - การรับประทานยาคุมกำาเนิดเป็นเวลานาน ๆ ถ้านานกว่า 5 ปี และ 10 ปี จะมีความเสี่ยง
       สูงขึ้น 1.3 เท่า และ 2.5 เท่า ตามลำาดับ
       - ไม่เคยได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมาก่อน

       2. ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายชาย เนื่องจากส่วนใหญ่ของการติดเชื้อเอชพีวีบริเวณอวัยวะเพศได้มาจากการมี
       เพศสัมพันธ์ จึง กล่าวได้ว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่เกี่ยวข้องกับการมีเพศสัมพันธ์ การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ชา
       ยที่มีเชื้อเอชพีวี (ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ชายจะไม่มีอาการหรือตรวจไม่พบเชือ) แม้เพียงครั้งเดียวก็มีโอกาสติดเชือเอชพีวี
                                                                         ้                                   ้
       และเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายชายได้แก่
       - สตรีที่มีสามีเป็นมะเร็งองคชาติ
       - สตรีที่แต่งงานกับชายที่เคยมีภรรยาเป็นมะเร็งปากมดลูก
       - ผู้ชายที่เคยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
       - ผู้ชายที่มีประสบการณ์ทางเพศตั้งแต่อายุน้อย
       - ผู้ชายที่มีคู่นอนหลายคน

       3. ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่ส่งเสริมให้เป็นมะเร็งปากมดลูกได้ง่ายหรือเร็วขึ้นได้แก่
       - การสูบบุหรี่
       - ภาวะภูมิคุ้มกันตำ่า เช่น โรคเอดส์ และการได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
       - สตรีที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมตำ่า




                                                        หน้า 6 / 9
อาการของมะเร็งปากมดลูก
  อาการของผู้ป่วยมะเร็งปาก มดลูกจะมากหรือน้อยขึ้นกับระยะของมะเร็ง ในระยะแรกอาจไม่มอาการผิดปกติและตรวจพบจาก
                                                                                  ี
การตรวจคัดกรองหรือการตรวจด้วย กล้องขยายร่วมกับการตัดเนื้อ
ออกตรวจทางพยาธิวิทยา อาการที่อาจจะพบในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกได้แก่


      1. การตกเลือดทางช่องคลอด เป็นอาการที่พบได้มากที่สดประมาณร้อยละ 80 ? 90 ของผู้ป่วยที่มีอาการ
                                                       ุ
      ลักษณะเลือดทีออกอาจจะเป็น
                     ่
      - เลือดออกกะปริบกะปรอยระหว่างรอบเดือน
      - เลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์
      - มีนำ้าออกปนเลือด
      - ตกขาวปนเลือด
      - เลือดออกหลังวัยหมดประจำาเดือน

      2. อาการในระยะหลังเมื่อมะเร็งลุกลามมากขึ้น ได้แก่
      - ขาบวม
      - ปวดหลังรุนแรง ปวดก้นกบและต้นขา
      - ปัสสาวะเป็นเลือด
      - ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด

ระยะของมะเร็งปากมดลูก
      แบ่งออกได้เป็น 2 ระยะใหญ่ ๆ คือ
      1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม ระยะนี้เซลล์มะเร็งยังอยู่ภายในชั้นเยื่อบุผิว
      ปาก มดลูก ไม่ลุกลามเข้าไปในเนื้อปากมดลูก ผู้ป่วยจะไม่มอาการผิดปกติเลย แต่ตรวจพบได้จากการตรวจคัด
                                                              ี
      กรองโดยการตรวจทางเซลล์วิทยาของปากมดลูกที่เรียก ว่า ?แพปสเมียร์?
      2. ระยะลุกลาม แบ่งออกเป็น 4 ระยะย่อย คือ
      - ระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก
      - ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปที่เนือเยื่อข้างปากมดลูก และ / หรือผนังช่องคลอดส่วน
                                       ้
      บน
      - ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปทีด้านข้างของเชิงกราน และ / หรือผนังช่องคลอดส่วนล่าง หรือกดท่อไตจนเกิดภา
                                   ่
      วะไตบวมนำ้า
      - ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปทีกระเพาะปัสสาวะ ไส้ตรง หรืออวัยวะอื่น ๆ เช่น ปอด กระดูก และต่อมนำ้าเหลืองนอ
                                     ่
      กเชิงกราน เป็นต้น




                                                   หน้า 7 / 9
การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก
วิธีการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก ได้แก่
1. การตรวจภายใน พบก้อนมะเร็งปากมดลูกชัดเจน ต้องตรวจยืนยันโดยการตัดเนื้อออกตรวจทางพยาธิวิทยา
2. การตรวจทางเซลล์วิทยา หรือ ?แพปสเมียร์? ตรวจพบเซลล์มะเร็งซึ่งต้องสืบค้นต่อโดยการตรวจภายในและการตรวจด้วย
กล้องขยาย เพือตรวจหาบริเวณที่ผิดปกติที่จะทำาการตัดเนือออกตรวจทางพยาธิวิทยา
                ่                                    ้
3. การตรวจด้วยกล้องขยายหรือคอลโปสโคปร่วมกับการตัดเนื้อออกตรวจทางพยาธิวิทยา
4. การตรวจอื่น ๆ ทีอาจช่วยในการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก ได้แก่
                      ่
- การขูดภายในปากมดลูก
- การตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า
- การตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวยด้วยมีด
การรักษามะเร็งปากมดลูก
วิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกขึ้นกับระยะของ มะเร็งปากมดลูก ความต้องการธำารงภาวะเจริญพันธุ์ และโรคทางนรีเวชที่เป็นร่วม
ด้วย แบ่งวิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกตามระยะของมะเร็งได้ดังนี้
1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม รักษาได้หลายวิธีได้แก่
- การตรวจติดตามอย่างใกล้ชิด โดยการตรวจภายใน การทำาแพปสเมียร์ และการตรวจด้วยกล้องขยาย ทุก 4 ? 6 เดือน รอยโร
คขั้นตำ่าบางชนิดสามารถหายไปได้เองภายใน 1 ? 2 ปี ภายหลังการตัดเนื้อออกตรวจ
- การตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า
- การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น
- การจี้ด้วยเลเซอร์
- การตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวยด้วยมีด
รอย โรคในระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลามสามารถรักษาให้หายได้โดยไม่จำาเป็น ต้องตัดมดลูกออก เพราะมีผลการรักษา
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ
2. ระยะลุกลาม การเลือกวิธีรักษาขึ้นกับโรคประจำาตัวของผู้ป่วย ระยะของมะเร็ง และความพร้อมของโรงพยาบาลหรือแพทย์ผู้
ดูแลรักษา
- ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 บางราย รักษาโดยการตัดมดลูกออกแบบกว้างร่วมกับการเลาะต่อมนำ้าเหลืองเชิงกรานออก
- ระยะที่ 2 ถึง ระยะที่ 4 รักษาโดยการฉายรังสีร่วมกับการให้ยาเคมีบำาบัด
การพยากรณ์โรค
การพยากรณ์โรค
ผลการรักษามะเร็งปากมดลูกในปัจจุบันได้ผลดีมากกว่าในสมัยก่อน โดยเฉพาะในระยะก่อนมะเร็งและระยะลุกลามเริ่มแรก
1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม รักษาได้ผลดีเกือบร้อยละ 100
2. ระยะลุกลาม
- ระยะที่ 1 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 80 ? 95
               ั
- ระยะที่ 2 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 60 ? 70
                 ั
- ระยะที่ 3 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 40 ? 50
                   ั
- ระยะที่ 4 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 10 ? 20
                     ั




                                                   หน้า 8 / 9
การป้องกันมะเร็งปากมดลูก
การป้องกันมะเร็งปากมดลูก แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
      1. การป้องกันปฐมภูมิิ คือ การป้องกันโดยการหลีกเลี่ยงการได้รับสารก่อมะเร็ง การลดหรือขจัดสาเหตุหรือ
      ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับมะเร็งปากมดลูก หรือการทำาให้ร่างกายสามารถต่อต้านสาร
      ก่อมะเร็ง การป้องกันปฐมภูมิสำาหรับมะเร็งปากมดลูกได้แก่
      - การหลีกเลี่ยงการมีคู่นอนหลายคน
      - การหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย
      - การคุมกำาเนิดโดยใช้ถุงยางอนามัย
      - การหลีกเลี่ยงการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะการติดเชือเอชพีวี้
      - การงดสูบบุหรี่
      - การฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชือเอชพีวี จะมีการนำามาใช้ในอนาคต
                                        ้
      2. การป้องกันทุติยภูมิิ คือ การค้นหามะเร็งในระยะแรกเริ่มซึ่งการรักษาได้ผลดีสำาหรับมะเร็งปากมดลูกแล้ว ส
      ามารถตรวจคัดกรองได้โดย
      2.1 การทดสอบแพปหรือแพปสเมียร์ ซึ่งมี 2 วิธีคือ
      - แบบสามัญ มีความไวของการตรวจร้อยละ 50 ? 60
      - แบบแผ่นบาง มีความไวของการตรวจร้อยละ 70 ? 85
      2.2 การตรวจหาเชื้อเอชพีวี มีความไวสูงถึงร้อยละ 95 ? 100 ความก้าวหน้าทางการแพทย์ในปัจจุบันสามารถตร
      วจหาเชื้อชนิดก่อมะเร็งได้แล้ว แต่ยังมีค่าใช้จ่ายสูงอยู่ในประเทศไทย
      3. การป้องกันตติยภูมิิ คือ การรักษาโรคมะเร็ง มีจดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ป่วยหายจากโรคมะเร็ง มีชีวิตรอดยาวน
                                                             ุ
      าน และมีคุณภาพชีวิตทีดี    ่
      สรุป
      มะเร็ง ปากมดลูกเป็นมะเร็งทีพบมากที่สดของมะเร็งในสตรีไทย โดยมีผู้ป่วยรายใหม่ปีละประมาณ 6,000 ราย พ
                                     ่         ุ
      บมากในภาคเหนือของประเทศไทย สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการ
      ติดเชือเอชพีวีชนิดทีก่อให้เกิดมะเร็ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการมีเพศสัมพันธ์ มะเร็งปากมดลูกสามารถ
            ้                 ่
      ตรวจ พบได้ตั้งแต่ระยะก่อนมะเร็งโดยการทำาแพปสเมียร์ ซึ่งการรักษาได้ผลดีมาก อาการทีพบมากที่สดของผู้ป่ว
                                                                                             ่       ุ
      ยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามคือ การตกเลือดทางช่องคลอด วิธีการรักษาขึ้นกับระยะของมะเร็งปากมดลูก ในระ
      ยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลามสามารถรักษาได้หลายวิธีโดยไม่จำาเป็นต้อง ตัดมดลูกออก ในระยะลุกลามสาม
      ารถรักษาด้วยการผ่าตัด การฉายรังสี และเคมีบำาบัด มะเร็งปากมดลูกสามารถป้องกันได้โดยการหลีกเลี่ยงปัจจัยเ
      สี่ยงต่าง ๆ และการตรวจคัดกรองอย่างสมำ่าเสมออย่างน้อยทุก ๆ 1 ปี




                                                   หน้า 9 / 9

More Related Content

What's hot

โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกSompor Sukaew
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็งsantti2055
 
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมMin Pchw
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57Wassana Srisawat
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้techno UCH
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)นพ มีวงศ์ธรรม
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templatesmearnfunTamonwan
 

What's hot (12)

โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูก
 
Cpg cervical cancer
Cpg cervical cancerCpg cervical cancer
Cpg cervical cancer
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
 
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 
Cervical cervix by RTAFNC
Cervical cervix by RTAFNCCervical cervix by RTAFNC
Cervical cervix by RTAFNC
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templates
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 

Similar to มะเร็ง

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย Sutthinee Sudchai
 
โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกaungkararak
 
การผ่าตัดทางนรีเวช.pdf
การผ่าตัดทางนรีเวช.pdfการผ่าตัดทางนรีเวช.pdf
การผ่าตัดทางนรีเวช.pdfFaiSurkumron1
 
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม Utai Sukviwatsirikul
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer Utai Sukviwatsirikul
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)LittleThing CalledLove
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลthaibreastcancer
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานMay Pasapun
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 

Similar to มะเร็ง (20)

2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูก
 
การผ่าตัดทางนรีเวช.pdf
การผ่าตัดทางนรีเวช.pdfการผ่าตัดทางนรีเวช.pdf
การผ่าตัดทางนรีเวช.pdf
 
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Tumor Marker
Tumor MarkerTumor Marker
Tumor Marker
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 

มะเร็ง

  • 1. มะเร็ ง ปากมดลู ก (http://www.chulacancer.net) ระยะของมะเร็ ง ปากมดลู ก ( Stages of cervical cancer ) หลังจากวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งปากมดลูกแล้ว จะมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาว่าเซลล์มะเร็งกระจายไปที่ส่วนอื่นๆ ของ ร่างกาย หรือไม่ ข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจเพิ่มเติมจะนำามาใช้ประกอบการจำาแนกระยะของโรคได้ เพื่อใช้ในการวางแผนการรักษาต่อ ไป การตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาว่ามะเร็งอยู่เฉพาะในปากมดลูกหรือกระจายไปส่วนอื่นๆของร่างกายนั้น ได้แก่ - การถ่ายภาพเอ็กซเรย์ปอด เป็นการเอ็กซเรย์ของอวัยวะที่อยู่ในช่องอก เช่น ปอด หัวใจ และกระดูกเป็นต้น การ เอ็กซเรย์ คือ การส่งลำาพลังงาน ชนิดหนึ่งผ่านร่างกายของคนไปตกลงบนฟิล์ม ทำาให้เกิดรูปภาพของอวัยวะต่างๆของร่า งกาย - การถ่ายเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) เป็นการสร้างชุดของภาพที่มีรายละเอียดของอวัยวะต่างๆของร่างกาย ซึ่งถูก ถ่ายมาจากมุมที่แตกต่างกัน รูปภาพที่ได้มานั้นถูกสร้างขึ้นจากคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมต่อกับเครืองเอ็กซเรย์ นอกจากนี้อาจมีการ ่ ฉีดสาร ทึบรังสีเข้าสู่เส้นเลือดดำาหรือกลืนสารทึบรังสีเพื่อช่วยในการมองดูภาพของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อต่างๆได้อย่างชัดเจนมากขึ้น - การถ่ายภาพระบบนำ้าเหลือง ( Lymphangiogram ) เป็นการถ่ายภาพเอ็กซเรย์ของระบบนำ้าเหลือง โดยจะมีการฉีด สารทึบรังสีเข้าไปในหลอดนำ้าเหลืองที่เท้า แล้วสารทึบรังสีนั้นจะเคลื่อนที่ขึ้นผ่านต่อมนำ้าเหลืองและหลอดนำ้าเหลืองต่างๆ และ จากนั้น ก็จะมีการถ่ายภาพเอ็กซเรย์ภาพที่ได้จะบอกถึงการอุดกั้นของระบบนำ้าเหลือง ซึ่งจะบอกได้วามะเร็งกระจายไปยังทีต่อมนำ้า ่ ่ เหลืองใดบ้าง - การผ่าตัดเพื่อประเมินระยะของโรคก่อนการรักษา (Pretreatment surgical staging) เป็นการผ่าตัดเพื่อหาว่ามะเร็ง นั้นอยู่เฉพาะที่ปากมดลูกหรือกระจายไปยังส่วนอื่นของร่างกายในบางรายมะเร็งปากมดลูกอาจถูกตัดออกไปทั้งหมดในขณะ เดียวกันนี้ ด้วยการผ่าตัด เพื่อประเมินระยะของโรคนี้มักจะทำาในส่วนหนึ่งของการทดลองเท่านั้น - การตรวจอัลตราซาวน์ ( Ultrasound exam ) เป็นการตรวจที่ใช้เสียงที่มีพลังงานสูงผ่านเข้าไปในเนื้อเยือหรืออวัยวะ ่ ภายใน จากนั้นจึงมีการสร้างออกมาเป็นภาพการถ่ายภาพจากการสั่นพ้องพลังแม่เหล็ก หรือ เอ็ม อาร์ ไอ ( MRI ) เป็นการใช้ แม่เหล็ก คลื่นวิทยุ และคอมพิวเตอร์ในการสร้างชุดของรายละเอียดของภาพของร่างกาย ผลของการตรวจต่างๆจะถูกนำามาแปลผลร่วมกับผลของการตัดชิ้นเนื้อ เพื่อจะบอกถึงระยะของมะเร็งปากมดลูก หน้า 1 / 9
  • 2. การกระจายของมะเร็ ง ปากมดลู ก นั ้ น มี 3 วิ ธ ี การกระจายของมะเร็งปากมดลูกไปสู่ส่วนอื่นๆของร่างกายมี 3 วิธี คือ 1.กระจายผ่านเนื้อเยือ มะเร็งจะลุกลามเข้าไปในเนื้อเยื่อปกติที่อยู่รอบๆ ่ 2.กระจายผ่านระบบนำ้าเหลือง มะเร็งจะลุกลามเข้าในระบบนำ้าเหลืองแล้วจากนั้นจะเคลื่อนที่ผานหลอดนำ้าเหลือง ่ ไปสู่ ส่วนอื่นๆของร่างกาย 3.กระจายผ่านระบบเลือด มะเร็งจะลุกลามเข้าไปในเส้นเลือดดำาและเส้นเลือดฝอย แล้วจากนั้นจะเคลื่อนที่ผ่าน เส้นเลือด ไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เมื่อเซลล์มะเร็งกระจายจากก้อนมะเร็งต้นกำาเนิดผ่านไปทางหลอดนำ้าเหลือง หรือเส้นเลือดต่างๆ ไปยังส่วนอื่นๆของ ร่างกายนั้น อาจจะเกิดการสร้างตัวเป็นก้อนมะเร็งขึ้นมาใหม่ในที่อื่นๆ การกระจายของก้อนมะเร็งดังกล่าวนั้น เรียกว่า เมแทสเตสิส ( metastasis ) หรือ การกระจายของมะเร็ง ก้อนมะเร็งที่กระจายนั้นจะมีเซลล์ชนิดเดียวกันกับมะเร็งต้นกำาเนิด ยกตัวอย่างเช่น ถ้ามะเร็งเต้านม กระจายไป ยังกระดูก เซลล์มะเร็งที่พบที่กระดูกจะเป็นเซลล์มะเร็งเต้านม ไม่ใช่มะเร็งของกระดูก ระยะของมะเร็ ง ปากมดลู ก แบ่ ง ได้ ด ั ง นี ้ ระยะที ่ 0 ( พบเซลล์ ผ ิ ด ปกติ แ ต่ ไ ม่ ใ ช่ ม ะเร็ ง – Carcinoma in situ ) ระยะที่ 0 คือการตรวจพบเซลล์ที่ผิดปกติบริเวณผิวนอกสุดของปากมดลูกโดยยังไม่ใช่เซลล์มะเร็ง แต่เซลล์ผิดปกตินอาจ ี้ จะ กลายเป็นเซลล์มะเร็ง ในเวลาถัดมาและอาจกระจายไปยังเนื้อเยือปกติบริเวณนั้นได้ ระยะที่ 0 เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Carcinoma in ่ situ ระยะที ่ 1 ระยะที่ 1 คือการตรวจพบมะเร็งอยู่ในปากมดลูกเท่านั้น ในระยะที่ 1 นี้แบ่งออกเป็น ระยะ 1 เอ (1A) และ ระยะ 1 บี (1B) ซึ่งแบ่งโดยขนาดของมะเร็งที่ตรวจพบ ระยะ 1A เป็นระยะที่พบมะเร็งน้อยมาก สามารถเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์เท่านั้น ระยะนี้ยังสามารถแบ่งออกเป็นระยะ 1 เอ 1 (1A1) และระยะ 1 เอ 2 (1A2) โดยแบ่งจากขนาดของมะเร็ง ระยะ 1A1 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งที่มีความลึกน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 มิลลิเมตร และ ความกว้างน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 มิลลิเมตร หน้า 2 / 9
  • 3. ระยะ 1A2 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งที่มีความลึกมากกว่า 3 มิลลิเมตร แต่ไม่มากกว่า 5 มิลลิเมตร และ ความกว้างน้อย กว่าหรือ เท่ากับ 7 มิลลิเมตร ระยะ 1B เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งที่มีความลึกมากกว่า 5 มิลลิเมตร หรือ ความกว้างมากกว่า 7 มิลลิเมตร หรือสามารถ มองเห็น มะเร็งได้ด้วยตาเปล่า โดยมะเร็งจะยังคงอยู่ในปากมดลูกเท่านั้น ระยะนี้สามารถแบ่งออกเป็น ระยะ 1 บี 1 (1B1) และระยะ 1 บี 2 (1B2) โดยแบ่งจากขนาดของมะเร็ง ระยะ 1B1 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งขนาดเล็กกว่าหรือเท่ากับ 4 เซนติเมตร ระยะ 1B2 เป็นระยะที่ตรวจพบมะเร็งขนาดใหญ่กว่า 4 เซนติเมตร ระยะที ่ 2 ระยะที่ 2 คือการตรวจพบมะเร็งกระจายออกไปจากปากมดลูกแล้วแต่ยังไม่ถึงเนื้อเยื่อของผนังด้านข้างของอุ้งเชิงกราน ( pelvic wall ) หรือมีการกระจายไปยังช่องคลอดแล้วแต่ยังไม่ถึงหนึ่งในสามส่วนล่างของช่องคลอด ระยะที่ 2 นี้ยังแบ่งออก เป็น ระยะ 2 เอ (2A) และ 2 บี (2B) ซึ่งแบ่งโดยความไกลในการกระจายของมะเร็ง ระยะ 2A เป็นระยะที่มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูกไปยังสองในสามส่วนบนของช่องคลอด แต่ยังไม่มการกระจาย ี เข้าไปในเนื้อเยือข้างตัวมดลูก ่ ระยะ 2B เป็นระยะที่มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูกไปยังเนื้อเยื่อข้างตัวมดลูก ระยะที ่ 3 ระยะที่ 3 คือการตรวจพบว่ามะเร็งกระจายออกไปยังหนึ่งในสามส่วนล่างของช่องคลอด โดยอาจจะมีการกระจายไปยัง ผนังด้านข้างของอุ้งเชิงกราน และ/หรือ ทำาให้ไตทำางานได้แย่ลง ในระยะที่ 3 นี้แบ่งออกเป็น ระยะ 3 เอ (3A) และ ระยะ 3 บี (3B) ซึ่งแบ่งโดย ความไกลในการกระจายของมะเร็ง ระยะ 3A เป็นระยะที่มะเร็งกระจายไปยังหนึ่งในสามส่วนล่างของช่องคลอด แต่ยังไม่มีการกระจายไปยังผนังด้านข้าง ของอุ้งเชิงกราน ระยะ 3B เป็นระยะที่มะเร็งกระจายไปยังผนังด้านข้างของอุ้งเชิงกราน และ/หรือ มะเร็งขยายตัวไปกดบริเวณท่อไต (Ur eter) ทำาให้เกิดการอุดตันของระบบปัสสาวะทำาให้ไตมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือทำางานได้แย่ลง ในระยะนี้อาจจะพบว่า เซลล์ มะเร็งกระจายไปยังต่อมนำ้าเหลือง ภายในอุ้งเชิงกราน ระยะที ่ 4 ระยะที่ 4 คือการตรวจพบว่ามะเร็งกระจายไปยังกระเพาะปัสสาวะ ทวารหนัก หรือส่วนอื่นๆของร่างกาย ในระยะนี้จะแบ่ง ออกเป็นระยะ 4 เอ (4A) และ ระยะ 4 บี (4B) ซึ่งแบ่งจากตำาแหน่งที่มะเร็งกระจาย ระยะ 4A เป็นระยะที่มะเร็งกระจายไปยังกระเพาะปัสสาวะหรือทวารหนัก ระยะ 4B เป็นระยะที่มะเร็งกระจายออกจากอุ้งเชิงกราน ไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย เช่น ช่องท้อง ตับ ลำาไส้ หรือปอด หน้า 3 / 9
  • 4. เป็นต้น หน้า 4 / 9
  • 5. http://www.rtcog.or.th/html/articles_details.php?id=13 ความรู ้ เ กี ่ ย วกั บ มะเร็ ง ปากมดลู ก มะเร็งปากมดลูก บทนำา การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก การรักษามะเร็งปากมดลูก อาการของมะเร็งปากมดลูก การพยากรณ์โรค ระยะของมะเร็งปากมดลูก การป้องกันมะเร็งปากมดลูก หน้า 5 / 9
  • 6. รองศาสตราจารย์นายแพทย์จตุพล ศรีสมบูรณ์ อนุกรรมการมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย บทนำา โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการ เสียชีวิตของคนไทยเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ อุบัติเหตุ และ โรคหัวใจ สำาหรับมะเร็งในสตรี ไทย มะเร็งที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากที่สดคือมะเร็งปากมดลูก จากรายงานของสำานักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติพบว่า ใน ุ ปีพ.ศ. 2544 ประเทศไทยมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ 6,192 ราย เสียชีวิต 3,166 ราย หรือประมาณร้อยละ 50 ถ้าคิด คำานวณแล้วจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกวันละเกือบ 9 รายมะเร็งปากมดลูกพบมากทีสุดในภาคเหนือของประเทศไ ่ ทยเมือเปรียบเทียบกับ ภูมิภาคอื่น ๆมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และสามารถตรวจคัดกรองหาความ ผิดปกติ ่ ได้ตั้งแต่ระยะก่อนมะเร็ง ซึ่งการรักษาได้ผลดี สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก สาเหตุสำาคัญของมะเร็งปากมดลูกเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบันคือ การ ติดเชือไวรัสฮิวแมนแพปพิลโลมาหรือเชือเอชพีวีบริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะบริเวณปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงที่ทำาให้มี ้ ้ โอกาสติดเชือไวรัสเอชพีวีหรือเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ ง่ายขึ้น ได้แก่ การมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย หรือ ้ การตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย เป็นต้น ปัจจัยนอกจากนี้เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมหรือปัจจัยร่วมที่ทำาให้การติดเชือ เอชพีวีคืบหน้ารุนแร ้ งขึ้นจนเป็นมะเร็งปากมดลูก ปัจจัยร่วมเหล่านี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเป็นมะเร็งปากมดลูก หรือทำาให้เป็นมะเร็ง ปากมดลูกได้สูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับสตรีที่ไม่มีปจจัยเสี่ยง ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ ั 1. ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายหญิง - การมีคู่นอนหลายคน ความเสี่ยงสูงขึ้นตามจำานวนคู่นอนที่เพิ่มขึ้น - การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อยกว่า 17 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่มีการกลายรูปของเซลล์ ปากมดลูกมาก ช่วงนี้จะมีความไวต่อสารก่อมะเร็งสูงมากโดยเฉพาะเชื้อเอชพีวี - การตั้งครรภ์และการคลอดลูก จำานวนครั้งของการคลอดลูกมากกว่า 4 ครั้ง มีความเสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูกสูง ขึ้น 2 ? 3 เท่า - มีประวัตการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เริม ซิฟลิส และหนองใน เป็นต้น ิ ิ - การรับประทานยาคุมกำาเนิดเป็นเวลานาน ๆ ถ้านานกว่า 5 ปี และ 10 ปี จะมีความเสี่ยง สูงขึ้น 1.3 เท่า และ 2.5 เท่า ตามลำาดับ - ไม่เคยได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมาก่อน 2. ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายชาย เนื่องจากส่วนใหญ่ของการติดเชื้อเอชพีวีบริเวณอวัยวะเพศได้มาจากการมี เพศสัมพันธ์ จึง กล่าวได้ว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่เกี่ยวข้องกับการมีเพศสัมพันธ์ การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ชา ยที่มีเชื้อเอชพีวี (ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ชายจะไม่มีอาการหรือตรวจไม่พบเชือ) แม้เพียงครั้งเดียวก็มีโอกาสติดเชือเอชพีวี ้ ้ และเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายชายได้แก่ - สตรีที่มีสามีเป็นมะเร็งองคชาติ - สตรีที่แต่งงานกับชายที่เคยมีภรรยาเป็นมะเร็งปากมดลูก - ผู้ชายที่เคยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - ผู้ชายที่มีประสบการณ์ทางเพศตั้งแต่อายุน้อย - ผู้ชายที่มีคู่นอนหลายคน 3. ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่ส่งเสริมให้เป็นมะเร็งปากมดลูกได้ง่ายหรือเร็วขึ้นได้แก่ - การสูบบุหรี่ - ภาวะภูมิคุ้มกันตำ่า เช่น โรคเอดส์ และการได้รับยากดภูมิคุ้มกัน - สตรีที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมตำ่า หน้า 6 / 9
  • 7. อาการของมะเร็งปากมดลูก อาการของผู้ป่วยมะเร็งปาก มดลูกจะมากหรือน้อยขึ้นกับระยะของมะเร็ง ในระยะแรกอาจไม่มอาการผิดปกติและตรวจพบจาก ี การตรวจคัดกรองหรือการตรวจด้วย กล้องขยายร่วมกับการตัดเนื้อ ออกตรวจทางพยาธิวิทยา อาการที่อาจจะพบในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกได้แก่ 1. การตกเลือดทางช่องคลอด เป็นอาการที่พบได้มากที่สดประมาณร้อยละ 80 ? 90 ของผู้ป่วยที่มีอาการ ุ ลักษณะเลือดทีออกอาจจะเป็น ่ - เลือดออกกะปริบกะปรอยระหว่างรอบเดือน - เลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์ - มีนำ้าออกปนเลือด - ตกขาวปนเลือด - เลือดออกหลังวัยหมดประจำาเดือน 2. อาการในระยะหลังเมื่อมะเร็งลุกลามมากขึ้น ได้แก่ - ขาบวม - ปวดหลังรุนแรง ปวดก้นกบและต้นขา - ปัสสาวะเป็นเลือด - ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด ระยะของมะเร็งปากมดลูก แบ่งออกได้เป็น 2 ระยะใหญ่ ๆ คือ 1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม ระยะนี้เซลล์มะเร็งยังอยู่ภายในชั้นเยื่อบุผิว ปาก มดลูก ไม่ลุกลามเข้าไปในเนื้อปากมดลูก ผู้ป่วยจะไม่มอาการผิดปกติเลย แต่ตรวจพบได้จากการตรวจคัด ี กรองโดยการตรวจทางเซลล์วิทยาของปากมดลูกที่เรียก ว่า ?แพปสเมียร์? 2. ระยะลุกลาม แบ่งออกเป็น 4 ระยะย่อย คือ - ระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก - ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปที่เนือเยื่อข้างปากมดลูก และ / หรือผนังช่องคลอดส่วน ้ บน - ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปทีด้านข้างของเชิงกราน และ / หรือผนังช่องคลอดส่วนล่าง หรือกดท่อไตจนเกิดภา ่ วะไตบวมนำ้า - ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปทีกระเพาะปัสสาวะ ไส้ตรง หรืออวัยวะอื่น ๆ เช่น ปอด กระดูก และต่อมนำ้าเหลืองนอ ่ กเชิงกราน เป็นต้น หน้า 7 / 9
  • 8. การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก วิธีการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ 1. การตรวจภายใน พบก้อนมะเร็งปากมดลูกชัดเจน ต้องตรวจยืนยันโดยการตัดเนื้อออกตรวจทางพยาธิวิทยา 2. การตรวจทางเซลล์วิทยา หรือ ?แพปสเมียร์? ตรวจพบเซลล์มะเร็งซึ่งต้องสืบค้นต่อโดยการตรวจภายในและการตรวจด้วย กล้องขยาย เพือตรวจหาบริเวณที่ผิดปกติที่จะทำาการตัดเนือออกตรวจทางพยาธิวิทยา ่ ้ 3. การตรวจด้วยกล้องขยายหรือคอลโปสโคปร่วมกับการตัดเนื้อออกตรวจทางพยาธิวิทยา 4. การตรวจอื่น ๆ ทีอาจช่วยในการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ ่ - การขูดภายในปากมดลูก - การตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า - การตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวยด้วยมีด การรักษามะเร็งปากมดลูก วิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกขึ้นกับระยะของ มะเร็งปากมดลูก ความต้องการธำารงภาวะเจริญพันธุ์ และโรคทางนรีเวชที่เป็นร่วม ด้วย แบ่งวิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกตามระยะของมะเร็งได้ดังนี้ 1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม รักษาได้หลายวิธีได้แก่ - การตรวจติดตามอย่างใกล้ชิด โดยการตรวจภายใน การทำาแพปสเมียร์ และการตรวจด้วยกล้องขยาย ทุก 4 ? 6 เดือน รอยโร คขั้นตำ่าบางชนิดสามารถหายไปได้เองภายใน 1 ? 2 ปี ภายหลังการตัดเนื้อออกตรวจ - การตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า - การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น - การจี้ด้วยเลเซอร์ - การตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวยด้วยมีด รอย โรคในระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลามสามารถรักษาให้หายได้โดยไม่จำาเป็น ต้องตัดมดลูกออก เพราะมีผลการรักษา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ 2. ระยะลุกลาม การเลือกวิธีรักษาขึ้นกับโรคประจำาตัวของผู้ป่วย ระยะของมะเร็ง และความพร้อมของโรงพยาบาลหรือแพทย์ผู้ ดูแลรักษา - ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 บางราย รักษาโดยการตัดมดลูกออกแบบกว้างร่วมกับการเลาะต่อมนำ้าเหลืองเชิงกรานออก - ระยะที่ 2 ถึง ระยะที่ 4 รักษาโดยการฉายรังสีร่วมกับการให้ยาเคมีบำาบัด การพยากรณ์โรค การพยากรณ์โรค ผลการรักษามะเร็งปากมดลูกในปัจจุบันได้ผลดีมากกว่าในสมัยก่อน โดยเฉพาะในระยะก่อนมะเร็งและระยะลุกลามเริ่มแรก 1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม รักษาได้ผลดีเกือบร้อยละ 100 2. ระยะลุกลาม - ระยะที่ 1 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 80 ? 95 ั - ระยะที่ 2 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 60 ? 70 ั - ระยะที่ 3 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 40 ? 50 ั - ระยะที่ 4 มีอตราการอยู่รอด 5 ปี ร้อยละ 10 ? 20 ั หน้า 8 / 9
  • 9. การป้องกันมะเร็งปากมดลูก การป้องกันมะเร็งปากมดลูก แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. การป้องกันปฐมภูมิิ คือ การป้องกันโดยการหลีกเลี่ยงการได้รับสารก่อมะเร็ง การลดหรือขจัดสาเหตุหรือ ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับมะเร็งปากมดลูก หรือการทำาให้ร่างกายสามารถต่อต้านสาร ก่อมะเร็ง การป้องกันปฐมภูมิสำาหรับมะเร็งปากมดลูกได้แก่ - การหลีกเลี่ยงการมีคู่นอนหลายคน - การหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย - การคุมกำาเนิดโดยใช้ถุงยางอนามัย - การหลีกเลี่ยงการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะการติดเชือเอชพีวี้ - การงดสูบบุหรี่ - การฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชือเอชพีวี จะมีการนำามาใช้ในอนาคต ้ 2. การป้องกันทุติยภูมิิ คือ การค้นหามะเร็งในระยะแรกเริ่มซึ่งการรักษาได้ผลดีสำาหรับมะเร็งปากมดลูกแล้ว ส ามารถตรวจคัดกรองได้โดย 2.1 การทดสอบแพปหรือแพปสเมียร์ ซึ่งมี 2 วิธีคือ - แบบสามัญ มีความไวของการตรวจร้อยละ 50 ? 60 - แบบแผ่นบาง มีความไวของการตรวจร้อยละ 70 ? 85 2.2 การตรวจหาเชื้อเอชพีวี มีความไวสูงถึงร้อยละ 95 ? 100 ความก้าวหน้าทางการแพทย์ในปัจจุบันสามารถตร วจหาเชื้อชนิดก่อมะเร็งได้แล้ว แต่ยังมีค่าใช้จ่ายสูงอยู่ในประเทศไทย 3. การป้องกันตติยภูมิิ คือ การรักษาโรคมะเร็ง มีจดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ป่วยหายจากโรคมะเร็ง มีชีวิตรอดยาวน ุ าน และมีคุณภาพชีวิตทีดี ่ สรุป มะเร็ง ปากมดลูกเป็นมะเร็งทีพบมากที่สดของมะเร็งในสตรีไทย โดยมีผู้ป่วยรายใหม่ปีละประมาณ 6,000 ราย พ ่ ุ บมากในภาคเหนือของประเทศไทย สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการ ติดเชือเอชพีวีชนิดทีก่อให้เกิดมะเร็ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการมีเพศสัมพันธ์ มะเร็งปากมดลูกสามารถ ้ ่ ตรวจ พบได้ตั้งแต่ระยะก่อนมะเร็งโดยการทำาแพปสเมียร์ ซึ่งการรักษาได้ผลดีมาก อาการทีพบมากที่สดของผู้ป่ว ่ ุ ยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามคือ การตกเลือดทางช่องคลอด วิธีการรักษาขึ้นกับระยะของมะเร็งปากมดลูก ในระ ยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลามสามารถรักษาได้หลายวิธีโดยไม่จำาเป็นต้อง ตัดมดลูกออก ในระยะลุกลามสาม ารถรักษาด้วยการผ่าตัด การฉายรังสี และเคมีบำาบัด มะเร็งปากมดลูกสามารถป้องกันได้โดยการหลีกเลี่ยงปัจจัยเ สี่ยงต่าง ๆ และการตรวจคัดกรองอย่างสมำ่าเสมออย่างน้อยทุก ๆ 1 ปี หน้า 9 / 9