SlideShare a Scribd company logo
1 of 107
การเคลื่อนที่ของสัตว์
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
• อะมีบา
–ใช้การไหลของไซโทพลาสซึม เป็นเท้าเทียม
(Pseudopodium)
–เกิดจาก Cytoskeleton ชนิด microfilament
ประกอบด้วยโปรตีน actin-myosin
•ไมโครฟิลาเมนต์ : โปรตีนแอกทิน 2 สายปิดเกลียวพลันกัน
การเคลื่อนที่ของเซลล์แบบอะมีบา เซลล์กล้ามเนื้อ
•ไมโครทิวบูล : โปรตีนทูบูลิน เรียงต่อดันเป็นสายวนเกลียวจนมีลักษณะเป็น
หลอดกลวง พบใน เซนทริโอล เส้นใยสปินเดิลไฟเบอร์ ซีเลีย แฟกเจลลัม
•อินเตอร์มีเดียตฟิลาเมนท์ : ประกอบด้วยมัดของสายโปรตีนย่อยๆ 4 สาย
จานวน 8 ชุด มาบิดเป็นเกลียว
ไซโทสเกเลตอน Cytoskeleton
Microtubules
Microfilaments
(Actin Filaments)
Intermediate
Filaments
Cytoskeleton ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีน 3 ชนิดได้แก่
พารามีเซียม
•ใช้ซิเลีย
•เกิดจาก Cytoskeleton ชนิด
Microtubule ประกอบด้วย
โปรตีนทิวบูลิน
Ultrastructure of a eukaryotic
flagellum or cilium
โครงสร้างซิเลีย
ประกอบด้วยMicrotubule
จัดเรียงเป็น 9 + 2
ที่โคน เรียกว่า เบซัล บอดี จัด
โครงสร้างเป็น 9 + 0
แมงกะพรุน
•ใช้แรงดันน้า
•เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณขอบร่มหด
ตัวพ่นน้าออกมา
•ทิศการเคลื่อนที่ตรงข้ามกับทิศทางน้า
•เคลื่อนที่โดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อ
•เคลื่อนที่ส่ายไปมา
•ใช้กล้ามเนื้อแบบวง ตามยาว และทแยง
•ใช้กล้ามเนื้อตามยาว-กล้ามเนื้อวง และเดือย
•เคลื่อนที่โดยใช้แรงดันน้า ออกมาทางท่อไซฟอน
•ทิศทางการเคลื่อนที่ตรงข้ามกับทิศทางน้า
•ใช้ระบบท่อน้า
•น้าเข้าทางมาดรีโพไรต์ (Madreporite) เข้าระบบท่อน้า
 ทิวบ์ ฟีท (Tube feet)
การขยับปีกของนก : การทางานแบบ antagonism ของกล้ามเนื้อยกปีก
และกล้ามเนื้อกดปีก
ปีกยกขึ้น : กล้ามเนื้อยกปีก หดตัว กล้ามเนื้อกดปีก คลายตัว
ปีกหุบลง : กล้ามเนื้อยกปีก คลายตัว กล้ามเนื้อกดปีก หดตัว
1.โครงสร้างหลักที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของนก :
กล้ามเนื้อยกปีก กล้ามเนื้อกดปีก
2. ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องในการเคลื่อนที่ของนก :
ขน : ทาให้เกิดแรงต้านกับอากาศช่วยพยุงตัวให้ลอยขึ้นและเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
กระดูก : มีน้าหนักเบาเนื่องจากมีถุงลมแทรกอยู่มาก
ถุงลม : มีถุงลมในปอดขนาดใหญ่และจานวนมากเพื่อใช้เก็บอากาศ
รูปร่างของปีก : ปีกด้านบนจะโค้งขึ้นทาให้อากาศที่ไหลผ่านด้านบนมีความเร็วมากกว่าด้านใต้ปีก
จึงทาให้เกิดแรงยกตัวในขณะที่บิน
โครงสร้างหลักที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของปลา :
กล้ามเนื้อที่ยึดติดตามแนวกระดูกสันหลังด้านนอก
กล้ามเนื้อที่ยึดติดตามแนวกระดูกสันหลังด้านใน
2. ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องในการเคลื่อนที่ของปลา :
ครีบ : อก , ตะโพก , หลัง ,ท้อง และ หาง
รูปร่างเพรียวบาง : ลดแรงเสียดทาน
เมือก : ลดแรงเสียดทาน
เกล็ด : ลดแรงเสียดทาน
ถุงลม : ช่วยการลอยตัว
แรงยกตัวหรือแรงลอยตัวของน้า : ช่วยพยุงตัวปลา
การเคลื่อนที่ไปด้านหน้าครีบหาง ครีบหลัง
การเคลื่อนที่ขึ้นลงครีบอก ครีบหลัง ครีบสะโพก
โครงสร้างหลักในการเคลื่อนที่ของชีต้า :
กล้ามเนื้อขามัดต่างๆ
ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง :
หัวเล็ก : ลดแรงเสียดทานของอากาศ
ขายาว : ก้าวเท้าวิ่งได้ระยะมาก
รูปร่างเพรียว : ลดแรงเสียดทานอากาศ
หางยาวใหญ่ : ช่วยในการทรงตัวขณะวิ่ง
กระดูกสันหลังโค้งงอได้มาก : ทาให้ก้าวเท้า
ได้ยาวมากขึ้น
การทางานแบบตรงข้าม (Antagonism)
• กล้ามเนื้อ 2 ชุด ทางานพร้อมกัน แบบตรงข้ามกัน
กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์-เอ็กเทนเซอร์
• กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์(Flexor) กล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วอวัยวะงอ
เข้า
• กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์(Extensor) กล้ามเนื้อที่หดตัวแล้ว
อวัยวะเหยียดออก
flexor
extensor
การเคลื่อนที่ของคน
• ระบบกระดูก กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ
หน้าที่ของกระดูก
• เป็นโครงร่างของร่างกาย
• ทาหน้าที่ในการเคลื่อนไหว เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ
• ป้องกันอวัยวะภายใน
• สร้างเม็ดเลือดแดงที่ส่วนไขกระดูกสีแดง(Red bone
marrow)
• สะสมแคลเซียม ฟอสเฟต
โครงสร้างของกระดูก
• กระดูกอ่อน ด้านนอก ป้องกันการเสียดสี
• กระดูกมีรูพรุน มีไขกระดูกสีแดง ผลิตเม็ดเลือดแดง
• กระดูกแน่นทึบ ด้านในเป็นโพรงมีหลอดเลือดมาเลี้ยง มีไขกระดูกสี
เหลืองมาจากไขกระดูกสีแดงที่มีไขมันมาเกาะ
กระดูกของคน
• กระดูกแกนกลาง 80 ชิ้น
– กะโหลกศีรษะ 29 ชิ้น
– กระดูกสันหลัง 26 ชิ้น
– กระดูกซี่โครง 24 ชิ้น
– กระดูกอก 1 ชิ้น
• กระดูกรยางค์ 126 ชิ้น
– กระดูกแขน 60 ชิ้น
– กระดูกขา 60 ชิ้น
– กระดูกสะบัก 2 ชิ้น
– กระดูกไหปลาร้า 2 ชิ้น
– กระดูกเชิงกราน 2 ชิ้น
รวมทั้งหมด 206 ชิ้น
1. Long bone – รองรับน้ำหนักของร่ำงกำยและ
เคลื่อนไหวได้มำก เช่นกระดูกต้นแขน ต้นขำ น่อง
2. Short bone – ให้ควำมแข็งแรงเมื่อทำงำนแต่
เคลื่อนไหวได้ไม่มำก เช่น กระดูกข้อมือ ข้อเท้ำ
3. Flat bone – ป
้ องกันอวัยวะภำยใน จึงมักไม่
เคลื่อนที่ กระดูกกระโหลก เชิงกรำน สะบัก ซี่โครง
4. Irregular bone – มักมีรูปร่ำงเป็ นเหลี่ยม มีแง่
มีช่องไปมำมำกมำยให้เหมำะกับส่วนต่ำง ๆ เช่น สันหลัง
แก้ม ขำกรรไกร
• กระดูกสันหลังแต่ละข้อเชื่อมด้วยกล้ามเนื้อ เอ็น มีหมอนรองกระดูก
อยู่ระหว่างแต่ละข้อ ป้องกันการเสียดสี
• กระดูกซี่โครงจะเชื่อมกับกระดูกอกและกระดูกสันหลังตอนอก
• กระดูกซี่โครงคู่ที่11 และ 12 ไม่เชื่อมติดกัน กระดูกซี่โครงลอย
ข้อต่อ (Joint)
• ตาแหน่งที่กระดูก 2 ชิ้น ต่อกัน
ข้อต่อบานพับ
ข้อศอก ปลายนิ้ว
ข้อต่อลูกกลมในเบ้ากระดูก
หัวไหล่ หัวเข่า
ข้อต่อ (Joint)
• ตาแหน่งที่กระดูก 2 ชิ้น ต่อกัน
ข้อต่อเดือย
ต้นคอ
ข้อต่ออานม้า
โคนนิ้ว
ข้อต่อ (Joint)
• ตาแหน่งที่กระดูก 2 ชิ้น ต่อกัน
ข้อต่อสไลด์
ข้อมือ ข้อเท้า
ข้อต่อเคลื่อนไหวเล็กน้อย
กระดูกซี่โครง กระดูกสันหลัง
ข้อต่อ (Joint)
• ตาแหน่งที่กระดูก 2 ชิ้น ต่อกัน
ข้อต่อเคลื่อนไหวไม่ได้
กะโหลกศีรษะ
เอ็น
• เอ็นยึดกระดูก (Tendon) เอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อกับกระดูก
• เอ็นยึดข้อ (Ligament) เอ็นที่ยึดกระดูกเชื่อมกับกระดูก
• น้าไขข้อ อยู่บริเวณข้อต่อ ช่วยให้กระดูกไม่เสียดสีกัน
ระบบกล้ามเนื้อ (Muscle)
• กล้ามเนื้อยึดกระดูก
• กล้ามเนื้อหัวใจ
• กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อยึดกระดูก
• กล้ามเนื้อเกาะติดกับกระดูก
• ทรงกระบอก มีแถบลาย
• มีหลายนิวเคลียส
• ควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก ในอานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ
• อยู่ที่หัวใจ
• ทรงกระบอกสั้น มีแถบลาย ปลายแตกแขนงเชื่องโยงกัน
• มีหลายนิวเคลียส
• ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนวัติ นอกอานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อเรียบ
• กล้ามเนื้อที่อวัยวะภายใน
• รูปร่างยาว หัวท้ายแหลม ไม่มีลาย
• มี 1 นิวเคลียส/เซลล์
• ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนวัติ นอกอานาจจิตใจ
Skeletal Muscle Anatomy
Muscle Fiber Structure
• Actin – "thin fibers"
• Tropomysin
• Troponin
• Myosin – "thick fibers"
• Tinin – elastic anchor
• Nebulin – non-elastic
Myofibrils: Site of Contraction
Myofibrils: Site of Contraction
• Z disks
• I band
• A band
• H Zone
• M line
• Titin
• Nebulin
Sarcomere: Organization of Fibers
Sarcomere: Organization of Fibers
85% Myosin ; เคลื่อนที่ในกำรหดตัว
15% ; paramyosin เป็ นแกนกลำงของเส้นหนำ
M-protein เชื่อมเส้นหนำให้อยู่ด้วยกัน
Myosin light chains โปรตีนควบคุม
1 Thopomyosin : 7 molecule Actins
flexor
extensor
• 25 % water
• 25 % protein fibers
• 50 % mineral salts
Cells involved in bone
development and maintenace
Type of Cell Function
Osteoblasts
Osteocytes
Osteoclasts
Young bone-forming cells that
cause the hard extracellar
matrix of bone to develop
Mature bone cells that
maintain the structure of bone
Bone-dissolving cells
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton
Skeleton

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Podjaman Jongkaijak
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
ประกายทิพย์ แซ่กี่
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
Wan Ngamwongwan
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
tarcharee1980
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
Aom S
 

What's hot (17)

การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
B08
B08B08
B08
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to Skeleton

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
supreechafkk
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
Pandora Fern
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
Tatthep Deesukon
 

Similar to Skeleton (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
Body
BodyBody
Body
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Cartilage
CartilageCartilage
Cartilage
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
B04[1]
B04[1]B04[1]
B04[1]
 
B04[1]
B04[1]B04[1]
B04[1]
 

Skeleton