SlideShare a Scribd company logo
ระบบฐานข้อมูล 
(DATABASE SYSTEMS) 
Database Fundamentals 
อ. เบญจภัค จงหมื่นไวย์ 
โปรแกรมวิชา วิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชส1ีมา
วัตถุประสงค์ 
1. บอกถึงวิวัฒนาการรูปแบบและลักษณะที่สา คัญของข้อมูล 
2. จาแนกชนิดของข้อมูลได้ 
3. อธิบายโครงสร้างการจัดเก็บของแฟ้มข้อมูลได้ 
4. อธิบายลักษณะสา คัญของแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูลได้ 
5. ทราบถึงความสา คัญของการจัดการฐานข้อมูลและบอกข้อดี/ข้อเสียได้ 
2
หัวข้อการนาเสนอ 
1.การจัดการข้อมูล 
2.โครงสร้างแฟ้มข้อมูลและชนิดข้อมูล 
3.ประเภทของแฟ้มข้อมูลและระบบแฟ้มข้อมูล 
4. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
Database 
Systems 
5.ระบบฐานข้อมูล 
6.ระบบการจัดการฐานข้อมูล 
3
บทนา 
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับสงิ่ต่าง ๆ ทัว่ไป ที่เกิดขึ้นใน 
ชีวิตประจา วัน 
4 
ข้อมูลคือทรัพยากรที่สา คัญขององค์กร 
และ 
องค์กรต้องใช้ข้อมูลร่วมกันและทุกฝ่าย 
ดังนั้น 
ข้อมูลจา เป็นต้องถูกจัดการ และสามารถแบ่งปันข้อมูลร่วมกันได้
1. การจัดการข้อมูล (Data Management) 
5
2. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Structure) 
6 
 “แฟ้มข้อมูล” (file) หมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ใน 
สื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธ รรมดาหรือ 
จานแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นาไปเก็บนั้นจะถูกนาไปเก็บไว้ 
เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นโปรแกรม ข้อมูล หรือภาพ (graphics) กไ็ด้ 
แ ต่ล ะ เ รื่อ ง ต่า ง ก็ต้อ ง มีชื่อ เ ป็น ข อ ง ต น เ อ ง ที่ต้อ ง ไ ม่ซ้า กัน 
(ทักษิณา สวนานนท์ 2544, หน้า 249)
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
7 
 “ โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ” (data structure) หมายถึง รูปแบบของ 
การจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ (ทักษิณา สวนานนท์, 
2544, หน้า 161) ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่ลาดับจากหน่วยที่ 
เล็กที่สุดไปยังหน่วยที่ใหญ่ขึ้นตามลา ดับต่อไปนี้
File Structure 
[Name] [Number] [Period] [Cost per Minute] 
John 0815400516 10 3 
Jim 0815611133 30 1 
Nan 0815966645 25 3 
Marry 0815985111 45 1 
Read File: Charge = Period * Cost per Minute 
= Field[3] * Field[4] 
What happens if data are changed? 
What happens if you share data? 
8 
ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
Record 
Field
9 
ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
ภาพที่ 1.1 แสดงตัวอย่างเขตข้อมูล ระเบียน และแฟ้มข้อมูลนักศึกษา
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
10 
1. บิต (Bit : Binary Digit) คือ หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุดที่เก็บอยู่ใน 
หน่วยความจา ภายในคอมพิวเตอร์ ซึ่ง Bit จะแทนด้วยตัวเลขหนึ่งตัว คือ 0 
หรือ 1 อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกตัวเลข 0 หรือ 1 ว่าเป็น บิต 1 บิต 
2. ไบท์ (Byte) คือ หน่วยของข้อมูลที่นาบิทหลายๆ บิทมารวมกัน แทน 
ตัวอักษรแต่ละตัว เช่น A, B, …, Z, 0, 1, 2, … ,9 และสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ 
เช่น $, &, +, -, *, / ฯลฯ โดยตัวอักษร 1 ตัวจะแทนด้วยบิท 7 บิท หรือ 8 บิท 
ซึ่งตัวอักษรแต่ละตัวจะเรียกว่า ไบท์ เช่น ตัว A เมื่อเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จะ 
เก็บเป็น 1000001 ส่วนตัว B จะเก็บเป็น 1000010 เป็นต้น
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
3. เขตข้อมูล (Field) คือ หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาตัวอักขระหลาย ๆ 
ตัวมารวมกัน เป็นคา ที่มีความหมาย เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา นามสกุล 
ที่อยู่ คณะ และสาขาวิชา เป็นต้น (ภาพที่ 1.1) 
4. ระเบียน (Record) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนาเขตข้อมูลหลาย ๆ 
เขตข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน หรือค่าของข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูล 
เช่น ระเบียนนักศึกษาคนที่ 1 ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัส 
นักศึกษา 4800111, ชื่อ : สาธิต, นามสกุล : กิตติพงศ์, โปรแกรมวิชา : 
บรรณารักษศาสตร์, คณะ : มนุษยศาสตร์ เป็นต้น (ภาพที่ 1.1) 
11
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
12 
5. ไฟล์ (File) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนาระเบียนหลาย ๆ ระเบียนที่มี 
ความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา (ภาพที่1.1) 
ซึ่งประกอบไปด้วย ระเบียนจา นวน 5 ระเบียน หรือ 5 แถว ซึ่งก็คือ 
รายละเอียดของนักศึกษาจานวน 5 คน
13 
โครงสร้างแฟ้มข้อมูลตามลา ดับความสัมพันธ์
2. ชนิดของข้อมูล (Type of Data) 
14 
 ชนิดของข้อมูล มีหลายรูปแบบดังนี้ คือ 
 ข้อความ (Text) เป็นข้อมูลที่เป็นอักขระในแบบข้อความ โดยไม่มี 
รูปแบบที่แน่นอน ความหมายจะอยู่ในข้อความ เช่น ชื่อพนักงาน 
 ข้อมูลที่ถูกกา หนดเป็นรูปแบบ (Formatted Data) เป็นข้อมูลที่เป็น 
อักขระในแบบข้อความ โดยมีรูปแบบที่แน่นอน ซึ่งปกติจะถูกกา หนดให้ 
อยู่ในรูปแบบของรหัส เช่น รหัสสาขา CS ใช้แทนสาขาวิทยาการคอมฯ 
 ข้อมูลแบบรูปภาพ (Images) เป็นข้อมูลที่เป็นภาพหรือเป็นกราฟ 
 ข้อมูลแบบเสียง (Audio/Sound) เป็นไฟล์ข้อมูลชนิดหนึ่งที่ใช้จัดเก็บ 
เสียงแบบดิจิตอล เช่น การแปลงเสียงพูดของมนุษย์
15 
3. ประเภทของแฟ้มข้อมูล 
(Types of Conventional Files) 
 แบ่งออกเป็น 6 ชนิดด้วยกัน ดังต่อไปนี้ 
 แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) 
 แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) 
 แฟ้มเอกสาร (Document File) 
 แฟ้มประวัติ (Archival File) 
 แฟ้มตารางอ้างอิง (Table Look-up File) 
 แฟ้มเพื่อการตรวจสอบ (Audit File)
16 
ประเภทของแฟ้มข้อมูล 
 แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้สา หรับจัดเก็บ 
ข้อมูลที่ค่อนข้างคงที่ เช่น แฟ้มข้อมูลสมาชิก เป็นต้น มี3 รูปแบบ คือ 
 การเพมิ่ (Add) 
 การลบ (Delete) 
 การแก้ไขปรับปรุง (Modify)
17 
ประเภทของแฟ้มข้อมูล 
 แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้ 
จัดเก็บรายการข้อมูลประจา วันที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ เช่น 
แฟ้มข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา เป็นต้น 
 แฟ้มเอกสาร (Document File) หรือไฟล์รายงาน (Report File) 
เคยผ่านการประมวลผลมาแล้วครัง้หนึ่งด้วยโปรแกรม เช่น 
การสัง่ประมวลผลโปรแกรม 
 แฟ้มประวัติ (Archival File) เช่น การเคลื่อนย้ายข้อมูลแฟ้มประวัติ 
ลูกค้าเก่าจากฮาร์ดดิสก์แล้วนาไปบันทึกลงเทป เป็นต้น
18 
ประเภทของแฟ้มข้อมูล 
 แฟ้มตารางอ้างอิง (Table Look-up File) เป็นไฟล์หรือตารางที่ใช้เพื่อ 
การอ้างอิงข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บลงในแฟ้มตารางค่อนข้างที่คงที่หรือมัก 
ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เช่น ตารางภาษี เป็นต้น 
 แฟ้มเพื่อการตรวจสอบ (Audit File) เป็นไฟล์พิเศษชนิดหนึ่งที่ใช้เก็บ 
ประวัติการบันทึกเรคอร์ดต่าง ๆ ที่ถูกอัพเดตลงในไฟล์ต่าง ๆ หรือ 
เรียกว่า Log File
19 
3. ระบบแฟ้มข้อมูล (Files-Based System) 
Personnel Department 
Employees 
Database 
Production 
Database 
Personal 
Database 
Accounting 
Database 
Financial 
Database 
Accounting Department 
Accounts 
Database 
Sales Department
20 
ระบบฐานข้อมูล (Database System) 
File system 
Employees 
Database 
Database 
Inventory 
Database 
Database system 
Personal 
Department 
Inventory 
Department 
Sales 
Department 
Ssleman 
Database 
Customer 
Database 
DBMS 
Personal 
Department 
Inventory 
Department 
Sales Department 
Employ 
ee 
Invent 
ory 
Salesm 
an 
Custo 
mer
4. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (Files Organizations) 
21 
 วัตถุประสงค์ของการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล คือ 
 เพื่อดึงข้อมูลให้มีความรวดเร็วขึ้น 
 เพื่อการประมวลผลข้อมูลที่ดี 
 เพื่อใช้งานอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
 ป้องกันความเสียหายหรือความสูญเสียของข้อมูล 
 เพื่อรองรับอัตราการเติบโตของข้อมูลที่เพมิ่ขึ้น 
 เพื่อความปลอดภัยจากผู้ใช้งานที่ไม่มีสิทธิใ์นการใช้งานข้อมูล
22 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ประกอบด้วยรูปแบบ ดังนี้ 
 โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับ (Sequential File Organizations) 
 โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง (Directed File Organizations) 
 โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับดัชนี 
(Indexed Sequential File Organizations)
23 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับ (Sequential File Organizations) 
Start of file 
Arunee 
Bangkok 
Dumrong 
Hansa 
… 
Manop 
Somying 
… 
Scan
 โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง (Directed File Organizations) 
24 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
Key 
(Hansa) 
Manop 
Bangkog 
Dumrong 
Hansa 
… 
Arunee 
Somying 
… 
Hashing 
algorithm 
Relative 
Record 
number
25 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับดัชนี (Indexed Sequential 
File Organizations)
26 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 ข้อจา กัดของวิธีแฟ้มข้อมูล มีรายละเอียด ดังนี้ 
 ข้อมูลมีการเก็บแยกจากกัน (Separation and Isolation of Data) 
 ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data) 
 ข้อมูลมีความขึ้นต่อกัน (Data Dependence) 
 มีรูปแบบที่ไม่ตรงกัน (Incompatible File Formats) 
 รายงานต่าง ๆ ถูกกาหนดไว้อย่างจากัด (Fixed Queries)
27 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 ข้อมูลมีการเก็บแยกจากกัน (Separation and Isolation of Data) 
แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) 
empNo name Address birthDate salary depart phone 
EMP001 นายพิชัย รัตนะ 
10/201 ถ.วิภาวดีรังสิต 
หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 1/5/2510 25000 แผนกขาย 02-9791112 
EMP002 นายสมยศ สุขศรี 
403 ถ.เลียบคลอง หลัก 
สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 
EMP003 น.ส.นงนุช อินทรา 
105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง 
เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 
แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) 
saleNo name phone pagingNo level 
EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 1 
EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 3
28 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data) 
แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) 
empNo name Address birthDate salary depart phone 
EMP001 นายพิชัย รัตนะ 
10/201 ถ.วิภาวดีรังสิต 
หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 1/5/2510 25000 แผนกขาย 02-9791112 
EMP002 นายสมยศ สุขศรี 
403 ถ.เลียบคลอง หลัก 
สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 
EMP003 น.ส.นงนุช อินทรา 
105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง 
เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 
Insertion Anomalies 
แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) 
saleNo name phone pagingNo level 
EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 4 
EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 2 
EMP009 นายองอาจ สุขเกษม 081-5412000 152-2500581 1
29 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data) 
แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) 
empNo name Address birthDate salary depart phone 
EMP002 นายสมยศ สุขศรี 
403 ถ.เลียบคลอง หลัก 
สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 
EMP003 น.ส.นงนุช อินทรา 
105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง 
เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 
Deletion Anomalies 
แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) 
saleNo name phone pagingNo level 
EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 4 
EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 2 
EMP009 นายองอาจ สุขเกษม 081-5412000 152-2500581 1
30 
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล 
 ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data) 
แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) 
empNo name Address birthDate salary depart phone 
EMP002 นายสมยศ สุขศรี 
403 ถ.เลียบคลอง หลัก 
สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 
EMP003 น.ส.ระวิวรรณ อินทรา 
105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง 
เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 
Modification Anomalies 
แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) 
saleNo name phone pagingNo level 
EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 4 
EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 2 
EMP009 นายองอาจ สุขเกษม 081-5412000 152-2500581 1
5. ระบบฐานข้อมูล (Database Systems) 
กล่าวคือ ฐานข้อมูลคือศูนย์รวมของข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน 
โดยจะมีกระบวนการจัดหมวดหมู่ข้อมูลอย่างมีระเบียบแบบแผน ก่อให้เกิด 
ฐานข้อมูลที่เป็นแหล่งรวมของข้อมูลจากแผนกต่าง ๆ ซึ่งถูกจัดเก็บไว้ 
อย่างมีระบบภายในฐานข้อมูลชุดเดียว โดยผู้ใช้งานแต่ละแผนกสามารถ 
เข้าถึงข้อมูลส่วนกลางนี้ เพื่อนาไปประมวลผลร่วมกันได้ 
31
ระบบฐานข้อมูล 
32 
Personnel Department 
Sales Department 
Accounting Department 
DBMS 
Database 
Employees 
Customers 
Sales 
Inventory 
Accounts 
DBMS manages 
data resources Database containing 
Centralized shared data
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล 
 ความจา เป็นที่ทา ให้เกิดการใช้งานโดยระบบฐานข้อมูล 
 ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล 
 ความสา คัญของระบบฐานข้อมูล 
 ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล 
33
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล 
 ความจา เป็นที่ทา ให้เกิดการใช้งานโดยระบบฐานข้อมูล 
 การประมวลผลกับระบบแฟ้มข้อมูลยุ่งยาก 
 แฟ้มข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระของข้อมูล 
 แฟ้มข้อมูลมีความซับซ้อนมาก 
 แฟ้มข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลน้อย 
 แฟ้มข้อมูลมีความปลอดภัยน้อย 
 ไม่มีการควบคุมจากศูนย์กลาง 
34
 ข้อมูล สารสนเทศ ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล 
 ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง วัตถุ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 
 สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว 
และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามแต่ละบุคคลที่ต้องการได้ 
 ฐานข้อมูล หมายถึง กล่มุของข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้ 
โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 
35 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 ระบบการจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่ดังนี้ คือ 
 ดูแลการใช้งานให้กับผู้ใช้งาน 
 ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้อมูล 
 ควบคุมการใช้ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้งานพร้อมกันหลายคน 
 หน้าที่ของผู้บริหารฐานข้อมูล 
 กาหนดโครงสร้างหรือรูปแบบของฐานข้อมูล 
 กาหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เก็บข้อมูลและวิธีการเข้าถึงข้อมูล 
 กาหนดขอบเขตการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ 
36 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 ความสา คัญของระบบฐานข้อมูล 
 ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้า ซ้อน 
 รักษาความถูกต้องของข้อมูล 
 การป้องกันและการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูล ทา ได้สะดวก 
 สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 
 มีความเป็นอิสระของข้อมูล 
 สามารถขยายงานได้ง่าย 
 ทา ให้ข้อมูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้อย่างรวดเร็วและมีมาตรฐาน 
37 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมลู 
 ลดความซ้า ซ้อนของข้อมูล 
 รักษาความถูกต้องของข้อมูล 
 มีความเป็นอิสระของข้อมูล 
 มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง 
 ใช้ข้อมูลร่วมกันโดยมีการควบคุมจากศูนย์กลาง 
38 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
6. ระบบจัดการฐานข้อมูล 
(Database Management Systems) : DBMS 
39 
กล่าวคือ DBMS คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือของผู้ใช้เพื่อโต้ตอบกับ 
ฐานข้อมูล ซึ่งจะประกอบไปด้วยฟัง 
ก์ชันหน้าที่ต่าง ๆ ในการจัดการกับ 
ข้อมูล รวมทั้งภาษาที่ใช้ทางานกับข้อมูล โดยมักใช้ภาษา SQL 
ในการโต้ตอบระหว่างกันกับผู้ใช้
ระบบจัดการฐานข้อมูล 
40 
Application 
Request 
DBMS 
Metadata 
Employees 
Customers 
Sales 
Inventory 
Accounts 
End User #1 
End User #2 
Database Structure 
End User 
Data 
Application Data 
Request 
Data
MySQL 
- A multithreaded, multi-user, SQL DBMS 
Microsoft SQL Server 
- Relational DBMS produced by Microsoft 
Oracle 
- Object-relational DBMS 
Sybase 
- Sybase Corporation's primary relational DBMS product 
 DB2 
- IBM's family of information management software products 
Microsoft Access 
- A relational DBMS from Microsoft, packaged with Microsoft Office 50-51 Professional 
41 
ระบบจัดการฐานข้อมูล
 ภาษาที่ใช้ในระบบของฐานข้อมูล 
 ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) เป็นภาษาที่ใช้ใน 
การกาหนด Schema 
 ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) เป็นภาษาที่ใช้ 
ในการจัดการข้อมูลภายในระบบฐานข้อมูล 
 ภาษาที่ใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL) 
เป็นภาษาที่ใช้ในการควบคุมความถูกต้องและความปลอดภัยของข้อมูล 
42 
ระบบจัดการฐานข้อมูล
 ส่วนประกอบด้านสภาพแวดล้อมของระบบจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วย 
5 ส่วน ด้วยกัน ดังนี้ 
 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 
 ซอฟต์แวร์ (Software) 
 ข้อมูล (Data) 
 โพรซีเยอร์(Procedure) 
 ผู้ใช้งาน (Users) 
43 
ระบบจัดการฐานข้อมูล
44 
บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในระบบฐานข้อมูล 
 สามารถแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานเหล่านี้ออกเป็น 4 ตาแหน่งหลัก ๆ ด้วยกัน คือ 
 ผู้บริหารข้อมูลและผู้บริหารฐานข้อมูล (Data and Database Administrators) 
 นักออกแบบฐานข้อมูล (Database Designers) 
 ระดับตรรกะ (Logical Database Designer) 
 ระดับกายภาพ (Physical Database Designer) 
 นักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์(System Analysis and Programmers) 
 ผู้ใช้ปลายทาง (End-Users) 
 ผู้ใช้ทัว่ไป (Naive Users) 
 ผู้ใช้สมัยใหม่(Sophisticated Users)
45 
การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูล 
 โดยสามารถแบ่งประเภทการประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลเป็น 5 ประเภท คือ 
 ฐานข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Databases) 
 ฐานข้อมูลระดับเวิร์กกรปุ๊ (Workgroup Databases) 
 ฐานข้อมูลระดับแผนก (Department Databases) 
 ฐานข้อมูลระดับเอ็นเตอร์ไพรส์(Enterprise Databases) 
 ฐานข้อมูลอินเทอร์เน็ต (Internet Databases)
46 
ข้อดีของวิธีฐานข้อมูล 
 1. ความอิสระของโปรแกรมและข้อมูล 
 2. ลดความซ้า ซ้อนในข้อมูล 
 3. ข้อมูลมีความสอดคล้องตรงกัน 
 4. การใช้ข้อมูลร่วมกัน 
 5. เพมิ่คุณประโยชน์สา หรับการพัฒนาแอปพลิเคชัน่ 
 6. ความเป็นมาตรฐานเดียวกัน 
 7. ข้อมูลมีคุณภาพขึ้น 
 8. การเข้าถึงและผลการตอบรับข้อมูลเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น 
 9. ช่วยลดเวลาการบา รุงรักษาโปรแกรม
47 
ข้อเสียของวิธีฐานข้อมูล 
 1. ความซับซ้อนที่เพมิ่ขึ้น 
 2. มีขนาดความจุที่เพมิ่มากขึ้น 
 3. ต้นทุนของ DBMS มีราคาสูง 
 4. ต้นทุนด้านอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เพมิ่ขึ้น 
 5. ต้นทุนเกี่ยวกับการแปลงข้อมูล 
 6. สมรรถนะการทางาน 
 7. ผลกระทบต่อความเสียหายสูง
48 
คาถามท้ายบทที่ 1 
1. จงบอกเหตุผลว่า เหตุใดในยุคปัจ 
จุบันฐานข้อมูลจึงมีความสา คัญต่อองค์กรธุรกิจทัว่ไป 
2. อยากทราบว่าในชีวิตประจา วันของนักศึกษามีกิจกรรมใดที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูลบ้าง 
จงยกตัวอย่างมา 2 ตัวอย่าง พร้อมคาอธิบาย 
3. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการจัดการข้อมูลด้วยวิธีแฟ้มข้อมูลกับวิธีฐานข้อมูล 
4. DBMS คืออะไร มีส่วนสา คัญอย่างไรในระบบฐานข้อมูล 
5. จงสรุปข้อดีและข้อเสียของวิธีฐานข้อมูลมาให้พอเข้าใจ
49 
ข้อซักถาม ? 
Q&A

More Related Content

What's hot

แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
พัน พัน
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
chanon leedee
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
Khunakon Thanatee
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
Thanawut Rattanadon
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล Wiparat Khangate
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ดอกหญ้า ธรรมดา
 

What's hot (20)

แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 

Viewers also liked

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลKhanpetz'Kao Boreds
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
Rungnapa Rungnapa
 
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมนการเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมนNaruedee Chotsri
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
Worapod Khomkham
 
Ch10
Ch10Ch10
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงTanomsak Toyoung
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
Rungnapa Rungnapa
 
Ch9
Ch9Ch9
Normalisation and anomalies
Normalisation and anomaliesNormalisation and anomalies
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
Rungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Rungnapa Rungnapa
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sruphochai
 
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์Arrat Krupeach
 
Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์
Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์
Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์Jane Jitpakan
 
Peer visit with SECI Model
Peer visit with SECI ModelPeer visit with SECI Model
Peer visit with SECI Model
burin rujjanapan
 

Viewers also liked (20)

Slide3
Slide3Slide3
Slide3
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมนการเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึง
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Normalisation and anomalies
Normalisation and anomaliesNormalisation and anomalies
Normalisation and anomalies
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sru
 
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
 
Ch20
Ch20Ch20
Ch20
 
Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์
Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์
Mac os x power point ฉบับสมบูรณ์
 
Peer visit with SECI Model
Peer visit with SECI ModelPeer visit with SECI Model
Peer visit with SECI Model
 

Similar to บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล

Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
พัน พัน
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
บรรลุ ช่อชู
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
Db1
Db1Db1
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพรBen Benben
 

Similar to บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล (20)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
 

More from Rungnapa Rungnapa

Ch8
Ch8Ch8
Ch7
Ch7Ch7
Ch5
Ch5Ch5
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชนบทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 

More from Rungnapa Rungnapa (20)

Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch7
Ch7Ch7
Ch7
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชนบทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 

บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล

  • 1. ระบบฐานข้อมูล (DATABASE SYSTEMS) Database Fundamentals อ. เบญจภัค จงหมื่นไวย์ โปรแกรมวิชา วิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชส1ีมา
  • 2. วัตถุประสงค์ 1. บอกถึงวิวัฒนาการรูปแบบและลักษณะที่สา คัญของข้อมูล 2. จาแนกชนิดของข้อมูลได้ 3. อธิบายโครงสร้างการจัดเก็บของแฟ้มข้อมูลได้ 4. อธิบายลักษณะสา คัญของแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูลได้ 5. ทราบถึงความสา คัญของการจัดการฐานข้อมูลและบอกข้อดี/ข้อเสียได้ 2
  • 3. หัวข้อการนาเสนอ 1.การจัดการข้อมูล 2.โครงสร้างแฟ้มข้อมูลและชนิดข้อมูล 3.ประเภทของแฟ้มข้อมูลและระบบแฟ้มข้อมูล 4. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล Database Systems 5.ระบบฐานข้อมูล 6.ระบบการจัดการฐานข้อมูล 3
  • 4. บทนา ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับสงิ่ต่าง ๆ ทัว่ไป ที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจา วัน 4 ข้อมูลคือทรัพยากรที่สา คัญขององค์กร และ องค์กรต้องใช้ข้อมูลร่วมกันและทุกฝ่าย ดังนั้น ข้อมูลจา เป็นต้องถูกจัดการ และสามารถแบ่งปันข้อมูลร่วมกันได้
  • 6. 2. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Structure) 6  “แฟ้มข้อมูล” (file) หมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ใน สื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธ รรมดาหรือ จานแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นาไปเก็บนั้นจะถูกนาไปเก็บไว้ เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นโปรแกรม ข้อมูล หรือภาพ (graphics) กไ็ด้ แ ต่ล ะ เ รื่อ ง ต่า ง ก็ต้อ ง มีชื่อ เ ป็น ข อ ง ต น เ อ ง ที่ต้อ ง ไ ม่ซ้า กัน (ทักษิณา สวนานนท์ 2544, หน้า 249)
  • 7. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 7  “ โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ” (data structure) หมายถึง รูปแบบของ การจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ (ทักษิณา สวนานนท์, 2544, หน้า 161) ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่ลาดับจากหน่วยที่ เล็กที่สุดไปยังหน่วยที่ใหญ่ขึ้นตามลา ดับต่อไปนี้
  • 8. File Structure [Name] [Number] [Period] [Cost per Minute] John 0815400516 10 3 Jim 0815611133 30 1 Nan 0815966645 25 3 Marry 0815985111 45 1 Read File: Charge = Period * Cost per Minute = Field[3] * Field[4] What happens if data are changed? What happens if you share data? 8 ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูล Record Field
  • 9. 9 ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ภาพที่ 1.1 แสดงตัวอย่างเขตข้อมูล ระเบียน และแฟ้มข้อมูลนักศึกษา
  • 10. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 10 1. บิต (Bit : Binary Digit) คือ หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุดที่เก็บอยู่ใน หน่วยความจา ภายในคอมพิวเตอร์ ซึ่ง Bit จะแทนด้วยตัวเลขหนึ่งตัว คือ 0 หรือ 1 อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกตัวเลข 0 หรือ 1 ว่าเป็น บิต 1 บิต 2. ไบท์ (Byte) คือ หน่วยของข้อมูลที่นาบิทหลายๆ บิทมารวมกัน แทน ตัวอักษรแต่ละตัว เช่น A, B, …, Z, 0, 1, 2, … ,9 และสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ เช่น $, &, +, -, *, / ฯลฯ โดยตัวอักษร 1 ตัวจะแทนด้วยบิท 7 บิท หรือ 8 บิท ซึ่งตัวอักษรแต่ละตัวจะเรียกว่า ไบท์ เช่น ตัว A เมื่อเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จะ เก็บเป็น 1000001 ส่วนตัว B จะเก็บเป็น 1000010 เป็นต้น
  • 11. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 3. เขตข้อมูล (Field) คือ หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาตัวอักขระหลาย ๆ ตัวมารวมกัน เป็นคา ที่มีความหมาย เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา นามสกุล ที่อยู่ คณะ และสาขาวิชา เป็นต้น (ภาพที่ 1.1) 4. ระเบียน (Record) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน หรือค่าของข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูล เช่น ระเบียนนักศึกษาคนที่ 1 ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัส นักศึกษา 4800111, ชื่อ : สาธิต, นามสกุล : กิตติพงศ์, โปรแกรมวิชา : บรรณารักษศาสตร์, คณะ : มนุษยศาสตร์ เป็นต้น (ภาพที่ 1.1) 11
  • 12. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 12 5. ไฟล์ (File) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนาระเบียนหลาย ๆ ระเบียนที่มี ความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา (ภาพที่1.1) ซึ่งประกอบไปด้วย ระเบียนจา นวน 5 ระเบียน หรือ 5 แถว ซึ่งก็คือ รายละเอียดของนักศึกษาจานวน 5 คน
  • 14. 2. ชนิดของข้อมูล (Type of Data) 14  ชนิดของข้อมูล มีหลายรูปแบบดังนี้ คือ  ข้อความ (Text) เป็นข้อมูลที่เป็นอักขระในแบบข้อความ โดยไม่มี รูปแบบที่แน่นอน ความหมายจะอยู่ในข้อความ เช่น ชื่อพนักงาน  ข้อมูลที่ถูกกา หนดเป็นรูปแบบ (Formatted Data) เป็นข้อมูลที่เป็น อักขระในแบบข้อความ โดยมีรูปแบบที่แน่นอน ซึ่งปกติจะถูกกา หนดให้ อยู่ในรูปแบบของรหัส เช่น รหัสสาขา CS ใช้แทนสาขาวิทยาการคอมฯ  ข้อมูลแบบรูปภาพ (Images) เป็นข้อมูลที่เป็นภาพหรือเป็นกราฟ  ข้อมูลแบบเสียง (Audio/Sound) เป็นไฟล์ข้อมูลชนิดหนึ่งที่ใช้จัดเก็บ เสียงแบบดิจิตอล เช่น การแปลงเสียงพูดของมนุษย์
  • 15. 15 3. ประเภทของแฟ้มข้อมูล (Types of Conventional Files)  แบ่งออกเป็น 6 ชนิดด้วยกัน ดังต่อไปนี้  แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File)  แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File)  แฟ้มเอกสาร (Document File)  แฟ้มประวัติ (Archival File)  แฟ้มตารางอ้างอิง (Table Look-up File)  แฟ้มเพื่อการตรวจสอบ (Audit File)
  • 16. 16 ประเภทของแฟ้มข้อมูล  แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้สา หรับจัดเก็บ ข้อมูลที่ค่อนข้างคงที่ เช่น แฟ้มข้อมูลสมาชิก เป็นต้น มี3 รูปแบบ คือ  การเพมิ่ (Add)  การลบ (Delete)  การแก้ไขปรับปรุง (Modify)
  • 17. 17 ประเภทของแฟ้มข้อมูล  แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้ จัดเก็บรายการข้อมูลประจา วันที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ เช่น แฟ้มข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา เป็นต้น  แฟ้มเอกสาร (Document File) หรือไฟล์รายงาน (Report File) เคยผ่านการประมวลผลมาแล้วครัง้หนึ่งด้วยโปรแกรม เช่น การสัง่ประมวลผลโปรแกรม  แฟ้มประวัติ (Archival File) เช่น การเคลื่อนย้ายข้อมูลแฟ้มประวัติ ลูกค้าเก่าจากฮาร์ดดิสก์แล้วนาไปบันทึกลงเทป เป็นต้น
  • 18. 18 ประเภทของแฟ้มข้อมูล  แฟ้มตารางอ้างอิง (Table Look-up File) เป็นไฟล์หรือตารางที่ใช้เพื่อ การอ้างอิงข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บลงในแฟ้มตารางค่อนข้างที่คงที่หรือมัก ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เช่น ตารางภาษี เป็นต้น  แฟ้มเพื่อการตรวจสอบ (Audit File) เป็นไฟล์พิเศษชนิดหนึ่งที่ใช้เก็บ ประวัติการบันทึกเรคอร์ดต่าง ๆ ที่ถูกอัพเดตลงในไฟล์ต่าง ๆ หรือ เรียกว่า Log File
  • 19. 19 3. ระบบแฟ้มข้อมูล (Files-Based System) Personnel Department Employees Database Production Database Personal Database Accounting Database Financial Database Accounting Department Accounts Database Sales Department
  • 20. 20 ระบบฐานข้อมูล (Database System) File system Employees Database Database Inventory Database Database system Personal Department Inventory Department Sales Department Ssleman Database Customer Database DBMS Personal Department Inventory Department Sales Department Employ ee Invent ory Salesm an Custo mer
  • 21. 4. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (Files Organizations) 21  วัตถุประสงค์ของการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล คือ  เพื่อดึงข้อมูลให้มีความรวดเร็วขึ้น  เพื่อการประมวลผลข้อมูลที่ดี  เพื่อใช้งานอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ป้องกันความเสียหายหรือความสูญเสียของข้อมูล  เพื่อรองรับอัตราการเติบโตของข้อมูลที่เพมิ่ขึ้น  เพื่อความปลอดภัยจากผู้ใช้งานที่ไม่มีสิทธิใ์นการใช้งานข้อมูล
  • 22. 22 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ประกอบด้วยรูปแบบ ดังนี้  โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับ (Sequential File Organizations)  โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง (Directed File Organizations)  โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับดัชนี (Indexed Sequential File Organizations)
  • 23. 23 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับ (Sequential File Organizations) Start of file Arunee Bangkok Dumrong Hansa … Manop Somying … Scan
  • 24.  โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง (Directed File Organizations) 24 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล Key (Hansa) Manop Bangkog Dumrong Hansa … Arunee Somying … Hashing algorithm Relative Record number
  • 25. 25 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลา ดับดัชนี (Indexed Sequential File Organizations)
  • 26. 26 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  ข้อจา กัดของวิธีแฟ้มข้อมูล มีรายละเอียด ดังนี้  ข้อมูลมีการเก็บแยกจากกัน (Separation and Isolation of Data)  ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data)  ข้อมูลมีความขึ้นต่อกัน (Data Dependence)  มีรูปแบบที่ไม่ตรงกัน (Incompatible File Formats)  รายงานต่าง ๆ ถูกกาหนดไว้อย่างจากัด (Fixed Queries)
  • 27. 27 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  ข้อมูลมีการเก็บแยกจากกัน (Separation and Isolation of Data) แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) empNo name Address birthDate salary depart phone EMP001 นายพิชัย รัตนะ 10/201 ถ.วิภาวดีรังสิต หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 1/5/2510 25000 แผนกขาย 02-9791112 EMP002 นายสมยศ สุขศรี 403 ถ.เลียบคลอง หลัก สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 EMP003 น.ส.นงนุช อินทรา 105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) saleNo name phone pagingNo level EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 1 EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 3
  • 28. 28 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data) แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) empNo name Address birthDate salary depart phone EMP001 นายพิชัย รัตนะ 10/201 ถ.วิภาวดีรังสิต หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 1/5/2510 25000 แผนกขาย 02-9791112 EMP002 นายสมยศ สุขศรี 403 ถ.เลียบคลอง หลัก สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 EMP003 น.ส.นงนุช อินทรา 105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 Insertion Anomalies แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) saleNo name phone pagingNo level EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 4 EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 2 EMP009 นายองอาจ สุขเกษม 081-5412000 152-2500581 1
  • 29. 29 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data) แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) empNo name Address birthDate salary depart phone EMP002 นายสมยศ สุขศรี 403 ถ.เลียบคลอง หลัก สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 EMP003 น.ส.นงนุช อินทรา 105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 Deletion Anomalies แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) saleNo name phone pagingNo level EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 4 EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 2 EMP009 นายองอาจ สุขเกษม 081-5412000 152-2500581 1
  • 30. 30 การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  ข้อมูลมีความซา้ซ้อน (Duplication of Data) แฟ้มพนักงาน (EMPLOYEES) empNo name Address birthDate salary depart phone EMP002 นายสมยศ สุขศรี 403 ถ.เลียบคลอง หลัก สอง กรุงเทพฯ 10160 12/11/2507 30000 แผนกบุคลากร 02-2308987 EMP003 น.ส.ระวิวรรณ อินทรา 105 ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง เชียงใหม่ 50300 20/02/2520 18000 แผนกขาย 081-8881400 Modification Anomalies แฟ้มพนักงานขาย (SALESMAN) saleNo name phone pagingNo level EMP001 นายพิชัย รัตนะ 02-9791112 152-4445689 4 EMP002 น.ส.นงนุช อินทรา 081-8881400 152-210000 2 EMP009 นายองอาจ สุขเกษม 081-5412000 152-2500581 1
  • 31. 5. ระบบฐานข้อมูล (Database Systems) กล่าวคือ ฐานข้อมูลคือศูนย์รวมของข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน โดยจะมีกระบวนการจัดหมวดหมู่ข้อมูลอย่างมีระเบียบแบบแผน ก่อให้เกิด ฐานข้อมูลที่เป็นแหล่งรวมของข้อมูลจากแผนกต่าง ๆ ซึ่งถูกจัดเก็บไว้ อย่างมีระบบภายในฐานข้อมูลชุดเดียว โดยผู้ใช้งานแต่ละแผนกสามารถ เข้าถึงข้อมูลส่วนกลางนี้ เพื่อนาไปประมวลผลร่วมกันได้ 31
  • 32. ระบบฐานข้อมูล 32 Personnel Department Sales Department Accounting Department DBMS Database Employees Customers Sales Inventory Accounts DBMS manages data resources Database containing Centralized shared data
  • 33. แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล  ความจา เป็นที่ทา ให้เกิดการใช้งานโดยระบบฐานข้อมูล  ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล  ความสา คัญของระบบฐานข้อมูล  ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล 33
  • 34. แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล  ความจา เป็นที่ทา ให้เกิดการใช้งานโดยระบบฐานข้อมูล  การประมวลผลกับระบบแฟ้มข้อมูลยุ่งยาก  แฟ้มข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระของข้อมูล  แฟ้มข้อมูลมีความซับซ้อนมาก  แฟ้มข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลน้อย  แฟ้มข้อมูลมีความปลอดภัยน้อย  ไม่มีการควบคุมจากศูนย์กลาง 34
  • 35.  ข้อมูล สารสนเทศ ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล  ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง วัตถุ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น  สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามแต่ละบุคคลที่ต้องการได้  ฐานข้อมูล หมายถึง กล่มุของข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 35 แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
  • 36.  ระบบการจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่ดังนี้ คือ  ดูแลการใช้งานให้กับผู้ใช้งาน  ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้อมูล  ควบคุมการใช้ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้งานพร้อมกันหลายคน  หน้าที่ของผู้บริหารฐานข้อมูล  กาหนดโครงสร้างหรือรูปแบบของฐานข้อมูล  กาหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เก็บข้อมูลและวิธีการเข้าถึงข้อมูล  กาหนดขอบเขตการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ 36 แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
  • 37.  ความสา คัญของระบบฐานข้อมูล  ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้า ซ้อน  รักษาความถูกต้องของข้อมูล  การป้องกันและการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูล ทา ได้สะดวก  สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้  มีความเป็นอิสระของข้อมูล  สามารถขยายงานได้ง่าย  ทา ให้ข้อมูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้อย่างรวดเร็วและมีมาตรฐาน 37 แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
  • 38.  ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมลู  ลดความซ้า ซ้อนของข้อมูล  รักษาความถูกต้องของข้อมูล  มีความเป็นอิสระของข้อมูล  มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง  ใช้ข้อมูลร่วมกันโดยมีการควบคุมจากศูนย์กลาง 38 แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
  • 39. 6. ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems) : DBMS 39 กล่าวคือ DBMS คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือของผู้ใช้เพื่อโต้ตอบกับ ฐานข้อมูล ซึ่งจะประกอบไปด้วยฟัง ก์ชันหน้าที่ต่าง ๆ ในการจัดการกับ ข้อมูล รวมทั้งภาษาที่ใช้ทางานกับข้อมูล โดยมักใช้ภาษา SQL ในการโต้ตอบระหว่างกันกับผู้ใช้
  • 40. ระบบจัดการฐานข้อมูล 40 Application Request DBMS Metadata Employees Customers Sales Inventory Accounts End User #1 End User #2 Database Structure End User Data Application Data Request Data
  • 41. MySQL - A multithreaded, multi-user, SQL DBMS Microsoft SQL Server - Relational DBMS produced by Microsoft Oracle - Object-relational DBMS Sybase - Sybase Corporation's primary relational DBMS product  DB2 - IBM's family of information management software products Microsoft Access - A relational DBMS from Microsoft, packaged with Microsoft Office 50-51 Professional 41 ระบบจัดการฐานข้อมูล
  • 42.  ภาษาที่ใช้ในระบบของฐานข้อมูล  ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) เป็นภาษาที่ใช้ใน การกาหนด Schema  ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) เป็นภาษาที่ใช้ ในการจัดการข้อมูลภายในระบบฐานข้อมูล  ภาษาที่ใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL) เป็นภาษาที่ใช้ในการควบคุมความถูกต้องและความปลอดภัยของข้อมูล 42 ระบบจัดการฐานข้อมูล
  • 43.  ส่วนประกอบด้านสภาพแวดล้อมของระบบจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วย 5 ส่วน ด้วยกัน ดังนี้  ฮาร์ดแวร์ (Hardware)  ซอฟต์แวร์ (Software)  ข้อมูล (Data)  โพรซีเยอร์(Procedure)  ผู้ใช้งาน (Users) 43 ระบบจัดการฐานข้อมูล
  • 44. 44 บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในระบบฐานข้อมูล  สามารถแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานเหล่านี้ออกเป็น 4 ตาแหน่งหลัก ๆ ด้วยกัน คือ  ผู้บริหารข้อมูลและผู้บริหารฐานข้อมูล (Data and Database Administrators)  นักออกแบบฐานข้อมูล (Database Designers)  ระดับตรรกะ (Logical Database Designer)  ระดับกายภาพ (Physical Database Designer)  นักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์(System Analysis and Programmers)  ผู้ใช้ปลายทาง (End-Users)  ผู้ใช้ทัว่ไป (Naive Users)  ผู้ใช้สมัยใหม่(Sophisticated Users)
  • 45. 45 การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูล  โดยสามารถแบ่งประเภทการประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลเป็น 5 ประเภท คือ  ฐานข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Databases)  ฐานข้อมูลระดับเวิร์กกรปุ๊ (Workgroup Databases)  ฐานข้อมูลระดับแผนก (Department Databases)  ฐานข้อมูลระดับเอ็นเตอร์ไพรส์(Enterprise Databases)  ฐานข้อมูลอินเทอร์เน็ต (Internet Databases)
  • 46. 46 ข้อดีของวิธีฐานข้อมูล  1. ความอิสระของโปรแกรมและข้อมูล  2. ลดความซ้า ซ้อนในข้อมูล  3. ข้อมูลมีความสอดคล้องตรงกัน  4. การใช้ข้อมูลร่วมกัน  5. เพมิ่คุณประโยชน์สา หรับการพัฒนาแอปพลิเคชัน่  6. ความเป็นมาตรฐานเดียวกัน  7. ข้อมูลมีคุณภาพขึ้น  8. การเข้าถึงและผลการตอบรับข้อมูลเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น  9. ช่วยลดเวลาการบา รุงรักษาโปรแกรม
  • 47. 47 ข้อเสียของวิธีฐานข้อมูล  1. ความซับซ้อนที่เพมิ่ขึ้น  2. มีขนาดความจุที่เพมิ่มากขึ้น  3. ต้นทุนของ DBMS มีราคาสูง  4. ต้นทุนด้านอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เพมิ่ขึ้น  5. ต้นทุนเกี่ยวกับการแปลงข้อมูล  6. สมรรถนะการทางาน  7. ผลกระทบต่อความเสียหายสูง
  • 48. 48 คาถามท้ายบทที่ 1 1. จงบอกเหตุผลว่า เหตุใดในยุคปัจ จุบันฐานข้อมูลจึงมีความสา คัญต่อองค์กรธุรกิจทัว่ไป 2. อยากทราบว่าในชีวิตประจา วันของนักศึกษามีกิจกรรมใดที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูลบ้าง จงยกตัวอย่างมา 2 ตัวอย่าง พร้อมคาอธิบาย 3. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการจัดการข้อมูลด้วยวิธีแฟ้มข้อมูลกับวิธีฐานข้อมูล 4. DBMS คืออะไร มีส่วนสา คัญอย่างไรในระบบฐานข้อมูล 5. จงสรุปข้อดีและข้อเสียของวิธีฐานข้อมูลมาให้พอเข้าใจ

Editor's Notes

  1. โครงสร้างเช่นมีทั้งหมดกี่ฟิลด์ กี่เรคคอร์ด
  2. ผู้ใช้ที่เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลโดยอาศัยโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น 2. ใช้คำสั่ง SQL ในการเรียกใช้งาน หรือ ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล