SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1 
Service Profile 
งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 
(1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) 
(ชุด update 16 มิถุนายน 2556) 
จัดทำโดย 
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ งานบริการวิสัญญี 
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
(มิถุนายน, 2556)
2 
Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
(1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) 
1. บริบท 
ก. หน้าที่และเป้าหมาย 
งานบริการวิสัญญีเป็นงานที่ให้บริการระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ซึ่งเป็นสถานพยาบาล โรงเรียนแพทย์ ที่มีศักยภาพในการให้บริการระดับตติยภูมิ มีเป้าหมายให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ได้คุณภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อความปลอดภัยและพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้รับบริการ โดย 
1. ให้บริการระงับความรู้สึกตามมาตรฐานวิชาชีพที่ครอบคลุมทุกขั้นตอนโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 
2. วางแผนและประสานงานในทีมบริการที่เกี่ยวข้อง 
3. ลดอุบัติการณ์/ความเสี่ยงทางวิสัญญีโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 
4. วิเคราะห์ความต้องการกลุ่มผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกเพื่อเพิ่มความพึงพอใจ 
5. พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการแก่ผู้ป่วย 
6. ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย เจ้าหน้าที่และสิ่งแวดล้อม 
7. สนับสนุนเทคนิคบริการที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและการวิจัย 
ข. ขอบเขตบริการ 
งานบริการวิสัญญี ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้การบริการระงับความรู้สึก ผู้ป่วยในห้องผ่าตัด และห้องผ่าตัดคลอดของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ทั้งในเวลาและนอกเวลาราชการ มีการเปิดให้บริการเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2555 จำนวน 3 ห้องผ่าตัด ได้แก่ ห้องผ่าตัด 13 (ในเดือนกรกฎาคม) ห้องผ่าตัดส่องกล้อง (ในเดือนตุลาคม) และ ห้องผ่าตัด 12 (ในเดือนพฤศจิกายน) รวมทั้งหมด 24 ห้อง ปริมาณผู้ป่วยที่เข้ารับบริการวิสัญญีปี พ.ศ. 2553-2555 มีจำนวน 14645, 16425 และ 18082 ราย ตามลำดับ (รายงานสถิติงานบริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์, 2555) เพิ่มมาก ขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 11 ต่อปี ปริมาณผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงทางวิสัญญีตาม The American Society of Anesthesiologists (ASA) Physical Status (PS) ระดับ 3 ขึ้นไป เฉลี่ย 2500 รายต่อปี และมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งในปี พ.ศ. 2555 พบกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคที่มีผลในการระงับความรู้สึก เช่น โรคเกี่ยวกับไต ตับ และหัวใจ มากถึงร้อยละ 56.6 ของผู้ป่วยที่เข้ารับ การผ่าตัด (รายงานสถิติงานบริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2555) จำนวนบุคลากรที่ ให้บริการประกอบด้วยวิสัญญีแพทย์จำนวน 23 คน คน วิสัญญีพยาบาล 58 คน และเจ้าหน้าที่อื่น จำนวน 15 คน มีพยาบาล อยู่ระหว่างฝึกอบรมวิสัญญีพยาบาลอีกจำนวน 11 คน มีเครื่องมือตามเกณฑ์มาตรฐานที่ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศ ไทยกำหนด มีศักยภาพในการให้บริการหัตถการผ่าตัดที่ยุ่งยากซับซ้อนและเฉพาะทาง ที่โรงพยาบาลทั่วไปไม่สามารถทำได้ ได้แก่ ศัลยกรรมทรวงอก หัวใจและหลอดเลือด เช่น Open Heart Surgery CABG การผ่าตัดปอด เป็นต้น รวมถึงการผ่าตัด ปลูกถ่ายอวัยวะ เช่น Kidney Transplantation และ Liver Transplantation เป็นต้น 
ภาระงานดูแลผู้ป่วยครอบคลุมตั้งแต่ระยะก่อนผ่าตัด โดย สำหรับ elective case จัดให้มีการตรวจเยี่ยมประเมินผู้ป่วย ล่วงหน้าก่อนผ่าตัด 1 วัน ส่วนในกรณี emergency case มีการประเมินทันทีเมื่อมีการเซ็ทผ่าตัด เพื่อค้นหาและประเมินความ เสี่ยง ประกอบการวางแผนในการดูแลผู้ป่วยแต่ละรายก่อนเริ่มให้บริการระงับความรู้สึก ให้ข้อมูลที่จำเป็นที่เกี่ยวกับการระงับ ความรู้สึกแก่ผู้ป่วย ให้ผู้ป่วย/ญาติมีส่วนร่วมในการเลือกเทคนิคและรับทราบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ให้การดูแลช่วยเหลือและ บันทึกข้อมูลระหว่างผ่าตัด ขณะผ่าตัด หลังผ่าตัดระยะแรกที่ห้องพักฟื้น และส่งกลับหอผู้ป่วยหรือหอผู้ป่วยวิกฤติกรณีจำเป็น โดยมีการส่งต่อข้อมูลที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และติดตามเยี่ยมประเมินภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีวิทยาภายใน
3 
24 ชั่วโมงหลังผ่าตัด ตลอดจนติดตามดูแลแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่พบภายใน 48 ชั่วโมงหลังผ่าตัด (Safe Anesthesia Care in Srinagarind Hospital. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) 
ภาพกรอบแนวคิดการควบคุมคุณภาพบริการวิสัญญี 
Safe Anesthesia Care in SrinagarindHosp. (Daily Work & Quality Activities) 3. PACU 1. Pre-op visit(Initial Assessment) Preanesthesia Quality Improvement OFI IdentificationAnes.complication, Outcome indicator2. Intra-operative Care Perioperative •Monitoring& Evaluation•CPG•Quality manual•Consultation•InnovationPost anesthesia•Qualified personel•Qualified equipment•Quality manual•Consultation •Investigation & •Planning (Team) CQI•KM, R2R, EBM•Conclusion, •Communication•Share & LearnM&M•CPG•Quality manual•Consultation4. Post-0p visit & APS Daily quality review (repeat) 
(งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) 
ค. ผู้รับผลงานและความต้องการที่สำคัญ (จำแนกตามกลุ่มผู้รับผลงาน) 
ความต้องการของผู้รับบริการ (External customer) 
ผู้ป่วยและญาติ 
1. ได้รับบริการระงับความรู้สึกที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน ซึ่งรองรับการผ่าตัดที่ยากและซับซ้อน 
2. ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับขั้นตอนการระงับความรู้สึกและการปฏิบัติตัวทั้งก่อนและหลังรับบริการและมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรู้สึก 
3. พบปะพูดคุยกับเจ้าหน้าที่เพื่อรับทราบข้อมูลและซักถามข้อข้องใจ 
ความต้องการของผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล (Internal customer) 
แพทย์ผ่าตัด 
1. มีการประเมินผู้ป่วยบนพื้นฐานของหลักวิชาอย่างละเอียดรอบคอบ 
2. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีการประสานงานในทีมที่มีประสิทธิภาพ 
3. มีความรู้และทักษะในการให้บริการที่ดี มีการพัฒนาความรู้อยู่อย่างสม่ำเสมอ 
4. มีความเข้าใจในหัตถการของแพทย์ผ่าตัดและสามารถให้บริการที่สอดคล้องทำให้การผ่าตัดดำเนินไปด้วยความ ราบรื่น 
5. มีการตัดสินใจที่รวดเร็ว แม่นยำ และรอบคอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย
4 
6. มีการวิเคราะห์ความต้องการของแพทย์ผ่าตัดเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนางานบริการ 
7. มีอุปกรณ์, เครื่องมือต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้และพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา 
หอผู้ป่วยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 
1. มีการติดต่อประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบันทึกและส่งต่อข้อมูลที่เชื่อถือได้ 
2. นำผู้ป่วยส่งกลับหอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย 
พยาบาลห้องผ่าตัด 
1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีน้ำใจช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการปฏิบัติงาน 
2. วางแผนร่วมกันก่อนเริ่มการผ่าตัดเพื่อความราบรื่นในการปฏิบัติงาน เช่น ให้ความร่วมมือในการทำ surgical safety checklist 
3. ให้ความร่วมมือรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ให้สะอาดปราศจากเชื้อโรค 
4. ช่วยรับผิดชอบในอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น suction ไม้รองแขน เป็นต้น 
ง. ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ 
1. ให้บริการวิสัญญีที่มีการควบคุมมาตรฐานด้วยระบบประกันคุณภาพที่ครอบคลุมทุกขั้นตอน มีการพัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง 
2. ให้บริการโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้ป่วยทุกรายมีสิทธิเท่าเทียมกันในการได้รับบริการวิสัญญีที่ได้มาตรฐาน แห่งวิชาชีพ 
3. ผู้ป่วย/ญาติมีการรับทราบข้อมูลและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรู้สึกบนพื้นฐานความ ปลอดภัย 
4. บุคลากรผู้ปฏิบัติงานพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถที่ทันสมัยอยู่เสมอ 
5. ค้นหาความเสี่ยงและลดอุบัติการณ์ที่เกิดจากบริการวิสัญญี 
จ. ความท้าทาย ความเสี่ยงที่สำคัญ จุดเน้นในการพัฒนา 
ความท้าทาย 
ความเสี่ยงที่สำคัญ 
จุดเน้นในการพัฒนา 
1. เป็นโรงพยาบาล โรงเรียนแพทย์ที่มี ศักยภาพบริการแบบตติย ภูมิ ประเภทของผู้ป่วยมี ความซับซ้อนของโรคและ มีความยากในการดูแล รักษาจึงต้องมีการ 
- พัฒนาคน 
- พัฒนาระบบ 
- พัฒนากระบวนการ 
- ความผิดพลาดในการประเมิน ความเสี่ยงและการดูแล 
- การส่งต่อข้อมูลไม่สมบูรณ์ 
- การประสานงานบกพร่อง 
- การฟ้องร้อง 
- พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางเพื่อรองรับความยากของงานและลด ความเสี่ยง ข้อขัดแย้งในการประสานในทีม เช่น ทีม kidney transplantation และ liver transplantation เป็นต้น 
- เน้นด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยมีระบบบริหารความ เสี่ยงและการประกันคุณภาพบริการ 
- มีการประเมินผู้ป่วยร่วมกันในทีมสหสาขา และมีระบบการ ปรึกษาเฉพาะทาง เช่น การขอคำปรึกษาทีม cardio-med หรือ ทีมดูแลความปวดเมื่อพบปัญหาในการดูแล, พัฒนาร่วมกับ CLT ต่างๆผ่านผู้ประสานเพื่อลดความเสี่ยงตามแนวคิด Thai Patient Safety Goals : SIMPLE 
- พัฒนาระบบการติดต่อสื่อสารภายในทีมผู้ให้บริการ ผ่านทีม บริหารความเสี่ยง, กลุ่มงานประกันคุณภาพ และสร้างทีม ประสานแต่ละ PCT/CLT เพิ่มเติมขึ้น เพื่อแก้ปัญหาได้ตรง
5 
ความท้าทาย 
ความเสี่ยงที่สำคัญ 
จุดเน้นในการพัฒนา 
ประเด็นมากขึ้น 
- ติดตามภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญโดยกรรมการบริหารความ เสี่ยง และร่วมอบรมหลักสูตรการเจรจาไกล่เกลี่ยกับทีมบริหาร ความเสี่ยงของโรงพยาบาลเพื่อดูแลบริหารจัดการความเสี่ยง เบื้องต้นที่เกิดภายในองค์กร 2. Excellent Center ด้าน การปลูกถ่ายอวัยวะ ได้แก่ Renal Transplantation และ Liver Transplantation เป็นต้น 
- ขาดความรู้ ความชำนาญของ ทีมงานเฉพาะทาง 
- พัฒนาบุคลากรกลุ่มงานที่มีความเฉพาะ ได้แก่ทีมระงับ ความรู้สึกการผ่าตัดเปลี่ยนไตและเปลี่ยนตับ เช่น การเข้าร่วม อบรม ทบทวนความรู้การผ่าตัดไต 
- อบรม ดูงานเพื่อเพิ่มศักยภาพเช่นการส่งบุคลากรร่วมดูงาน liver transplantation ณ ประเทศญี่ปุ่นและออสเตรเลีย 
- ทบทวนแนวทางการระงับความรู้สึกผู้ป่วยผ่าตัดปลูกถ่ายไต ที่จัดทำและปรับปรุง 
- จัดทีมผู้ชำนาญเฉพาะทางกำกับการดูแลผู้ป่วย 
3.ให้บริการนอกสถานที่ เช่น การทำการวินิจฉัย ด้วย Angiogram และ MRI เป็นต้น 
-ความไม่พร้อม ไม่ชำนาญของ ทีมผู้ช่วยเหลือหากมีกรณี ฉุกเฉิน 
- วางระบบการบริหารจัดการงานบริการนอกสถานที่ โดยให้มี ผู้รับผิดชอบประจำ 
- ดูแลจัดอุปกรณ์ที่สำคัญสมบูรณ์พร้อมใช้ตลอดเวลา 
- จัดให้มีทีมชำนาญเฉพาะเพื่อลดความเสี่ยง 
- มีระบบขอความช่วยเหลือด่วนผ่านวิทยุติดตามตัว 
ฉ. ปริมาณงานและทรัพยากร(คน เทคโนโลยี เครื่องมือ) 
ปริมาณงาน 
จำนวนผู้ป่วย 
พ.ศ. 2553 
พ.ศ. 2554 
พ.ศ. 2555 
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด (รวม) 
14,645 
16,425 
18,082 
- ผู้ป่วยใน :ราย (ร้อยละ) 
14,147 (96.6) 
15,751 (95.9) 
17,200 (95.2%) 
- ผู้ป่วยนอก :ราย (ร้อยละ) 
268 (1.8) 
452 (2.8) 
678 (3.7) 
- ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 
230 (1.6) 
222 (1.3) 
204 (1.1%) 
ประเภทผู้ป่วย 
- Elective :ราย (ร้อยละ) 
11,270 (77.0) 
12,957 (78.9) 
14,231(78.7) 
- Emergency :ราย (ร้อยละ) 
3,307 (22.6) 
3,417 (20.8) 
3,791 (21.0) 
- ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 
68 (0.4) 
51 (0.3) 
60 (0.3) 
- มี Underlying disease (ร้อยละ) 
55.2 
56.6 
56.6 
-ไม่มี Underlying disease (ร้อยละ) 
44.8 
43.4 
43.4 
ประเภทการระงับความรู้สึก 
- Regional Anesthesia (RA) 
2,661 (18.2) 
2,770 (16.9) 
2,968 (16.4) 
- General Anesthesia (GA) 
10,710 (73.1) 
12,290 (74.8) 
13,480 (74.5) 
- Combined GA& RA 
952 (6.5) 
1,011 (6.2) 
1,224 (6.8)
6 
- MAC 
312 (2.1) 
338 (2.1) 
400 (2.2) 
-ไม่ระบุ 
10 (0.1) 
16 (0.1) 
10 (0.1) 
ทรัพยากรบุคคล 
จำนวนบุคลากรกลุ่มต่าง ๆ 
พ.ศ. 2553 
พ.ศ. 2554 
พ.ศ. 2555 
วิสัญญีแพทย์ 
15 
21 
23 
วิสัญญีพยาบาล 
50 
51 
58 
อยู่ระหว่างอบรมวิสัญญีพยาบาล 
1 
7 
11 
เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนงานบริการ 
13 
14 
15 
เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ให้บริการทางวิสัญญี 
การจัดเครื่องมือและอุปกรณ์ (ตามเกณฑ์มาตรฐานของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์) 
พ.ศ. 2553 
พ.ศ. 2554 
พ.ศ. 2555 
- เครื่องให้ยาสลบ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด (มีเครื่องสำรองใช้) 
มี 
มี 
มี 
- เครื่องช่วยหายใจ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด (มีเครื่องสำรองใช้) 
มี 
มี 
มี 
- อุปกรณ์เพื่อจัดการเปิดทางเดินหายใจตามมาตรฐาน 
(มีอุปกรณ์สำรองใช้ มีรถเตรียมอุปกรณ์สำหรับ difficult intubation) มีทุกห้องผ่าตัด 
มี 
มี 
มี 
- มี Fiberoptic bronchoscope สำรองใช้ส่วนกลาง 
มี 
มี 
มี 
- มีอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพพร้อมใช้ 
(มีชุดยาสำหรับ CPR สำรองใช้ 3 ตำแหน่งได้แก่ PACU1, PACU2 และ Supply) 
มี 
มี 
มี 
- มีเครื่อง suction ทุกห้องผ่าตัด 
มี 
มี 
มี 
- มีอุปกรณ์ในการติดตามอาการผู้ป่วย 
มี 
มี 
มี 
- มีเครื่องเป่าลมร้อนอย่างน้อย 1 เครื่องต่อ 1ห้องผ่าตัด 
มี 
มี 
มี 
2. กระบวนการสำคัญ (Key Process) 
กระบวนการสำคัญ 
สิ่งที่คาดหวัง 
ความเสี่ยงที่สำคัญ 
ตัวชี้วัดที่สำคัญ 
1. การเตรียมความ พร้อมของผู้ป่วยและ การวางแผน 
- มีการประเมินก่อนเริ่มต้น ให้การระงับความรู้สึก สำหรับผู้ป่วยแต่ละรายเพื่อ การค้นหาและป้องกันความ เสี่ยงโดยผู้มีคุณวุฒิ และ วางแผนการระงับความรู้สึก สำหรับผู้ป่วยแต่ละราย 
- ผู้ป่วยได้รับการประเมินไม่ ครอบคลุมประเด็นที่สำคัญ 
- กรณีรายที่วินิจฉัยมีโรค ซับซ้อนไม่ได้รับการปรึกษา ผู้ที่ชำนาญกว่าก่อนการ ผ่าตัด 
- ขาดพยานบุคคล 
- เครื่องมือหรืออุปกรณ์มี ปัญหาขณะให้บริการ 
- อัตราผู้ป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมและ ประเมินเพื่อจัดแบ่งลำดับความสำคัญ ตามความเสี่ยง ASA ก่อนให้ยาระงับ ความรู้สึก 
- อัตราผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยได้รับการ ให้ข้อมูลก่อนให้ยาระงับความรู้สึกและ ลงชื่อยินยอมในใบ informed consent 
- อัตราการตรวจสอบเครื่องดมยาสลบ
7 
กระบวนการสำคัญ 
สิ่งที่คาดหวัง 
ความเสี่ยงที่สำคัญ 
ตัวชี้วัดที่สำคัญ 
- เกิดสถานการณ์ไม่เป็นตาม แผนการดูแลที่วางไว้ 
และ monitor ก่อนให้บริการ 
- มีการอธิบายประเด็นเรื่อง ความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นและทางเลือก ในการระงับความรู้สึกให้แก่ ผู้ป่วย ครอบครัว หรือผู้ที่ ตัดสินใจแทนผู้ป่วย 
-การเตรียมความพร้อมของ เครื่องมือ อุปกรณ์ และยา โดยวางแผนปรึกษาภายใน ทีมและผู้ชำนาญกว่า 
2. ให้การระงับ ความรู้สึก 
- ผู้ป่วยทุกรายได้รับการเฝ้า ระวังระหว่างให้ยาระงับ ความรู้สึกตามมาตรฐาน ASA 
- บุคลากรไม่ปฏิบัติตาม แนวทางที่กำหนด 
- ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริการผ่านการ อบรมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศ ไทย 
- มีการปฏิบัติตามแนว ทางการให้บริการวิสัญญีที่ สำคัญ 
- จำนวนแนวทางปฏิบัติที่สำคัญ 
-กระบวนการระงับ ความรู้สึกเป็นไปอย่าง ราบรื่นและปลอดภัยตาม มาตรฐานวิชาชีพ 
- อัตราการเกิดอุบัติการณ์ขณะระงับ ความรู้สึก 
-วางแผนการให้ยาหรือ เทคนิคระงับปวด 
- อัตราการติดตามและบันทึกข้อมูล ผู้ป่วยระหว่างระงับความรู้สึก 
- อัตราการเกิดอุบัติการณ์ต่างๆ 
- ความสมบูรณ์ของการบันทึก 
- ร้อยละความสมบูรณ์ ถูกต้องและ ครบถ้วนของแบบบันทึก anesthetic record 
3. การดูแลผู้ป่วยใน ห้องพักฟื้น(PACU) 
ดูแลความปวด และ นำส่งผู้ป่วยไปที่หอ ผู้ป่วย/กลับบ้าน 
- ผู้ป่วยได้รับการดูแลตาม มาตรฐาน และได้รับการ ดูแลความปวดที่เหมาะสม 
-ไม่ได้รับการประเมินและให้ การดูแลที่เหมาะสม 
-ภาวะแทรกซ้อนในห้อง พัก ฟื้น เช่น desaturation, ความปลอดภัยของผู้ป่วย 
- ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ได้รับ การดูแลตามมาตรฐาน PACU 
- ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับการประเมิน ก่อนจำหน่ายโดย PADS>9 
- ร้อยละการรายงานแพทย์ก่อน
8 
กระบวนการสำคัญ 
สิ่งที่คาดหวัง 
ความเสี่ยงที่สำคัญ 
ตัวชี้วัดที่สำคัญ 
ตกเตียง/ล้ม, accidental extubation, drug Error เป็นต้น 
- การส่งต่อข้อมูลผิดพลาด และไม่ครบถ้วน 
จำหน่ายผู้ป่วยนอก 
4. ตรวจเยี่ยมผู้ป่วย หลังผ่าตัด 24 ชม. เพื่อติดตามการเกิด ภาวะแทรกซ้อนที่ สำคัญ (incident related to anesthesia) - มีการติดตาม ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก บริการทางวิสัญญี 
- ประเมินและบันทึก ภาวะแทรกซ้อนได้ไม่ ครบถ้วนทุกราย 
- อัตราการได้รับการเยี่ยมหลังได้รับ การระงับความรู้สึก 
- บันทึกข้อมูลการให้บริการ วิสัญญีอย่างครบถ้วน 
- บันทึกไม่ครบถ้วน คลาดเคลื่อน ทำให้การนำ ข้อมูลไปวิเคราะห์ผิดพลาด 
- ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูล การเยี่ยม 
-ผู้ป่วยรับทราบข้อมูลการ ปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน 
- ผู้ป่วยได้รับการดูแล ต่อเนื่องและพึงพอใจ 
- ความไม่พึงพอใจการ บริการ 
- เสี่ยงต่อการถูกฟ้องร้อง 
- อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วย ในบริการวิสัญญี 
- ข้อร้องเรียน 
5. ให้บริการระงับ ปวดโดยหน่วยระงับ ปวด 
- ผู้ป่วยได้รับทราบและมี ส่วนร่วมในการเลือกเทคนิค การระงับปวดก่อนผ่าตัด 
- ผู้ป่วยได้รับเทคนิคการ ระงับปวดอย่างเหมาะสม มี คุณภาพชีวิตที่ดีหลังผ่าตัด 
- ผู้ป่วยได้รับบริการไม่ทั่วถึง 
- อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับ บริการ APS > 85% 
- ผู้ป่วยได้รับการประเมิน อาการปวด (ตาม pain score) เกี่ยวกับระดับความ รุนแรงและลักษณะความ ปวดอย่างต่อเนื่อง 
- ผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแล ระงับปวดตามเกณฑ์ที่ กำหนด 
- อัตราผู้ป่วยที่มีระดับความปวดมาก (NRS>7) ก่อนส่งกลับหอผู้ป่วย 
< 5% 
- มีทีมระงับปวดเป็นผู้ ให้บริการ สร้างความมั่นใจ ในการดูแล 
- มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง จากเทคนิคการระงับปวด 
-จำนวนผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ รุนแรง
9 
3. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (Performance Indicator) 
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน/การดำเนินงาน มี 3 ประเภท ได้แก่ 
1) Process Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดกระบวนการดูแลผู้ป่วยทางวิสัญญี 
กระบวนการที่สำคัญ 
(ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน) 
ผลการดำเนินการ (ร้อยละ) 
เป้าหมาย 
พ.ศ.2553 
พ.ศ. 
2554 
พ.ศ.2555 
1. การดูแลและประเมินก่อนระงับความรู้สึก 
- ร้อยละผู้ป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมและประเมินก่อนให้ยาระงับความรู้สึก* 
100 
100 
100 
100 
- ร้อยละผู้ป่วยได้รับการให้ข้อมูลก่อนให้ยาระงับความรู้สึกและลงชื่อ รับทราบในใบ informed consent 
100 
100 
100 
100 
- อัตราการตอบรับ consult จากวิสัญญีแพทย์ 
> 95 
81 
100 
100 
2. การดูแลขณะระงับความรู้สึก 
- ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริการผ่านการอบรมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย 
100 
100 
100 
100 
- ร้อยละความสมบูรณ์ ถูกต้องและครบถ้วนของแบบบันทึก anesthetic record 
> 80 
86.8 
96.1 
97.2 
3. การดูแลระยะพักฟื้น 
- ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน PACU 
> 85 
100 
100 
100 
- ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับการประเมินก่อนจำหน่ายโดย PADS>9 
> 85 
100 
99.2 
99.5 
- ร้อยละการรายงานแพทย์ก่อนจำหน่ายผู้ป่วยนอก 
> 85 
100 
89.4 
89.4 
- ร้อยละผู้ป่วยที่มีระดับความปวดมากมี NRS > 7 (หลังผ่าตัดที่ห้องพักฟื้น) 
< 5 
4.5 
4.8 
3.6 
4. การดูแลระยะหลังผ่าตัดเพื่อติดตามภาวะแทรกซ้อนและดูแลความ ปวดที่หอผู้ป่วย 
- อัตราการได้รับการเยี่ยมหลังได้รับการระงับความรู้สึก 
> 90 
95 
95 
95.7 
- ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูลการเยี่ยม 
> 95 
95.0 
94.7 
96.2 
หมายเหตุ : * หมายถึง ผู้ป่วยที่มีรายชื่อในตารางผ่าตัด ก่อนเวลา 19.00 น. จะได้รับการเยี่ยมประเมินก่อนผ่าตัดที่ หอผู้ป่วยล่วงหน้า 1 วัน และ ผู้ป่วยที่ set ผ่าตัด elective หลังเวลา 19.00 น. จะได้รับการประเมินก่อนให้ยาระงับความรู้สึก ที่ห้องผ่าตัด และลงบันทึกในใบ Preanesthesia evaluation & preparation 
2) Outcome Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดผลลัพธ์และภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี (Complication of Anesthesia) ที่เกิดจากการให้บริการระงับความรู้สึกตามกระบวนการจนเสร็จสิ้นภายหลังการรับบริการ 24 ชั่วโมง (ที่มาของ ข้อมูลได้จากกลุ่มบริหารความเสี่ยง, กลุ่มสารสนเทศและกลุ่มประกันคุณภาพบริการ)
10 
ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยทางคลินิก (อัตราต่อหมื่น) 
รายการอุบัติการณ์ 
ราชวิทยาลัยฯ 
(THAI Study) (2548) 
ผลการดำเนินงาน(อัตราต่อหมื่น) 
เป้าหมาย 
พ.ศ.2553 
พ.ศ.2554 
พ.ศ.2555 
1. Cardiac arrest 
30.8 
< 30.8 
36.2 
31.7 
22.7 
2. Death 
28.3 
< 28.2 
23.9 
22.5 
15.5 
3. Aspiration 
2.7 
< 2.7 
7.5 
4.4 
7.3 
4. Drug error 
1.3 
< 10.0 
12.3 
8.5 
5.0 
5. Hypothermia(severe) 
Non reported 
0 
0.7 
0 
0.6 
6. Equipment malfunction/ failure 
3.4 
< 3.4 
6.8 
4.9 
2.8 
7. Nerve injury 
2.0 
< 2.0 
1.4 
1.8 
2.2 
8. Esophageal intubation 
4.1 
< 4.1 
1.1 
1.0 
0 
9. ความปลอดภัยของผู้ป่วย/ ตก/ ล้ม 
Non reported 
0 
0 
0.6 
0.6 
10. Mismatch transfusion 
0.2 
0 
1.4 
0.6 
0 
11. Reintubation 
19.4 
< 19.4 
16.9 
12.6 
18.3 
12. Nausea/Vomiting (severe) 
Non reported 
35 
38.2 
34.7 
32.6 
13. Accidental extubation 
Non reported 
ยังไม่ได้ กำหนด 
7.0 
3.6 
5.0 
14. Dental injuries 
Non reported 
12 
17.1 
15.0 
17.0 
15. Awareness 
3.8 
< 3.8 
1.7 
2.3 
1.4 
3) Patient Perception Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดความเข้าใจในการให้บริการ การมีส่วนร่วมในการเลือก ทางเลือกทางวิสัญญีและความพึงพอใจของผู้ป่วย 
กระบวนการที่สำคัญ 
(ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน) 
ร้อยละผลการดำเนินการ (พ.ศ.) 
เป้าหมาย 
พ.ศ.2553 
พ.ศ.2554 
พ.ศ.2555 
- อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริการวิสัญญี 
> 85 
98 
99.2 
99.7 
- ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริการ APS 
> 85 
99.5 
98.8 
99.4 
- ร้อยละของความพึงพอใจของบุคลากรที่มารับบริการวิสัญญี 
> 75 
Non reported 
Non reported 
79.9 
4. กระบวนการหรือระบบงานเพื่อบรรลุเป้าหมายและมีคุณภาพ 
4.1 ระบบงานที่ใช้อยู่ปัจจุบันเพื่อให้เป็นไปตามสิ่งที่คาดหวังและป้องกันความเสี่ยงสำคัญในแต่ละกระบวนการ (รวมทั้งงานพัฒนาคุณภาพที่เสร็จสิ้นแล้ว) ใช้แนวคิดของมาตรฐาน HA เป็นกรอบในการวางระบบประกันคุณภาพบริการ โดยมิติของกระบวนการพัฒนาใช้หลักแนวคิด 3Cได้แก่ บริบทของวิสัญญี (context), มาตรฐานของวิชาชีพวิสัญญี (criteria/ standard) และ หลักคิดสำคัญ (core value & concepts) มาเป็นกรอบในการพัฒนากระบวนการ/กิจกรรมคุณภาพ และ
11 
ควบคุมคุณภาพโดยใช้วงจร PDSA (Deming Cycle) เกิดกระบวนการเรียนรู้ภายในกลุ่มงาน ใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งจัด อย่างสม่ำเสมอเดือนละ1 ครั้ง/กลุ่ม และนำมาเรียนรู้ร่วมกันทั้งหน่วยงาน ปีละ3 ครั้ง/กลุ่ม มีการสื่อสารโดย website ของ ภาควิชาฯ, E-mail และบอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 
ติดตามผลลัพธ์ทางคลินิกเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนที่วิสัญญีมีส่วนเกี่ยวข้อง (incidence related to anesthesia) โดยการติดตามเยี่ยมหลังผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง และปฏิบัติตามแนวทางการรายงานอุบัติการณ์ที่กำหนด นำมาทบทวนทุก สัปดาห์ในกิจกรรม M&M Conferences เพื่อร่วมกันปรับปรุงการบริการ ตัวอย่างอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นและมีการพัฒนา แนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยจนสามารถลดอุบัติการณ์ลงได้มาก เช่น Nausea/Vomiting (severe) และ drug error เป็นต้น 
ผลการดำเนินกิจกรรมคุณภาพ ได้แก่ 
1) มีการกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ (key performance indicators: KPI) ในแต่ละกลุ่มงานที่ชัดเจน โดยคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพบริการวิสัญญีดูแลรับผิดชอบ มีเป้าหมายของการทำงาน และสามารถทำงานได้ตรงตามเป้าหมาย 
2) มีการจัดทำ MM conference นำเสนอกรณีศึกษาใหม่ องค์ความรู้ใหม่อย่างสม่ำเสมอจนเป็นวัฒนธรรมการเรียนรู้ ร่วมกันในทุกระดับที่เกี่ยวข้อง 
3) มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ดี มีการจัดทำ clinical practice guideline ใหม่ ตามภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น เป็นปัญหาเรียงตามความสำคัญ โดยผ่านที่ประชุมภาควิชา เช่น แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับเลือดปริมาณมาก แนวทางการให้ยา เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย และทบทวนที่มีอยู่แล้วอย่างสม่ำเสมอ 
4) มีการจัดทีมเฉพาะทางวิสัญญีเพื่อรับผิดชอบผู้ป่วยเฉพาะทางมากขึ้น เช่น ทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ ทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยโรคหัวใจ เป็นต้น มีการจัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสมและทันสมัย 
5) มีการนำเครื่องมือ Lean มาใช้ในการพัฒนางาน โดยร่วมมือกับฝ่ายพัฒนาคุณภาพจัดอบรม วันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม 2554 และวางแผนให้มีกิจกรรม/โครงการที่ใช้เครื่องมือ Lean 4 โครงการซึ่งอยู่ระหว่างดำเนินการ 
4.2 การพัฒนาคุณภาพที่อยู่ระหว่างดำเนินการ 
- จัดตั้ง PCT เพื่อประสานกับ CLTต่าง ๆ ในการจัดการความเสี่ยงที่สำคัญด้านคลินิก เช่น PCT ศัลยกรรม, สูติ-นรี เวช, ออร์โธปิดิกส์ หรือศัลยกรรมเด็กเป็นต้น โดยเน้นการดูแลผู้ป่วยภายใต้กรอบแนวคิด Patient Safety: SIMPLE (Safe Surgery) ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น 
- ติดตามการควบคุมการประกันกระบวนการดูแลทางคลินิกโดยกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการ ที่มีหัวหน้ากลุ่ม ต่างๆเป็นสมาชิก ร่วมหารือทุกเดือน 
- วางแผนพัฒนาระบบยา 
- นำเครื่องมือ Lean มาใช้พัฒนางานตามนโยบายของโรงพยาบาล 
- พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้นเพื่อตอบสนองพันธกิจและยุทธศาสตร์ของคณะฯ 
5. แผนพัฒนาต่อเนื่อง 
- เพิ่มจำนวนกิจกรรม/โครงการที่มีการใช้ R2R และ Lean เป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับ การแก้ปัญหางานประจำ 
- พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือเรียนรู้มากขึ้นในทุกระดับ 
- พัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ให้มีความชัดเจนมากขึ้น โดยบูรณาการเข้ากับอุบัติการณ์ทางคลินิกที่ยังมี แนวโน้มสูง เช่น Aspiration, Drug Error เป็นต้น
12 
- พัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่างๆในผ่าตัด เช่นทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยทำ ผ่าตัด Liver Transplantation โดยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงให้บุคลากรอื่นในทีม และจัดทำ แนวทางการผ่าตัดการระงับความรู้สึกผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนตับ 
- พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ก้าวหน้าทางวิชาชีพ

More Related Content

What's hot

SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 

What's hot (20)

จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58
 

Viewers also liked

การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกการเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกtechno UCH
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทqcstandard
 
Brachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krrBrachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krrramachandra reddy
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Current Projects
Current ProjectsCurrent Projects
Current ProjectsFrank Jing
 
หลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจกหลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจกNutthawuth Kanasup
 
รูปพื้นที่ผิว
รูปพื้นที่ผิวรูปพื้นที่ผิว
รูปพื้นที่ผิวKrueed Huaybong
 
Iñigo Aranguren, eguberrietako postala
Iñigo Aranguren, eguberrietako postalaIñigo Aranguren, eguberrietako postala
Iñigo Aranguren, eguberrietako postalaaskain2
 

Viewers also liked (20)

การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกการเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
 
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand. Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Patient safety goals SIMPLE
Patient safety goals  SIMPLEPatient safety goals  SIMPLE
Patient safety goals SIMPLE
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
Brachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krrBrachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krr
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Las 48 leyes del poder
Las 48 leyes del poderLas 48 leyes del poder
Las 48 leyes del poder
 
Current Projects
Current ProjectsCurrent Projects
Current Projects
 
หลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจกหลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจก
 
รูปพื้นที่ผิว
รูปพื้นที่ผิวรูปพื้นที่ผิว
รูปพื้นที่ผิว
 
Decimales: Valor Posicional
Decimales: Valor PosicionalDecimales: Valor Posicional
Decimales: Valor Posicional
 
Presentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTXPresentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTX
 
Hola mundo
Hola mundoHola mundo
Hola mundo
 
Iñigo Aranguren, eguberrietako postala
Iñigo Aranguren, eguberrietako postalaIñigo Aranguren, eguberrietako postala
Iñigo Aranguren, eguberrietako postala
 
Transfer Printable fabrics Silhouette Cameo 2
Transfer Printable fabrics Silhouette Cameo 2Transfer Printable fabrics Silhouette Cameo 2
Transfer Printable fabrics Silhouette Cameo 2
 

Similar to Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsNeung Arnat
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofSunee Suvanpasu
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxchutithamnillaphat
 
งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3iamying
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559 Kamol Khositrangsikun
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานtepiemsak
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.dentyomaraj
 
Experience of nursing practice roles of apn
Experience of nursing practice roles of apnExperience of nursing practice roles of apn
Experience of nursing practice roles of apnSunee Suvanpasu
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Warunee Eauchai
 

Similar to Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013 (20)

(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditions
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
Qa nus-dansaihospital
Qa nus-dansaihospitalQa nus-dansaihospital
Qa nus-dansaihospital
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles of
 
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง  7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
 
งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
 
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 
Experience of nursing practice roles of apn
Experience of nursing practice roles of apnExperience of nursing practice roles of apn
Experience of nursing practice roles of apn
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013
 

Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

  • 1. 1 Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ (1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) (ชุด update 16 มิถุนายน 2556) จัดทำโดย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ งานบริการวิสัญญี ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มิถุนายน, 2556)
  • 2. 2 Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555) 1. บริบท ก. หน้าที่และเป้าหมาย งานบริการวิสัญญีเป็นงานที่ให้บริการระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ซึ่งเป็นสถานพยาบาล โรงเรียนแพทย์ ที่มีศักยภาพในการให้บริการระดับตติยภูมิ มีเป้าหมายให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ได้คุณภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อความปลอดภัยและพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้รับบริการ โดย 1. ให้บริการระงับความรู้สึกตามมาตรฐานวิชาชีพที่ครอบคลุมทุกขั้นตอนโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 2. วางแผนและประสานงานในทีมบริการที่เกี่ยวข้อง 3. ลดอุบัติการณ์/ความเสี่ยงทางวิสัญญีโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 4. วิเคราะห์ความต้องการกลุ่มผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกเพื่อเพิ่มความพึงพอใจ 5. พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการแก่ผู้ป่วย 6. ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย เจ้าหน้าที่และสิ่งแวดล้อม 7. สนับสนุนเทคนิคบริการที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและการวิจัย ข. ขอบเขตบริการ งานบริการวิสัญญี ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้การบริการระงับความรู้สึก ผู้ป่วยในห้องผ่าตัด และห้องผ่าตัดคลอดของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ทั้งในเวลาและนอกเวลาราชการ มีการเปิดให้บริการเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2555 จำนวน 3 ห้องผ่าตัด ได้แก่ ห้องผ่าตัด 13 (ในเดือนกรกฎาคม) ห้องผ่าตัดส่องกล้อง (ในเดือนตุลาคม) และ ห้องผ่าตัด 12 (ในเดือนพฤศจิกายน) รวมทั้งหมด 24 ห้อง ปริมาณผู้ป่วยที่เข้ารับบริการวิสัญญีปี พ.ศ. 2553-2555 มีจำนวน 14645, 16425 และ 18082 ราย ตามลำดับ (รายงานสถิติงานบริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์, 2555) เพิ่มมาก ขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 11 ต่อปี ปริมาณผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงทางวิสัญญีตาม The American Society of Anesthesiologists (ASA) Physical Status (PS) ระดับ 3 ขึ้นไป เฉลี่ย 2500 รายต่อปี และมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งในปี พ.ศ. 2555 พบกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคที่มีผลในการระงับความรู้สึก เช่น โรคเกี่ยวกับไต ตับ และหัวใจ มากถึงร้อยละ 56.6 ของผู้ป่วยที่เข้ารับ การผ่าตัด (รายงานสถิติงานบริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2555) จำนวนบุคลากรที่ ให้บริการประกอบด้วยวิสัญญีแพทย์จำนวน 23 คน คน วิสัญญีพยาบาล 58 คน และเจ้าหน้าที่อื่น จำนวน 15 คน มีพยาบาล อยู่ระหว่างฝึกอบรมวิสัญญีพยาบาลอีกจำนวน 11 คน มีเครื่องมือตามเกณฑ์มาตรฐานที่ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศ ไทยกำหนด มีศักยภาพในการให้บริการหัตถการผ่าตัดที่ยุ่งยากซับซ้อนและเฉพาะทาง ที่โรงพยาบาลทั่วไปไม่สามารถทำได้ ได้แก่ ศัลยกรรมทรวงอก หัวใจและหลอดเลือด เช่น Open Heart Surgery CABG การผ่าตัดปอด เป็นต้น รวมถึงการผ่าตัด ปลูกถ่ายอวัยวะ เช่น Kidney Transplantation และ Liver Transplantation เป็นต้น ภาระงานดูแลผู้ป่วยครอบคลุมตั้งแต่ระยะก่อนผ่าตัด โดย สำหรับ elective case จัดให้มีการตรวจเยี่ยมประเมินผู้ป่วย ล่วงหน้าก่อนผ่าตัด 1 วัน ส่วนในกรณี emergency case มีการประเมินทันทีเมื่อมีการเซ็ทผ่าตัด เพื่อค้นหาและประเมินความ เสี่ยง ประกอบการวางแผนในการดูแลผู้ป่วยแต่ละรายก่อนเริ่มให้บริการระงับความรู้สึก ให้ข้อมูลที่จำเป็นที่เกี่ยวกับการระงับ ความรู้สึกแก่ผู้ป่วย ให้ผู้ป่วย/ญาติมีส่วนร่วมในการเลือกเทคนิคและรับทราบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ให้การดูแลช่วยเหลือและ บันทึกข้อมูลระหว่างผ่าตัด ขณะผ่าตัด หลังผ่าตัดระยะแรกที่ห้องพักฟื้น และส่งกลับหอผู้ป่วยหรือหอผู้ป่วยวิกฤติกรณีจำเป็น โดยมีการส่งต่อข้อมูลที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และติดตามเยี่ยมประเมินภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีวิทยาภายใน
  • 3. 3 24 ชั่วโมงหลังผ่าตัด ตลอดจนติดตามดูแลแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่พบภายใน 48 ชั่วโมงหลังผ่าตัด (Safe Anesthesia Care in Srinagarind Hospital. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) ภาพกรอบแนวคิดการควบคุมคุณภาพบริการวิสัญญี Safe Anesthesia Care in SrinagarindHosp. (Daily Work & Quality Activities) 3. PACU 1. Pre-op visit(Initial Assessment) Preanesthesia Quality Improvement OFI IdentificationAnes.complication, Outcome indicator2. Intra-operative Care Perioperative •Monitoring& Evaluation•CPG•Quality manual•Consultation•InnovationPost anesthesia•Qualified personel•Qualified equipment•Quality manual•Consultation •Investigation & •Planning (Team) CQI•KM, R2R, EBM•Conclusion, •Communication•Share & LearnM&M•CPG•Quality manual•Consultation4. Post-0p visit & APS Daily quality review (repeat) (งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553) ค. ผู้รับผลงานและความต้องการที่สำคัญ (จำแนกตามกลุ่มผู้รับผลงาน) ความต้องการของผู้รับบริการ (External customer) ผู้ป่วยและญาติ 1. ได้รับบริการระงับความรู้สึกที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน ซึ่งรองรับการผ่าตัดที่ยากและซับซ้อน 2. ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับขั้นตอนการระงับความรู้สึกและการปฏิบัติตัวทั้งก่อนและหลังรับบริการและมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรู้สึก 3. พบปะพูดคุยกับเจ้าหน้าที่เพื่อรับทราบข้อมูลและซักถามข้อข้องใจ ความต้องการของผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล (Internal customer) แพทย์ผ่าตัด 1. มีการประเมินผู้ป่วยบนพื้นฐานของหลักวิชาอย่างละเอียดรอบคอบ 2. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีการประสานงานในทีมที่มีประสิทธิภาพ 3. มีความรู้และทักษะในการให้บริการที่ดี มีการพัฒนาความรู้อยู่อย่างสม่ำเสมอ 4. มีความเข้าใจในหัตถการของแพทย์ผ่าตัดและสามารถให้บริการที่สอดคล้องทำให้การผ่าตัดดำเนินไปด้วยความ ราบรื่น 5. มีการตัดสินใจที่รวดเร็ว แม่นยำ และรอบคอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย
  • 4. 4 6. มีการวิเคราะห์ความต้องการของแพทย์ผ่าตัดเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนางานบริการ 7. มีอุปกรณ์, เครื่องมือต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้และพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา หอผู้ป่วยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. มีการติดต่อประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบันทึกและส่งต่อข้อมูลที่เชื่อถือได้ 2. นำผู้ป่วยส่งกลับหอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย พยาบาลห้องผ่าตัด 1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีน้ำใจช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการปฏิบัติงาน 2. วางแผนร่วมกันก่อนเริ่มการผ่าตัดเพื่อความราบรื่นในการปฏิบัติงาน เช่น ให้ความร่วมมือในการทำ surgical safety checklist 3. ให้ความร่วมมือรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ให้สะอาดปราศจากเชื้อโรค 4. ช่วยรับผิดชอบในอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น suction ไม้รองแขน เป็นต้น ง. ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ 1. ให้บริการวิสัญญีที่มีการควบคุมมาตรฐานด้วยระบบประกันคุณภาพที่ครอบคลุมทุกขั้นตอน มีการพัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง 2. ให้บริการโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้ป่วยทุกรายมีสิทธิเท่าเทียมกันในการได้รับบริการวิสัญญีที่ได้มาตรฐาน แห่งวิชาชีพ 3. ผู้ป่วย/ญาติมีการรับทราบข้อมูลและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรู้สึกบนพื้นฐานความ ปลอดภัย 4. บุคลากรผู้ปฏิบัติงานพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถที่ทันสมัยอยู่เสมอ 5. ค้นหาความเสี่ยงและลดอุบัติการณ์ที่เกิดจากบริการวิสัญญี จ. ความท้าทาย ความเสี่ยงที่สำคัญ จุดเน้นในการพัฒนา ความท้าทาย ความเสี่ยงที่สำคัญ จุดเน้นในการพัฒนา 1. เป็นโรงพยาบาล โรงเรียนแพทย์ที่มี ศักยภาพบริการแบบตติย ภูมิ ประเภทของผู้ป่วยมี ความซับซ้อนของโรคและ มีความยากในการดูแล รักษาจึงต้องมีการ - พัฒนาคน - พัฒนาระบบ - พัฒนากระบวนการ - ความผิดพลาดในการประเมิน ความเสี่ยงและการดูแล - การส่งต่อข้อมูลไม่สมบูรณ์ - การประสานงานบกพร่อง - การฟ้องร้อง - พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางเพื่อรองรับความยากของงานและลด ความเสี่ยง ข้อขัดแย้งในการประสานในทีม เช่น ทีม kidney transplantation และ liver transplantation เป็นต้น - เน้นด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยมีระบบบริหารความ เสี่ยงและการประกันคุณภาพบริการ - มีการประเมินผู้ป่วยร่วมกันในทีมสหสาขา และมีระบบการ ปรึกษาเฉพาะทาง เช่น การขอคำปรึกษาทีม cardio-med หรือ ทีมดูแลความปวดเมื่อพบปัญหาในการดูแล, พัฒนาร่วมกับ CLT ต่างๆผ่านผู้ประสานเพื่อลดความเสี่ยงตามแนวคิด Thai Patient Safety Goals : SIMPLE - พัฒนาระบบการติดต่อสื่อสารภายในทีมผู้ให้บริการ ผ่านทีม บริหารความเสี่ยง, กลุ่มงานประกันคุณภาพ และสร้างทีม ประสานแต่ละ PCT/CLT เพิ่มเติมขึ้น เพื่อแก้ปัญหาได้ตรง
  • 5. 5 ความท้าทาย ความเสี่ยงที่สำคัญ จุดเน้นในการพัฒนา ประเด็นมากขึ้น - ติดตามภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญโดยกรรมการบริหารความ เสี่ยง และร่วมอบรมหลักสูตรการเจรจาไกล่เกลี่ยกับทีมบริหาร ความเสี่ยงของโรงพยาบาลเพื่อดูแลบริหารจัดการความเสี่ยง เบื้องต้นที่เกิดภายในองค์กร 2. Excellent Center ด้าน การปลูกถ่ายอวัยวะ ได้แก่ Renal Transplantation และ Liver Transplantation เป็นต้น - ขาดความรู้ ความชำนาญของ ทีมงานเฉพาะทาง - พัฒนาบุคลากรกลุ่มงานที่มีความเฉพาะ ได้แก่ทีมระงับ ความรู้สึกการผ่าตัดเปลี่ยนไตและเปลี่ยนตับ เช่น การเข้าร่วม อบรม ทบทวนความรู้การผ่าตัดไต - อบรม ดูงานเพื่อเพิ่มศักยภาพเช่นการส่งบุคลากรร่วมดูงาน liver transplantation ณ ประเทศญี่ปุ่นและออสเตรเลีย - ทบทวนแนวทางการระงับความรู้สึกผู้ป่วยผ่าตัดปลูกถ่ายไต ที่จัดทำและปรับปรุง - จัดทีมผู้ชำนาญเฉพาะทางกำกับการดูแลผู้ป่วย 3.ให้บริการนอกสถานที่ เช่น การทำการวินิจฉัย ด้วย Angiogram และ MRI เป็นต้น -ความไม่พร้อม ไม่ชำนาญของ ทีมผู้ช่วยเหลือหากมีกรณี ฉุกเฉิน - วางระบบการบริหารจัดการงานบริการนอกสถานที่ โดยให้มี ผู้รับผิดชอบประจำ - ดูแลจัดอุปกรณ์ที่สำคัญสมบูรณ์พร้อมใช้ตลอดเวลา - จัดให้มีทีมชำนาญเฉพาะเพื่อลดความเสี่ยง - มีระบบขอความช่วยเหลือด่วนผ่านวิทยุติดตามตัว ฉ. ปริมาณงานและทรัพยากร(คน เทคโนโลยี เครื่องมือ) ปริมาณงาน จำนวนผู้ป่วย พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด (รวม) 14,645 16,425 18,082 - ผู้ป่วยใน :ราย (ร้อยละ) 14,147 (96.6) 15,751 (95.9) 17,200 (95.2%) - ผู้ป่วยนอก :ราย (ร้อยละ) 268 (1.8) 452 (2.8) 678 (3.7) - ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 230 (1.6) 222 (1.3) 204 (1.1%) ประเภทผู้ป่วย - Elective :ราย (ร้อยละ) 11,270 (77.0) 12,957 (78.9) 14,231(78.7) - Emergency :ราย (ร้อยละ) 3,307 (22.6) 3,417 (20.8) 3,791 (21.0) - ไม่ระบุ :ราย (ร้อยละ) 68 (0.4) 51 (0.3) 60 (0.3) - มี Underlying disease (ร้อยละ) 55.2 56.6 56.6 -ไม่มี Underlying disease (ร้อยละ) 44.8 43.4 43.4 ประเภทการระงับความรู้สึก - Regional Anesthesia (RA) 2,661 (18.2) 2,770 (16.9) 2,968 (16.4) - General Anesthesia (GA) 10,710 (73.1) 12,290 (74.8) 13,480 (74.5) - Combined GA& RA 952 (6.5) 1,011 (6.2) 1,224 (6.8)
  • 6. 6 - MAC 312 (2.1) 338 (2.1) 400 (2.2) -ไม่ระบุ 10 (0.1) 16 (0.1) 10 (0.1) ทรัพยากรบุคคล จำนวนบุคลากรกลุ่มต่าง ๆ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 วิสัญญีแพทย์ 15 21 23 วิสัญญีพยาบาล 50 51 58 อยู่ระหว่างอบรมวิสัญญีพยาบาล 1 7 11 เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนงานบริการ 13 14 15 เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ให้บริการทางวิสัญญี การจัดเครื่องมือและอุปกรณ์ (ตามเกณฑ์มาตรฐานของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์) พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 - เครื่องให้ยาสลบ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด (มีเครื่องสำรองใช้) มี มี มี - เครื่องช่วยหายใจ 1 เครื่อง/ห้องผ่าตัด (มีเครื่องสำรองใช้) มี มี มี - อุปกรณ์เพื่อจัดการเปิดทางเดินหายใจตามมาตรฐาน (มีอุปกรณ์สำรองใช้ มีรถเตรียมอุปกรณ์สำหรับ difficult intubation) มีทุกห้องผ่าตัด มี มี มี - มี Fiberoptic bronchoscope สำรองใช้ส่วนกลาง มี มี มี - มีอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพพร้อมใช้ (มีชุดยาสำหรับ CPR สำรองใช้ 3 ตำแหน่งได้แก่ PACU1, PACU2 และ Supply) มี มี มี - มีเครื่อง suction ทุกห้องผ่าตัด มี มี มี - มีอุปกรณ์ในการติดตามอาการผู้ป่วย มี มี มี - มีเครื่องเป่าลมร้อนอย่างน้อย 1 เครื่องต่อ 1ห้องผ่าตัด มี มี มี 2. กระบวนการสำคัญ (Key Process) กระบวนการสำคัญ สิ่งที่คาดหวัง ความเสี่ยงที่สำคัญ ตัวชี้วัดที่สำคัญ 1. การเตรียมความ พร้อมของผู้ป่วยและ การวางแผน - มีการประเมินก่อนเริ่มต้น ให้การระงับความรู้สึก สำหรับผู้ป่วยแต่ละรายเพื่อ การค้นหาและป้องกันความ เสี่ยงโดยผู้มีคุณวุฒิ และ วางแผนการระงับความรู้สึก สำหรับผู้ป่วยแต่ละราย - ผู้ป่วยได้รับการประเมินไม่ ครอบคลุมประเด็นที่สำคัญ - กรณีรายที่วินิจฉัยมีโรค ซับซ้อนไม่ได้รับการปรึกษา ผู้ที่ชำนาญกว่าก่อนการ ผ่าตัด - ขาดพยานบุคคล - เครื่องมือหรืออุปกรณ์มี ปัญหาขณะให้บริการ - อัตราผู้ป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมและ ประเมินเพื่อจัดแบ่งลำดับความสำคัญ ตามความเสี่ยง ASA ก่อนให้ยาระงับ ความรู้สึก - อัตราผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยได้รับการ ให้ข้อมูลก่อนให้ยาระงับความรู้สึกและ ลงชื่อยินยอมในใบ informed consent - อัตราการตรวจสอบเครื่องดมยาสลบ
  • 7. 7 กระบวนการสำคัญ สิ่งที่คาดหวัง ความเสี่ยงที่สำคัญ ตัวชี้วัดที่สำคัญ - เกิดสถานการณ์ไม่เป็นตาม แผนการดูแลที่วางไว้ และ monitor ก่อนให้บริการ - มีการอธิบายประเด็นเรื่อง ความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นและทางเลือก ในการระงับความรู้สึกให้แก่ ผู้ป่วย ครอบครัว หรือผู้ที่ ตัดสินใจแทนผู้ป่วย -การเตรียมความพร้อมของ เครื่องมือ อุปกรณ์ และยา โดยวางแผนปรึกษาภายใน ทีมและผู้ชำนาญกว่า 2. ให้การระงับ ความรู้สึก - ผู้ป่วยทุกรายได้รับการเฝ้า ระวังระหว่างให้ยาระงับ ความรู้สึกตามมาตรฐาน ASA - บุคลากรไม่ปฏิบัติตาม แนวทางที่กำหนด - ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริการผ่านการ อบรมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศ ไทย - มีการปฏิบัติตามแนว ทางการให้บริการวิสัญญีที่ สำคัญ - จำนวนแนวทางปฏิบัติที่สำคัญ -กระบวนการระงับ ความรู้สึกเป็นไปอย่าง ราบรื่นและปลอดภัยตาม มาตรฐานวิชาชีพ - อัตราการเกิดอุบัติการณ์ขณะระงับ ความรู้สึก -วางแผนการให้ยาหรือ เทคนิคระงับปวด - อัตราการติดตามและบันทึกข้อมูล ผู้ป่วยระหว่างระงับความรู้สึก - อัตราการเกิดอุบัติการณ์ต่างๆ - ความสมบูรณ์ของการบันทึก - ร้อยละความสมบูรณ์ ถูกต้องและ ครบถ้วนของแบบบันทึก anesthetic record 3. การดูแลผู้ป่วยใน ห้องพักฟื้น(PACU) ดูแลความปวด และ นำส่งผู้ป่วยไปที่หอ ผู้ป่วย/กลับบ้าน - ผู้ป่วยได้รับการดูแลตาม มาตรฐาน และได้รับการ ดูแลความปวดที่เหมาะสม -ไม่ได้รับการประเมินและให้ การดูแลที่เหมาะสม -ภาวะแทรกซ้อนในห้อง พัก ฟื้น เช่น desaturation, ความปลอดภัยของผู้ป่วย - ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ได้รับ การดูแลตามมาตรฐาน PACU - ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับการประเมิน ก่อนจำหน่ายโดย PADS>9 - ร้อยละการรายงานแพทย์ก่อน
  • 8. 8 กระบวนการสำคัญ สิ่งที่คาดหวัง ความเสี่ยงที่สำคัญ ตัวชี้วัดที่สำคัญ ตกเตียง/ล้ม, accidental extubation, drug Error เป็นต้น - การส่งต่อข้อมูลผิดพลาด และไม่ครบถ้วน จำหน่ายผู้ป่วยนอก 4. ตรวจเยี่ยมผู้ป่วย หลังผ่าตัด 24 ชม. เพื่อติดตามการเกิด ภาวะแทรกซ้อนที่ สำคัญ (incident related to anesthesia) - มีการติดตาม ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก บริการทางวิสัญญี - ประเมินและบันทึก ภาวะแทรกซ้อนได้ไม่ ครบถ้วนทุกราย - อัตราการได้รับการเยี่ยมหลังได้รับ การระงับความรู้สึก - บันทึกข้อมูลการให้บริการ วิสัญญีอย่างครบถ้วน - บันทึกไม่ครบถ้วน คลาดเคลื่อน ทำให้การนำ ข้อมูลไปวิเคราะห์ผิดพลาด - ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูล การเยี่ยม -ผู้ป่วยรับทราบข้อมูลการ ปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน - ผู้ป่วยได้รับการดูแล ต่อเนื่องและพึงพอใจ - ความไม่พึงพอใจการ บริการ - เสี่ยงต่อการถูกฟ้องร้อง - อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วย ในบริการวิสัญญี - ข้อร้องเรียน 5. ให้บริการระงับ ปวดโดยหน่วยระงับ ปวด - ผู้ป่วยได้รับทราบและมี ส่วนร่วมในการเลือกเทคนิค การระงับปวดก่อนผ่าตัด - ผู้ป่วยได้รับเทคนิคการ ระงับปวดอย่างเหมาะสม มี คุณภาพชีวิตที่ดีหลังผ่าตัด - ผู้ป่วยได้รับบริการไม่ทั่วถึง - อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับ บริการ APS > 85% - ผู้ป่วยได้รับการประเมิน อาการปวด (ตาม pain score) เกี่ยวกับระดับความ รุนแรงและลักษณะความ ปวดอย่างต่อเนื่อง - ผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแล ระงับปวดตามเกณฑ์ที่ กำหนด - อัตราผู้ป่วยที่มีระดับความปวดมาก (NRS>7) ก่อนส่งกลับหอผู้ป่วย < 5% - มีทีมระงับปวดเป็นผู้ ให้บริการ สร้างความมั่นใจ ในการดูแล - มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง จากเทคนิคการระงับปวด -จำนวนผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ รุนแรง
  • 9. 9 3. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (Performance Indicator) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน/การดำเนินงาน มี 3 ประเภท ได้แก่ 1) Process Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดกระบวนการดูแลผู้ป่วยทางวิสัญญี กระบวนการที่สำคัญ (ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน) ผลการดำเนินการ (ร้อยละ) เป้าหมาย พ.ศ.2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ.2555 1. การดูแลและประเมินก่อนระงับความรู้สึก - ร้อยละผู้ป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมและประเมินก่อนให้ยาระงับความรู้สึก* 100 100 100 100 - ร้อยละผู้ป่วยได้รับการให้ข้อมูลก่อนให้ยาระงับความรู้สึกและลงชื่อ รับทราบในใบ informed consent 100 100 100 100 - อัตราการตอบรับ consult จากวิสัญญีแพทย์ > 95 81 100 100 2. การดูแลขณะระงับความรู้สึก - ร้อยละบุคลากรผู้ให้บริการผ่านการอบรมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย 100 100 100 100 - ร้อยละความสมบูรณ์ ถูกต้องและครบถ้วนของแบบบันทึก anesthetic record > 80 86.8 96.1 97.2 3. การดูแลระยะพักฟื้น - ร้อยละของผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน PACU > 85 100 100 100 - ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับการประเมินก่อนจำหน่ายโดย PADS>9 > 85 100 99.2 99.5 - ร้อยละการรายงานแพทย์ก่อนจำหน่ายผู้ป่วยนอก > 85 100 89.4 89.4 - ร้อยละผู้ป่วยที่มีระดับความปวดมากมี NRS > 7 (หลังผ่าตัดที่ห้องพักฟื้น) < 5 4.5 4.8 3.6 4. การดูแลระยะหลังผ่าตัดเพื่อติดตามภาวะแทรกซ้อนและดูแลความ ปวดที่หอผู้ป่วย - อัตราการได้รับการเยี่ยมหลังได้รับการระงับความรู้สึก > 90 95 95 95.7 - ความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูลการเยี่ยม > 95 95.0 94.7 96.2 หมายเหตุ : * หมายถึง ผู้ป่วยที่มีรายชื่อในตารางผ่าตัด ก่อนเวลา 19.00 น. จะได้รับการเยี่ยมประเมินก่อนผ่าตัดที่ หอผู้ป่วยล่วงหน้า 1 วัน และ ผู้ป่วยที่ set ผ่าตัด elective หลังเวลา 19.00 น. จะได้รับการประเมินก่อนให้ยาระงับความรู้สึก ที่ห้องผ่าตัด และลงบันทึกในใบ Preanesthesia evaluation & preparation 2) Outcome Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดผลลัพธ์และภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี (Complication of Anesthesia) ที่เกิดจากการให้บริการระงับความรู้สึกตามกระบวนการจนเสร็จสิ้นภายหลังการรับบริการ 24 ชั่วโมง (ที่มาของ ข้อมูลได้จากกลุ่มบริหารความเสี่ยง, กลุ่มสารสนเทศและกลุ่มประกันคุณภาพบริการ)
  • 10. 10 ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยทางคลินิก (อัตราต่อหมื่น) รายการอุบัติการณ์ ราชวิทยาลัยฯ (THAI Study) (2548) ผลการดำเนินงาน(อัตราต่อหมื่น) เป้าหมาย พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 1. Cardiac arrest 30.8 < 30.8 36.2 31.7 22.7 2. Death 28.3 < 28.2 23.9 22.5 15.5 3. Aspiration 2.7 < 2.7 7.5 4.4 7.3 4. Drug error 1.3 < 10.0 12.3 8.5 5.0 5. Hypothermia(severe) Non reported 0 0.7 0 0.6 6. Equipment malfunction/ failure 3.4 < 3.4 6.8 4.9 2.8 7. Nerve injury 2.0 < 2.0 1.4 1.8 2.2 8. Esophageal intubation 4.1 < 4.1 1.1 1.0 0 9. ความปลอดภัยของผู้ป่วย/ ตก/ ล้ม Non reported 0 0 0.6 0.6 10. Mismatch transfusion 0.2 0 1.4 0.6 0 11. Reintubation 19.4 < 19.4 16.9 12.6 18.3 12. Nausea/Vomiting (severe) Non reported 35 38.2 34.7 32.6 13. Accidental extubation Non reported ยังไม่ได้ กำหนด 7.0 3.6 5.0 14. Dental injuries Non reported 12 17.1 15.0 17.0 15. Awareness 3.8 < 3.8 1.7 2.3 1.4 3) Patient Perception Indicator หมายถึง ตัวชี้วัดความเข้าใจในการให้บริการ การมีส่วนร่วมในการเลือก ทางเลือกทางวิสัญญีและความพึงพอใจของผู้ป่วย กระบวนการที่สำคัญ (ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน) ร้อยละผลการดำเนินการ (พ.ศ.) เป้าหมาย พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 - อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริการวิสัญญี > 85 98 99.2 99.7 - ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริการ APS > 85 99.5 98.8 99.4 - ร้อยละของความพึงพอใจของบุคลากรที่มารับบริการวิสัญญี > 75 Non reported Non reported 79.9 4. กระบวนการหรือระบบงานเพื่อบรรลุเป้าหมายและมีคุณภาพ 4.1 ระบบงานที่ใช้อยู่ปัจจุบันเพื่อให้เป็นไปตามสิ่งที่คาดหวังและป้องกันความเสี่ยงสำคัญในแต่ละกระบวนการ (รวมทั้งงานพัฒนาคุณภาพที่เสร็จสิ้นแล้ว) ใช้แนวคิดของมาตรฐาน HA เป็นกรอบในการวางระบบประกันคุณภาพบริการ โดยมิติของกระบวนการพัฒนาใช้หลักแนวคิด 3Cได้แก่ บริบทของวิสัญญี (context), มาตรฐานของวิชาชีพวิสัญญี (criteria/ standard) และ หลักคิดสำคัญ (core value & concepts) มาเป็นกรอบในการพัฒนากระบวนการ/กิจกรรมคุณภาพ และ
  • 11. 11 ควบคุมคุณภาพโดยใช้วงจร PDSA (Deming Cycle) เกิดกระบวนการเรียนรู้ภายในกลุ่มงาน ใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งจัด อย่างสม่ำเสมอเดือนละ1 ครั้ง/กลุ่ม และนำมาเรียนรู้ร่วมกันทั้งหน่วยงาน ปีละ3 ครั้ง/กลุ่ม มีการสื่อสารโดย website ของ ภาควิชาฯ, E-mail และบอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ติดตามผลลัพธ์ทางคลินิกเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนที่วิสัญญีมีส่วนเกี่ยวข้อง (incidence related to anesthesia) โดยการติดตามเยี่ยมหลังผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง และปฏิบัติตามแนวทางการรายงานอุบัติการณ์ที่กำหนด นำมาทบทวนทุก สัปดาห์ในกิจกรรม M&M Conferences เพื่อร่วมกันปรับปรุงการบริการ ตัวอย่างอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นและมีการพัฒนา แนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยจนสามารถลดอุบัติการณ์ลงได้มาก เช่น Nausea/Vomiting (severe) และ drug error เป็นต้น ผลการดำเนินกิจกรรมคุณภาพ ได้แก่ 1) มีการกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ (key performance indicators: KPI) ในแต่ละกลุ่มงานที่ชัดเจน โดยคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพบริการวิสัญญีดูแลรับผิดชอบ มีเป้าหมายของการทำงาน และสามารถทำงานได้ตรงตามเป้าหมาย 2) มีการจัดทำ MM conference นำเสนอกรณีศึกษาใหม่ องค์ความรู้ใหม่อย่างสม่ำเสมอจนเป็นวัฒนธรรมการเรียนรู้ ร่วมกันในทุกระดับที่เกี่ยวข้อง 3) มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ดี มีการจัดทำ clinical practice guideline ใหม่ ตามภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น เป็นปัญหาเรียงตามความสำคัญ โดยผ่านที่ประชุมภาควิชา เช่น แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับเลือดปริมาณมาก แนวทางการให้ยา เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย และทบทวนที่มีอยู่แล้วอย่างสม่ำเสมอ 4) มีการจัดทีมเฉพาะทางวิสัญญีเพื่อรับผิดชอบผู้ป่วยเฉพาะทางมากขึ้น เช่น ทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ ทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยโรคหัวใจ เป็นต้น มีการจัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสมและทันสมัย 5) มีการนำเครื่องมือ Lean มาใช้ในการพัฒนางาน โดยร่วมมือกับฝ่ายพัฒนาคุณภาพจัดอบรม วันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม 2554 และวางแผนให้มีกิจกรรม/โครงการที่ใช้เครื่องมือ Lean 4 โครงการซึ่งอยู่ระหว่างดำเนินการ 4.2 การพัฒนาคุณภาพที่อยู่ระหว่างดำเนินการ - จัดตั้ง PCT เพื่อประสานกับ CLTต่าง ๆ ในการจัดการความเสี่ยงที่สำคัญด้านคลินิก เช่น PCT ศัลยกรรม, สูติ-นรี เวช, ออร์โธปิดิกส์ หรือศัลยกรรมเด็กเป็นต้น โดยเน้นการดูแลผู้ป่วยภายใต้กรอบแนวคิด Patient Safety: SIMPLE (Safe Surgery) ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น - ติดตามการควบคุมการประกันกระบวนการดูแลทางคลินิกโดยกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการ ที่มีหัวหน้ากลุ่ม ต่างๆเป็นสมาชิก ร่วมหารือทุกเดือน - วางแผนพัฒนาระบบยา - นำเครื่องมือ Lean มาใช้พัฒนางานตามนโยบายของโรงพยาบาล - พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้นเพื่อตอบสนองพันธกิจและยุทธศาสตร์ของคณะฯ 5. แผนพัฒนาต่อเนื่อง - เพิ่มจำนวนกิจกรรม/โครงการที่มีการใช้ R2R และ Lean เป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับ การแก้ปัญหางานประจำ - พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือเรียนรู้มากขึ้นในทุกระดับ - พัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ให้มีความชัดเจนมากขึ้น โดยบูรณาการเข้ากับอุบัติการณ์ทางคลินิกที่ยังมี แนวโน้มสูง เช่น Aspiration, Drug Error เป็นต้น
  • 12. 12 - พัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่างๆในผ่าตัด เช่นทีมระงับความรู้สึกผู้ป่วยทำ ผ่าตัด Liver Transplantation โดยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงให้บุคลากรอื่นในทีม และจัดทำ แนวทางการผ่าตัดการระงับความรู้สึกผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนตับ - พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ก้าวหน้าทางวิชาชีพ