SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
การดูแลผูป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care)
                            ้
    1. หลักการและเหตุผล
        การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care) เป็นรูปแบบการดูแลสุขภาพแบบ
องค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สําหรับผู้ที่ป่วยด้วยโรคที่คุกคามต่อชีวิต ซึ่งไม่สามารถ
รักษาให้หายขาดได้ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย ผ่านกระบวนการป้องกันและบรรเทาความ
ทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวด ซึ่งมิใช่เป็นเพียงอาการของความผิดปกติทางร่างกายเท่านั้น แต่เป็นผลลัพธ์ที่
เกิดจากสภาวะทางด้านจิตใจของผู้ป่วยด้วย รวมทั้งการให้คําแนะนําต่อญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วย ในการ
เตรียมพร้อมที่จะรับมือกับสภาพความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ที่สดตามบริบทของปัจเจกบุคคล เท่าที่จะทําได้ในเวลาที่เหลืออยู่
    ุ
         การบรรเทาอาการสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย โดยเฉพาะอาการปวด ที่แม้องค์การอนามัยโลกจะให้
ความสําคัญและประกาศว่าเป็นสิทธิมนุษยชนพื้นฐานที่ผู้ป่วยทุกคนพึงได้รับก็ตาม จากสถิติพบว่าวงการแพทย์
ไทยใช้ยามอร์ฟีนในปริมาณที่น้อยมาก สําหรับจํานวนผู้ป่วยมะเร็ง และผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ไม่ได้เป็นมะเร็งอีก
จํานวนมากที่ต้องทนทุกข์ทรมานจากอาการปวดเพราะไม่ได้รับยา ด้วยข้อจํากัดต่าง ๆ จึงส่งผลต่อคุณภาพชีวิต
ของผู้ปวยและครอบครัว
       ่
    2. วัตถุประสงค์
       1. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว ได้รับการดูแลประคับประคองอย่างเป็นองค์รวม ทั้ง
ทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ในชุมชนและที่บ้านอย่างเหมาะสม
      2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับบริการยามอร์ฟีน เพื่อบรรเทาอาการจากความทุกข์ทรมานที่บ้าน
ตามความเหมาะสม
   3. กรอบการบริหารงบประมาณ
    3.1 หลักเกณฑ์การจัดสรร สปสช.ส่วนกลางจัดสรรงบประมาณเป็นรายเขตให้แก่ สปสช.เขต โดยแบ่งการ
จัดสรรเป็น 2 กิจกรรม ได้แก่
            1) การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดเครือข่ายบริการการดูแลผู้ป่วยประคับประคอง ตาม
               เครือข่ายบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองที่มีแม่ข่ายและลูกข่าย ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
               ผลงานบริการระดับดําเนินการตามที่ สปสช.กําหนด ภายใต้วงเงินงบประมาณที่กําหนดใน
               ระดับประเทศ
            2) การให้ยามอร์ฟีนบรรเทาอาการสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่บ้าน / ชุมชน ตามจํานวน
               เครือข่ายบริการที่ได้รับงบการการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดเครือข่ายบริการการดูแล
               ผู้ป่วยแบบประคับประคอง โดยเฉลี่ยเท่ากันทุกเครือข่าย ภายใต้วงเงิน 23,199,840 บาท
    3.2 แนวทางสนับสนุนให้หน่วยบริการ
   การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดเครือข่ายบริการการดูแลผู้ป่วยประคับประคอง และการให้ยามอร์ฟีน
บรรเทาอาการสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่บ้าน / ชุมชน โดยสนับสนุนให้แก่หน่วยบริการที่มีผลการดําเนินงาน
ด้านการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองผ่านเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการระดับดําเนินการ ในอัตราที่สปสช.เขต
กําหนด
    5. เงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care)
     5.1 คุณสมบัติของหน่วยบริการ
          แม่ขายระดับจังหวัด/เขต
              ่
        1) มีรูปแบบบริการ โครงสร้าง และทีมบุคลากร (Multidisciplinary team) ให้บริการการดูแลผู้ป่วย
แบบประคับประคอง
        2) สามารถบริหารจัดการ ให้เกิดระบบบริการแบบเครือข่าย และสนับสนุนการให้บริการของลูกข่าย
เป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการ สนับสนุนการให้บริการดูแลแบบประคับประคองและการใช้ยามอร์ฟีน การนิเทศ
ติดตามงานลูกข่าย
        3) สามารถขยาย/พัฒนารูปแบบเครือข่ายบริการ ทั้งการรับส่งต่อจากลูกข่าย และการส่งกลับผู้ป่วยไป
ยังลูกข่าย / ชุมชน / บ้าน จัดระบบข้อมูลเพื่อการรับส่งต่อ การติดตามประเมินผลการดูแลอย่างต่อเนื่อง
        4)      สามารถจัดอบรมด้านวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบ
ประคับประคองภายในเครือข่ายได้อย่างต่อเนื่อง และมีบุคลากรที่สามารถเข้าร่วมการอบรมที่สปสช.จัดได้
ต่อเนื่อง
       ลูกข่าย
       1) อยู่ในพื้นที่ ซึ่งหน่วยบริการแม่ข่ายสามารถบริหารจัดการในระบบบริการแบบเครือข่าย
       2) มีรูปแบบบริการ โครงสร้างและทีมบุคลากร (Multidisciplinary team) ให้บริการการดูแลผู้ป่วย
แบบประคับประคอง
       3) สามารถขยาย / พัฒนา การให้บริการในรูปแบบเครือข่ายบริการ ทั้งการรับส่งต่อจากแม่ข่าย และ
การส่งกลับผู้ป่วยไปยังชุมชน / บ้าน
       4) มีบุคลากรที่รับผิดชอบงานดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองเข้าร่วมการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน
เครือข่าย รวมทั้งการประชุมในเครือข่ายและการประชุมที่สปสช.จัดได้อย่างต่อเนื่อง
    5.2 เงื่อนไขการจัดระบบบริการ
      1) มีแนวทางการให้บริการผู้ป่วยแบบประคับประคองที่สามารถบูรณการกับการรักษาในแผนกต่าง ๆ
ในโรงพยาบาลได้
      2) ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนความรู้/การมีส่วนร่วมของ
ชุมชนในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน/ชุมชน
      3) จั ดที ม และระบบสนั บสนุ น การดู แ ลที่ บ้ าน /ชุม ชน รวมถึ งแนวทางการบริ ห ารจั ดการเครื่อ งมื อ
ทางการแพทย์
      4) ถอดบทเรียนการดําเนินงานที่ผ่านมา พร้อมทั้งการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง(CQI) การดูแลผู้ป่วย
แบบประคับประคอง โดยสอดคล้องกับปัญหาที่พบในการดําเนินงานที่ผ่านมา
     5.3 เงื่อนไขการให้บริการ
      1) ให้การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเป็นองค์รวม ที่ครอบคลุมด้าน
ร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ
2) ให้การปรึกษา คําแนะนํา แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งพัฒนา
ด้านการวางแผนการดูแลตนเองล่วงหน้า (Advance care plan) ของผู้ป่วย และส่งเสริม Empowerment
การดูแลผู้ป่วยในด้านต่าง ๆ ให้กบครอบครัว
                               ั
        3) พัฒนาการจัดบริการแพทย์แผนไทย หรือแพทย์ทางเลือกอื่นๆ ร่วมด้วย
        4) วางแผนการจําหน่ายผู้ป่วยเป็นรายกรณีเพื่อการส่งต่อ / ส่งกลับผู้ป่วย และการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ระหว่างทีมสุขภาพ ร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
        5) การเตรียมรับสถานการณ์ในกรณีผู้ป่วยและญาติขอรับความช่วยเหลือในกรณีฉกเฉิน เร่งด่วน
                                                                                  ุ
        6) พัฒนา / เตรียมความพร้อมหน่วยบริการใกล้บ้าน/เครือข่าย เพื่อการดูแลประคับประคองอย่าง
ต่อเนื่องและการรักษาอาการทุกข์ทรมานต่างๆ เช่น อาการเจ็บปวด (Pain Management) อาการหอบเหนื่อย
ที่บาน
    ้
        7) สนับสนุนการดูแลที่บ้าน / ชุมชน รวมถึงการบริหารจัดการเครื่องมือทางการแพทย์ บริการทาง
การแพทย์ และของใช้ที่จําเป็นสําหรับผู้ปวยที่ได้รับการดูแลรักษาแบบประคับประคองที่บ้าน
                                       ่
    6. การส่งผลการดําเนินงานการดูแลผู้ป่วยประคับประคอง
       6.1 รายงานการระบบบริการผู้ป่วยแบบประคับประคอง ตั้งแต่เดือนต.ค. 54 – มี.ค. 55 ทั้งนี้
กําหนดส่งผลงานไม่เกิน 31 ส.ค.55 โดยบรรยายรายละเอียดตามหัวข้อที่กําหนด
       ส่วนที่ 1 การจัดระบบบริการ (ส่งรายงานทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย)
           1) โครงสร้าง บุคลากร ความรับผิดชอบ ที่มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบงาน Palliative care
                พร้อมทั้งการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในทีม Palliative care และระบุหัวข้อ
                ที่ได้รับการพัฒนา
           2) การจัดระบบบริการ รายละเอียดในการรายงานมีดังนี้
                    • การจัดระบบริการแนวทางการให้บริการเพื่อผสานการดูแลแบบประคับประคอง
                      ร่วมกับการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการได้ในทุกแผนกบริการ (แนบ
                      Flow ถ้ามี)
                    • เกณฑ์การพิจารณารับผู้ป่วยไว้ในการดูแล หรือเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผู้ป่วย
                      เข้าโครงการแบบประคับประคอง (Criteria for palliative care) จํานวนผู้ป่วยที่
                      ดูแลแยกตามรายโรค พร้อมทั้งระบุโรค 5 อันดับแรก
                    • รูปแบบให้การปรึกษา คําแนะนําการดูแลรักษาผู้ป่วยร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว
                      รวมทั้งการวางแผนการดูแลตนเองล่วงหน้า (Advance care plan) ของผู้ป่วย และ
                      ส่งเสริม Empowerment การดูแลผู้ป่วยในด้านต่าง ๆ ให้กับครอบครัว
                    • การดูแลด้านร่างกาย ได้แก่ การประเมิน บริการที่ให้กับผู้ป่วย และการส่งเสริมให้
                      ผู้ป่วย/ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลด้านร่างกาย พร้อมสถิติการให้การดูแลรักษา
                      และยา 5 อันดับแรกที่ใช้บรรเทาอาการด้านร่างกาย
                    • รูปแบบการดูแลผู้ป่วยทั้งในโรงพยาบาลและการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน/ชุมชน
• การเตรียมรับสถานการณ์ในกรณีผู้ป่วยและญาติขอรับความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน
                     เร่งด่วน
                   • การดูแลครอบครัวระยะหลังสูญเสีย (Bereavement care)
           3) การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ และหรื อ นวตกรรม เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการดู แ ลผู้ ป่ ว ยแบบ
              ประคับประคองในหน่วยบริการ รายละเอียดการรายงานมีดังนี้
                   • การพัฒนาคุณภาพ และหรือนวตกรรม ในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยแบบ
                     ประคับประคอง
                   • สิ่งที่ต้องการสนับสนุนเพิ่มเติม
                   • ปัญหา/อุปสรรค ข้อบกพร่องในการดําเนินงาน แนวทางในการพัฒนา
       ส่วนที่ 2 การบริหารจัดการเครือข่าย (เฉพาะแม่ข่าย)
          1) รายชื่อหน่วยบริการลูกข่าย
          2) แนวทางการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในเครือข่าย การส่งต่อ/รับกลับผู้ป่วยในเครือข่าย
           เช่น แนวทางการดูแลและรับส่งต่อในเครือข่าย หรือ Flow (แผนภูมิ) ที่ใช้ในเครือข่าย, รูปแบบ
           การจัดบริการ
          3) การจัดระบบข้อมูลการรับ – ส่งต่อระหว่างแม่ข่ายและลูกข่าย เพื่อสนับสนุนการดูแลอย่าง
           ต่อเนื่อง เช่น dataset ที่จําเป็น, สมุดประจําตัวผู้ป่วย
          4) การสนับสนุนการดูแลรักษารวมทั้งการจัดบริการด้านต่าง ๆ ในเครือข่าย เช่น การเตรียม
           ความพร้อมเครือข่าย การดูแลรักษาด้านร่างกายโดยใช้ยาบรรเทาอาการ เช่น มอร์ฟีน และ/หรือ
           อุปกรณ์การแพทย์
          5) การสนับสนุนวิชาการ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเครือข่าย เช่น การจัดอบรมเพื่อพัฒนา
           ศักยภาพบุคลากรในเครือข่าย การจัดประชุมวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประสานงานและ
           การนิเทศติดตามงาน พร้อมทั้งระบุหัวข้อในการจัดอบรมในเครือข่ายและหัวข้อในการติดตาม
           นิเทศงานเครือข่าย
          6) การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ และหรื อ นวตกรรม เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการดู แ ลผู้ ป่ ว ยแบบ
           ประคับประคองในเครือข่าย (ถ้ามี)
       6.2 รายงานการให้บริการแบบประคับประคอง ตามแบบ RQ-55-06 (ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์สามารถ
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ www.nhso.go.th/กองทุนต่าง ๆ/กองทุนพัฒนาระบบบริการอื่น ๆ/การดูแลแบบ
ประคับประคอง) ตั้งแต่เดือนต.ค. 54 – มี.ค. 55 กําหนดส่งผลงาน ไม่เกิน 31 ส.ค.55

More Related Content

What's hot

Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10Dr.Suradet Chawadet
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...Dr.Suradet Chawadet
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...Dr.Suradet Chawadet
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอUtai Sukviwatsirikul
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนDr.Suradet Chawadet
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53nipapat
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 

What's hot (20)

Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53) Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
 
Final ad ทศวรรษ
Final ad ทศวรรษFinal ad ทศวรรษ
Final ad ทศวรรษ
 
District Health System : DHS
District Health System : DHSDistrict Health System : DHS
District Health System : DHS
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 

Viewers also liked

Actividades y respuestas
Actividades y respuestasActividades y respuestas
Actividades y respuestasYese Sanchez
 
Il mare e la città programma
Il mare e la città programmaIl mare e la città programma
Il mare e la città programmaVittorio Granato
 
Conventions of my digipack
Conventions of my digipackConventions of my digipack
Conventions of my digipackTanvir Khan
 
Presentation Hao
Presentation HaoPresentation Hao
Presentation Haojasonhao30
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computingLotfi Faik
 
Profils migratoires européens dans la crise
Profils migratoires européens dans la criseProfils migratoires européens dans la crise
Profils migratoires européens dans la criseFrance Stratégie
 
Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...
Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...
Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...France Stratégie
 
Conventions of my digipack
Conventions of my digipackConventions of my digipack
Conventions of my digipackTanvir Khan
 
Conventions of my digipack
Conventions of my digipackConventions of my digipack
Conventions of my digipackTanvir Khan
 
Les pratiques pédagogiques efficaces
Les pratiques pédagogiques efficacesLes pratiques pédagogiques efficaces
Les pratiques pédagogiques efficacesFrance Stratégie
 
Правила поведінки
Правила поведінкиПравила поведінки
Правила поведінкиAnna Marchenko
 
Overview ofmags industry07
Overview ofmags industry07Overview ofmags industry07
Overview ofmags industry07jonesjrah
 
HatchConf Customer Discovery
HatchConf Customer DiscoveryHatchConf Customer Discovery
HatchConf Customer DiscoverySilicon Anchor
 

Viewers also liked (20)

Actividades y respuestas
Actividades y respuestasActividades y respuestas
Actividades y respuestas
 
Il mare e la città programma
Il mare e la città programmaIl mare e la città programma
Il mare e la città programma
 
Book 1
Book 1Book 1
Book 1
 
Budgeting
BudgetingBudgeting
Budgeting
 
Conventions of my digipack
Conventions of my digipackConventions of my digipack
Conventions of my digipack
 
Presentation Hao
Presentation HaoPresentation Hao
Presentation Hao
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
Profils migratoires européens dans la crise
Profils migratoires européens dans la criseProfils migratoires européens dans la crise
Profils migratoires européens dans la crise
 
Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...
Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...
Note d'analyse - Y a-t-il un retard d'investissement en France et en Europe d...
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Conventions of my digipack
Conventions of my digipackConventions of my digipack
Conventions of my digipack
 
Conventions of my digipack
Conventions of my digipackConventions of my digipack
Conventions of my digipack
 
Question One
Question OneQuestion One
Question One
 
Les pratiques pédagogiques efficaces
Les pratiques pédagogiques efficacesLes pratiques pédagogiques efficaces
Les pratiques pédagogiques efficaces
 
Правила поведінки
Правила поведінкиПравила поведінки
Правила поведінки
 
Poveda l iliana_aa3
Poveda l iliana_aa3Poveda l iliana_aa3
Poveda l iliana_aa3
 
Pasos para crear una empresa
Pasos para crear una empresaPasos para crear una empresa
Pasos para crear una empresa
 
Overview ofmags industry07
Overview ofmags industry07Overview ofmags industry07
Overview ofmags industry07
 
Poveda liliana aa2
Poveda liliana aa2Poveda liliana aa2
Poveda liliana aa2
 
HatchConf Customer Discovery
HatchConf Customer DiscoveryHatchConf Customer Discovery
HatchConf Customer Discovery
 

Similar to เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน

หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsNeung Arnat
 
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการIntegrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการmaruay songtanin
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referLampang Hospital
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
Guideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionGuideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 

Similar to เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน (20)

หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditions
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง  7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
 
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการIntegrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
Guideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionGuideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors prevention
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 

เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน

  • 1. การดูแลผูป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care) ้ 1. หลักการและเหตุผล การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care) เป็นรูปแบบการดูแลสุขภาพแบบ องค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สําหรับผู้ที่ป่วยด้วยโรคที่คุกคามต่อชีวิต ซึ่งไม่สามารถ รักษาให้หายขาดได้ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย ผ่านกระบวนการป้องกันและบรรเทาความ ทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวด ซึ่งมิใช่เป็นเพียงอาการของความผิดปกติทางร่างกายเท่านั้น แต่เป็นผลลัพธ์ที่ เกิดจากสภาวะทางด้านจิตใจของผู้ป่วยด้วย รวมทั้งการให้คําแนะนําต่อญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วย ในการ เตรียมพร้อมที่จะรับมือกับสภาพความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่สดตามบริบทของปัจเจกบุคคล เท่าที่จะทําได้ในเวลาที่เหลืออยู่ ุ การบรรเทาอาการสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย โดยเฉพาะอาการปวด ที่แม้องค์การอนามัยโลกจะให้ ความสําคัญและประกาศว่าเป็นสิทธิมนุษยชนพื้นฐานที่ผู้ป่วยทุกคนพึงได้รับก็ตาม จากสถิติพบว่าวงการแพทย์ ไทยใช้ยามอร์ฟีนในปริมาณที่น้อยมาก สําหรับจํานวนผู้ป่วยมะเร็ง และผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ไม่ได้เป็นมะเร็งอีก จํานวนมากที่ต้องทนทุกข์ทรมานจากอาการปวดเพราะไม่ได้รับยา ด้วยข้อจํากัดต่าง ๆ จึงส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ของผู้ปวยและครอบครัว ่ 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว ได้รับการดูแลประคับประคองอย่างเป็นองค์รวม ทั้ง ทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ในชุมชนและที่บ้านอย่างเหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับบริการยามอร์ฟีน เพื่อบรรเทาอาการจากความทุกข์ทรมานที่บ้าน ตามความเหมาะสม 3. กรอบการบริหารงบประมาณ 3.1 หลักเกณฑ์การจัดสรร สปสช.ส่วนกลางจัดสรรงบประมาณเป็นรายเขตให้แก่ สปสช.เขต โดยแบ่งการ จัดสรรเป็น 2 กิจกรรม ได้แก่ 1) การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดเครือข่ายบริการการดูแลผู้ป่วยประคับประคอง ตาม เครือข่ายบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองที่มีแม่ข่ายและลูกข่าย ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการระดับดําเนินการตามที่ สปสช.กําหนด ภายใต้วงเงินงบประมาณที่กําหนดใน ระดับประเทศ 2) การให้ยามอร์ฟีนบรรเทาอาการสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่บ้าน / ชุมชน ตามจํานวน เครือข่ายบริการที่ได้รับงบการการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดเครือข่ายบริการการดูแล ผู้ป่วยแบบประคับประคอง โดยเฉลี่ยเท่ากันทุกเครือข่าย ภายใต้วงเงิน 23,199,840 บาท 3.2 แนวทางสนับสนุนให้หน่วยบริการ การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดเครือข่ายบริการการดูแลผู้ป่วยประคับประคอง และการให้ยามอร์ฟีน บรรเทาอาการสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่บ้าน / ชุมชน โดยสนับสนุนให้แก่หน่วยบริการที่มีผลการดําเนินงาน
  • 2. ด้านการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองผ่านเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการระดับดําเนินการ ในอัตราที่สปสช.เขต กําหนด 5. เงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care) 5.1 คุณสมบัติของหน่วยบริการ แม่ขายระดับจังหวัด/เขต ่ 1) มีรูปแบบบริการ โครงสร้าง และทีมบุคลากร (Multidisciplinary team) ให้บริการการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง 2) สามารถบริหารจัดการ ให้เกิดระบบบริการแบบเครือข่าย และสนับสนุนการให้บริการของลูกข่าย เป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการ สนับสนุนการให้บริการดูแลแบบประคับประคองและการใช้ยามอร์ฟีน การนิเทศ ติดตามงานลูกข่าย 3) สามารถขยาย/พัฒนารูปแบบเครือข่ายบริการ ทั้งการรับส่งต่อจากลูกข่าย และการส่งกลับผู้ป่วยไป ยังลูกข่าย / ชุมชน / บ้าน จัดระบบข้อมูลเพื่อการรับส่งต่อ การติดตามประเมินผลการดูแลอย่างต่อเนื่อง 4) สามารถจัดอบรมด้านวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบ ประคับประคองภายในเครือข่ายได้อย่างต่อเนื่อง และมีบุคลากรที่สามารถเข้าร่วมการอบรมที่สปสช.จัดได้ ต่อเนื่อง ลูกข่าย 1) อยู่ในพื้นที่ ซึ่งหน่วยบริการแม่ข่ายสามารถบริหารจัดการในระบบบริการแบบเครือข่าย 2) มีรูปแบบบริการ โครงสร้างและทีมบุคลากร (Multidisciplinary team) ให้บริการการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง 3) สามารถขยาย / พัฒนา การให้บริการในรูปแบบเครือข่ายบริการ ทั้งการรับส่งต่อจากแม่ข่าย และ การส่งกลับผู้ป่วยไปยังชุมชน / บ้าน 4) มีบุคลากรที่รับผิดชอบงานดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองเข้าร่วมการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน เครือข่าย รวมทั้งการประชุมในเครือข่ายและการประชุมที่สปสช.จัดได้อย่างต่อเนื่อง 5.2 เงื่อนไขการจัดระบบบริการ 1) มีแนวทางการให้บริการผู้ป่วยแบบประคับประคองที่สามารถบูรณการกับการรักษาในแผนกต่าง ๆ ในโรงพยาบาลได้ 2) ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนความรู้/การมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน/ชุมชน 3) จั ดที ม และระบบสนั บสนุ น การดู แ ลที่ บ้ าน /ชุม ชน รวมถึ งแนวทางการบริ ห ารจั ดการเครื่อ งมื อ ทางการแพทย์ 4) ถอดบทเรียนการดําเนินงานที่ผ่านมา พร้อมทั้งการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง(CQI) การดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง โดยสอดคล้องกับปัญหาที่พบในการดําเนินงานที่ผ่านมา 5.3 เงื่อนไขการให้บริการ 1) ให้การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเป็นองค์รวม ที่ครอบคลุมด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ
  • 3. 2) ให้การปรึกษา คําแนะนํา แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งพัฒนา ด้านการวางแผนการดูแลตนเองล่วงหน้า (Advance care plan) ของผู้ป่วย และส่งเสริม Empowerment การดูแลผู้ป่วยในด้านต่าง ๆ ให้กบครอบครัว ั 3) พัฒนาการจัดบริการแพทย์แผนไทย หรือแพทย์ทางเลือกอื่นๆ ร่วมด้วย 4) วางแผนการจําหน่ายผู้ป่วยเป็นรายกรณีเพื่อการส่งต่อ / ส่งกลับผู้ป่วย และการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ระหว่างทีมสุขภาพ ร่วมกับผู้ป่วยและญาติ 5) การเตรียมรับสถานการณ์ในกรณีผู้ป่วยและญาติขอรับความช่วยเหลือในกรณีฉกเฉิน เร่งด่วน ุ 6) พัฒนา / เตรียมความพร้อมหน่วยบริการใกล้บ้าน/เครือข่าย เพื่อการดูแลประคับประคองอย่าง ต่อเนื่องและการรักษาอาการทุกข์ทรมานต่างๆ เช่น อาการเจ็บปวด (Pain Management) อาการหอบเหนื่อย ที่บาน ้ 7) สนับสนุนการดูแลที่บ้าน / ชุมชน รวมถึงการบริหารจัดการเครื่องมือทางการแพทย์ บริการทาง การแพทย์ และของใช้ที่จําเป็นสําหรับผู้ปวยที่ได้รับการดูแลรักษาแบบประคับประคองที่บ้าน ่ 6. การส่งผลการดําเนินงานการดูแลผู้ป่วยประคับประคอง 6.1 รายงานการระบบบริการผู้ป่วยแบบประคับประคอง ตั้งแต่เดือนต.ค. 54 – มี.ค. 55 ทั้งนี้ กําหนดส่งผลงานไม่เกิน 31 ส.ค.55 โดยบรรยายรายละเอียดตามหัวข้อที่กําหนด ส่วนที่ 1 การจัดระบบบริการ (ส่งรายงานทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย) 1) โครงสร้าง บุคลากร ความรับผิดชอบ ที่มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบงาน Palliative care พร้อมทั้งการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในทีม Palliative care และระบุหัวข้อ ที่ได้รับการพัฒนา 2) การจัดระบบบริการ รายละเอียดในการรายงานมีดังนี้ • การจัดระบบริการแนวทางการให้บริการเพื่อผสานการดูแลแบบประคับประคอง ร่วมกับการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการได้ในทุกแผนกบริการ (แนบ Flow ถ้ามี) • เกณฑ์การพิจารณารับผู้ป่วยไว้ในการดูแล หรือเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผู้ป่วย เข้าโครงการแบบประคับประคอง (Criteria for palliative care) จํานวนผู้ป่วยที่ ดูแลแยกตามรายโรค พร้อมทั้งระบุโรค 5 อันดับแรก • รูปแบบให้การปรึกษา คําแนะนําการดูแลรักษาผู้ป่วยร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งการวางแผนการดูแลตนเองล่วงหน้า (Advance care plan) ของผู้ป่วย และ ส่งเสริม Empowerment การดูแลผู้ป่วยในด้านต่าง ๆ ให้กับครอบครัว • การดูแลด้านร่างกาย ได้แก่ การประเมิน บริการที่ให้กับผู้ป่วย และการส่งเสริมให้ ผู้ป่วย/ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลด้านร่างกาย พร้อมสถิติการให้การดูแลรักษา และยา 5 อันดับแรกที่ใช้บรรเทาอาการด้านร่างกาย • รูปแบบการดูแลผู้ป่วยทั้งในโรงพยาบาลและการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน/ชุมชน
  • 4. • การเตรียมรับสถานการณ์ในกรณีผู้ป่วยและญาติขอรับความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน เร่งด่วน • การดูแลครอบครัวระยะหลังสูญเสีย (Bereavement care) 3) การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ และหรื อ นวตกรรม เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการดู แ ลผู้ ป่ ว ยแบบ ประคับประคองในหน่วยบริการ รายละเอียดการรายงานมีดังนี้ • การพัฒนาคุณภาพ และหรือนวตกรรม ในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยแบบ ประคับประคอง • สิ่งที่ต้องการสนับสนุนเพิ่มเติม • ปัญหา/อุปสรรค ข้อบกพร่องในการดําเนินงาน แนวทางในการพัฒนา ส่วนที่ 2 การบริหารจัดการเครือข่าย (เฉพาะแม่ข่าย) 1) รายชื่อหน่วยบริการลูกข่าย 2) แนวทางการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในเครือข่าย การส่งต่อ/รับกลับผู้ป่วยในเครือข่าย เช่น แนวทางการดูแลและรับส่งต่อในเครือข่าย หรือ Flow (แผนภูมิ) ที่ใช้ในเครือข่าย, รูปแบบ การจัดบริการ 3) การจัดระบบข้อมูลการรับ – ส่งต่อระหว่างแม่ข่ายและลูกข่าย เพื่อสนับสนุนการดูแลอย่าง ต่อเนื่อง เช่น dataset ที่จําเป็น, สมุดประจําตัวผู้ป่วย 4) การสนับสนุนการดูแลรักษารวมทั้งการจัดบริการด้านต่าง ๆ ในเครือข่าย เช่น การเตรียม ความพร้อมเครือข่าย การดูแลรักษาด้านร่างกายโดยใช้ยาบรรเทาอาการ เช่น มอร์ฟีน และ/หรือ อุปกรณ์การแพทย์ 5) การสนับสนุนวิชาการ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเครือข่าย เช่น การจัดอบรมเพื่อพัฒนา ศักยภาพบุคลากรในเครือข่าย การจัดประชุมวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประสานงานและ การนิเทศติดตามงาน พร้อมทั้งระบุหัวข้อในการจัดอบรมในเครือข่ายและหัวข้อในการติดตาม นิเทศงานเครือข่าย 6) การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ และหรื อ นวตกรรม เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการดู แ ลผู้ ป่ ว ยแบบ ประคับประคองในเครือข่าย (ถ้ามี) 6.2 รายงานการให้บริการแบบประคับประคอง ตามแบบ RQ-55-06 (ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์สามารถ ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ www.nhso.go.th/กองทุนต่าง ๆ/กองทุนพัฒนาระบบบริการอื่น ๆ/การดูแลแบบ ประคับประคอง) ตั้งแต่เดือนต.ค. 54 – มี.ค. 55 กําหนดส่งผลงาน ไม่เกิน 31 ส.ค.55