SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
การพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก
สู่การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลตามรูปแบบบริการวิถีใหม่
โรงพยาบาลสีชมพู จังหวัดขอนแก่น
Development of an outpatient nursing service system
to the Smart Hospital policy according
to the New Normal service model, Sichomphu hospital, Khon Kaen
นางชุติธรรม นิลพัฒน์ นายแพทย์พีรพงศ์ นิลพัฒน์ นางชิดชม สกุลไทย นายธนภูมิ คาศุภประเสริฐ
โรงพยาบาลสีชมพู จังหวัดขอนแก่น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
ที่มาและความสาคัญ
▪กระทรวงสาธารณสุขขับเคลื่อนโยบาย Smart Hospital:Excellenceที่ 4
ดาน บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล
KPI ที่ 54. ร้อยละสถานบริการผานเกณฑการประเมิน EMS (Environment,Modernization
and Smart Service)
KPI ที่ 55. ร้อยละโรงพยาบาลที่มีการปรับโฉม Smart Hospital
▪ปัจจุบันยังมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
แนวคิด "การแพทย์วิถีใหม่"(New Normal of Medical Service)
1.ความปลอดภัย
2.การลดความแออัด
3.ลดความเหลื่อมล้
้า เพิ่มการเข้าถึง
โดยเรียนรู้จากสถานการณ์ COVID-19 เป้าหมาย 3 เรื่อง
ปัญหาและความต้องการวิจัย
• พบปัญหาการไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน เช่น การ
เว้นระยะห่าง ,และปัญหาการเข้าถึงบริการ เช่น ความ
ล่าช้าของโรงพยาบาลในการตอบสนอง หรือให้
คาปรึกษาการตรวจรักษาผู้ป่วย กับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
• หลังปรับโฉมบริการและนาเทคโนโลยีมาใช้ ปี 2563
ยังพบความแออัดและระยะเวลารอคอยเฉลี่ยที่ลดลง
ไม่มาก (ช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน ของปี 2562
และปี 2563 ที่ OPD เท่ากับ 67 นาที และ
59 นาที ตามลาดับ ที่คลินิก
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เท่ากับ 4 ชม.44 นาที และ 3 ชม. 56
นาที ตามลาดับ
การพัฒนาสู่ Smart hopital ตามรูปแบบ New
normal ที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อระดับ
ความพึงพอใจ ปลอดภัย ลดแออัด
ลดระยะเวลารอคอย และเข้าถึงบริการมากขึ้น
ได้รูปแบบการจัดบริการงานพยาบาล
ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสีชมพู วิถีใหม่
ที่ทันสมัย และส่งผลให้
• มีความปลอดภัย
• ลดความแออัดและระยะเวลารอคอย
• เข้าถึงบริการสะดวกทั่วถึง
ผู้ป่วยและบุคลากรพึงพอใจ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
01
ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์ เห็นโอกาส
พัฒนาการจัดบริการ โรงพยาบาลสีชมพู
ในการพัฒนาต่อไป
02
03
1. เพื่อศึกษาสถานการณ์และความคาดหวังของการจัดระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก สู่ Smart Hospital
ตามรูปแบบบริการวิถีใหม่ ด้านความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการต่อมาตรการป้องกันการติดเชื้อ
โรคโควิด-19 การลดความแออัดและระยะเวลารอคอย และการเข้าถึงบริการที่สะดวกทั่วถึง
2. เพื่อพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอกสู่ Smart Hospital ตามรูปแบบบริการวิถีใหม่
3. เพื่อประเมินผลลัพธ์ที่คาดหวังของการจัดระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอกสู่ Smart Hospital
ตามรูปแบบบริการวิถีใหม่ โรงพยาบาลสีชมพู จังหวัดขอนแก่น
กรอบแนวคิดในการพัฒนา
ระยะที่ 1
1.ศึกษาสถานการณ์และความ
คาดหวัง
ของการจัดระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก
ระยะที่ 2
2.พัฒนาระบบบริการ
พยาบาลผู้ป่ วยนอกสู่ Smart
Hospital ตามรูปแบบบริการ
วิถีใหม่ (New Normal)
ระยะที่ 3
3.ประเมินผลลัพธ์ต่อการ
ให ้บริการงานพยาบาล
ผู้ป่ วยนอกรูปแบบใหม่
• บุคลากรและผู้ใช้บริการปลอดภัย
• โรงพยาบาลมีการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล มีความทันสมัย
สะดวก รวดเร็ว ลดความแออัด
ลดระยะเวลารอคอย
• เพิ่มการเข้าถึงบริการ
• บุคลากรและผู้ใช้บริการพึงพอใจ
สรุป
1)ขั้นเตรียมการ
การศึกษาสภาพ
ปัจจุบัน ปัญหา
3)ขั้น
สังเกตการณ์การ
2)ขั้นดาเนินการ
สร ้างและพัฒนา
รูปแบบและ
นาไปทดลองใช ้
4)ขั้นพัฒนา
และปรับปรุง
รูปแบบ
Planning
Action
Observation
Reflection
(เคมมิส, คาร์ และแมคทาก
กาท (Stephen Kemmis, Wilf Carr
& Robin McTaggart : ค.ศ. 1982)
วิธีการศึกษา
วิธีการศึกษา
วิจัย
เชิงปฏิบัติการ
[Action
Research
]
ระยะที่ 1
ศึกษาสถานการณและ
ความคาดหวัง
การจัดระบบ
กลุ่มตัวอย่าง
อาจารย์อรุณ จิรวัฒน์กุล
,2552
ระยะเวลาที่ศึกษา
ระยะที่ 2
พัฒนาและทดลองใช้
ระบบบริการ
ระยะที่ 3
ประเมินผลลัพธ์ความ
พึงพอใจของการ
จัดรูปแบบบริการ
พยาบาลที่พัฒนาขึ้น
บุคลากร
Purposive
60 คน
ผู้ใช้บริการ
380 คน
สุ่มตัวอย่าง จับฉลากแบบ
ไม่มีการแทนที่
1-31 มีนาคม
2564
1 เมษายน -
31 พฤษภาคม
2564
การวางแผน
(planning)
1 เมษายน 2565
ใช้ระบบบริการพยาบาล
ผู้ป่วยนอกสู่ Smart
Hospital ตามรูปแบบ
บริการวิถีใหม่
1 มิถุนายน 2564-
31 มีนาคม 2565
1-30 เมษายน 2566
วิธีการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้
1) แบบสังเกต
พฤติกรรม/
การปฏิบัติการบริการ
ของบุคลากร
ผู้ใช้บริการ
4) แบบสอบถาม
ข้อมูลบุคลากรและ
ผู้ใช้บริการ
การรับรู้และความ
คาดหวัง
เชิงคุณภาพ
วิเคราะห์เนื้อหา
เชิงคุณภาพ
2) แบบบันทึก
ข ้อมูล
ระยะเวลารอคอย จาก
ฐานข้อมูลโปรแกรมบริการ
(ต่
อ) การวิเคราะห์ข้อมูล
5)ความพึง
พอใจ
(หลังพัฒนา)
เชิงปริมาณ
1) สถิติเชิงพรรณนา
ได ้แก่ การแจกแจง
ความถี่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2) สถิตเปรียบเทียบความ
แตกกต่างค่าเฉลี่ย การรับรู้และ
ความคาดหวังก่อนพัฒนา และ
ความพึงพอใจหลังพัฒนา ด้วย
สถิติ Paired sample T-
test
3) สัมภาษณ์เชิงลึก
รายบุคคล/รายกลุ่ม
KEC 64022/2564
ความตรงของเครื่องมือ (VALIDIYT)ความตรงตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ
5 ท่าน ค่า IOC = 0.9 ,ความเที่ยงของเครื่องมือ (RELIABILITY)ใช้ (TRY OUT) รพ.สีชมพู
วิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้าง
ข้อสรุป แบบอุปนัย
(Analytic Induction)
โดยตีความ และสร้างข้อสรุป
ข้อมูล จากสิ่งที่เป็นรูปธรรม
หรือ
ปรากฎการณ์ที่มองเห็น
การลงทะเบียนผ่านตู้คีย์ออส
ผลการศึกษา 1) การศึกษา
สถานการณ์
โรงพยาบาลสีชมพู มีวิสัยทัศน์ด้านการพัฒนาบริการที่ทันสมัยและเป็นเลิศ มีการปรับปรุงตกแต่ง
สถานที่ให้สวยงาม ดูมีความทันสมัย (Digital Look) มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัล
1-31 มีนาคม
2564
ชุด Smart OPD
ระบบคิวบริการรูปแบบดิจิทัล
มีระบบจองคิวออนไลน์ เข้าถึงข้อมูลสุขภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ)
สังเกตพฤติกรรม/การปฏิบัติการบริการ สัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลและสนทนารายกลุ่มของบุคลากร ผู้ใช้บริการ ดังนี้
2) ผู้ป่ วย Urgency หรือ Emergency ได ้รับบริการ
ล่าช ้า
1) พื้นที่แยกบริการไม่ชัดเจน มี
ความแออัด
3) ต ้องการช่องทางติดต่อโดยตรง/การแนะนาบริการ
ออนไลน์
4) ขอให ้มีช่องทางตรวจระดับน้าตาลให ้ที่
บ ้าน แล ้วส่งยาทางไปรษณีย์
5) ต ้องการให ้พูดจา
ไพเราะ ใจดี
35.21
นาที
ผลการศึกษา (ต่อ)
ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามเปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวังของการจัดบริการ
พบว่า ค่าเฉลี่ยการรับรู้และความคาดหวัง
มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p-
value<0.05
ควรมีการปรับปรุงพัฒนามากที่สุด ผู้ใช้บริการ อันดับ 1.ด้านการลดความแออัดและ
ระยะเวลารอคอย : บุคลากร อันดับ 1. ด้านความปลอดภัยต่อการติดเชื้อโรคโควิด-
19
ผู้ใช้บริการโรงพยาบาลสีชมพู งานพยาบาลผู้ป่วยนอกตรวจโรคทั่วไป คลินิกโรคเรื้อรัง และ
คลินิกโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน
ส่วนใหญ่ ดังนี้
• เพศหญิง ร้อยละ 56.8
• ช่วงอายุ 41-50 ปี ร้อยละ 34.7
• การศึกษาอยู่ระดับต่ากว่าปริญญาตรี (ประถม/มัธยม/อนุปริญญา) คิดเป็นร้อยละ
75.5
• เป็นกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 40.8 และและรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 24
• มีรายได้ ต่ากว่า 5,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 43.4
• สิทธิการรักษา : สิทธิบัตรทอง ร้อยละ 73.3 สิทธิประกันสังคม
ร้อยละ 13.6
• ผู้ที่เข้ารับการรักษา/ใช้บริการที่โรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่
เป็นผู้ที่มาใช้บริการ 4 ครั้งขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 66.9
บุคลากรโรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่ ดังนี้
• เพศหญิง ร้อยละ 83.3
• ช่วงอายุตั้งแต่ 31-40 ปี ร้อยละ 41.7
• การศึกษา ปริญญาตรี ร้อยละ 88.3 และ
• เป็นวิชาชีพพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 71.6
• แพทย์ ร้อยละ 10 เภสัช/รังสี/เทคนิกการแพทย์ รวมร้อยละ
18.4
• ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสีชมพู 6-10 ปี ร้อยละ 30.0 ,
3-5 ปี ร ้อยละ 23.3
ใช้แนวทาง SIM3 หรือ SSSIIIM
1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด
ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น
2.การพัฒนาระบบ
บริการ
S : Situation Analysis
S : Structure
S : Strategy
I : Information
I : Integration
I : Implement & Innovation
M : Monitor & Evaluation
• รูปแบบขั้นตอนบริการใหม่
คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการผู้ป่วยนอกสู่
โรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital) และสู่มาตรฐาน
EMS (Environment-Modernize-Smart
One Stop Service & Lean
• เพิ่มป้ายขนาดใหญ่ • ลงทะเบียนทุกแผนกด้วย Smart card
1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด
ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น (ต่อ)
• เพิ่มจุดจ่ายยาเฉพาะ คลินิกโรคเรื้อรัง
One Stop Service & Lean
• ขยายพื้นที่อาคาร
• ห้อง X-ray ที่ ARI Clinic • ชาระเงินที่แผนกบริการ
One Stop Service & Lean
1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด
ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น (ต่อ)
• เครื่องติดตามตัวไร้สาย
(Pager)
• ประชาสัมพันธ์ การตรวจสอบคิวและระยะเวลารอคอย ผ่าน QR-
code
One Stop Service & Lean
1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด
ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น (ต่อ) • นัดหมายผู้ป่วยแบบเหลื่อมเวลา
2) พัฒนากระบวนการพยาบาลดูแลผู้ป่ วย ตามรูปแบบบริการ
วิถีใหม่ (New Normal)
ทีมนาดูแลผู้ป่วย (PCT) /
เครือข่ายสาธารณสุขอาเภอสีชมพู
• รูปแบบการคัดแยกผู้ป่วย (Triage) และปฏิบัติการดูแลขณะรอตรวจของผู้ป่วยระดับเร่งด่วน Urgency หรือ
Emergency • ปรับเกณฑ์คัดแยกระดับความเร่งด่วน
มาตรฐานกลุ่มอาการที่ต้องเฝ้าระวัง
• รูปแบบขั้นตอนบริการเมื่ออยู่ในสถานการณ์การระบาด ดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ของ รพ.สต.กับ
โรงพยาบาล
2) พัฒนากระบวนการพยาบาลดูแลผู้ป่ วย ตามรูปแบบบริการวิถี
ใหม่ (New Normal) (ต่อ)
• จัดสภาพแวดล้อมเพื่อผู้ใช้บริการและบุคลาการที่ปลอดภัย
2) พัฒนากระบวนการพยาบาลดูแลผู้ป่ วย ตามรูปแบบบริการวิถี
ใหม่ (New Normal) (ต่อ)
ตู้ Negative
Pressure
ห้องแยกกึ่งแรงดันลบที่
ER
จัดสื่อความรู้ดิจิทัล
ผู้อานวยประกาศนโยบาย : บุคลากร : LEAN
3) จัดทารูปแบบบริการการแพทย์ทางไกล Telehealth
ระยะที่ 1 : NCD
Telemedicine
ระยะที่ 2 : Telehealth-
Sichomphu
คณะกรรมการบริการการแพทย์ทางไกล
Telehealth
ระยะที่ 2 : Telehealth-Sichomphu (ต่อ) :Telemedicine โรงพยาบาลสีชมพู ครั้งถัดไป เพื่อลดความแออัด เพื่อความ
สะดวกแก่ผู้มารับบริการ
3.1 จากการสารวจและ
สังเกตพฤติกรรม/
การปฏิบัติการพยาบาล
3) ผลลัพธ์ (ต่อ)
3.1.3 ด ้านความแออัด ผลการประเมินความแออัด ในช่วง
เดือน เมษายน 2566
3.1.2 ระยะเวลา
รอคอย
3.1.1 ด ้านความปลอดภัย จานวนและ
ร ้อยละของผู้ถูกสังเกตพฤติกรรม/การ
ปฏิบัติการบริการ ของผู้ใช ้บริการ
3) ผลลัพธ์ (ต่อ)
3.2 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจหลังพัฒนา กับการรับรู้และความคาดหวังก่อนการพัฒนา
ผู้ใช้บริการโรงพยาบาลสีชมพู งานพยาบาลผู้ป่วยนอกตรวจโรคทั่วไป คลินิกโรคเรื้อรัง และ
คลินิกโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน จานวน 380 คน
ส่วนใหญ่ ดังนี้
• เพศหญิง ร้อยละ 67.1
• ช่วงอายุ 41-50 ปี ร้อยละ 31.8
• การศึกษาอยู่ระดับต่ากว่าปริญญาตรี (ประถม/มัธยม/อนุปริญญา) คิดเป็นร้อยละ
81.3
• เป็นกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 40.5 และและรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 28.7
• มีรายได้ ต่ากว่า 5,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 51.8
• สิทธิการรักษา : สิทธิบัตรทอง ร้อยละ 74.2 สิทธิประกันสังคม ร้อยละ 9.7
• ผู้ที่เข้ารับการรักษา/ใช้บริการที่โรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่
เป็นผู้ที่มาใช้บริการ 4 ครั้งขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 77.4
• เหตุผลเลือกใช้บริการ ใกล้บ้าน ร้อยละ 40.5 ผู้ป่วยเก่ารักษาประจา
ร้อยละ 13.9 ขึ้นทะเบียนสิทธิรักษาที่ รพ.สีชมพู 13.2
บุคลากรโรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่ ดังนี้
• เพศหญิง ร้อยละ 83.3
• ช่วงอายุตั้งแต่ 31-40 ปี ร้อยละ 41.7
• การศึกษา ปริญญาตรี ร้อยละ 88.3 และ
• เป็นวิชาชีพพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 71.7
• แพทย์ ร้อยละ 10 เภสัช/รังสี/เทคนิคการแพทย์ รวมร้อยละ
18.3
• ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสีชมพู 6-10 ปี ร้อยละ 30.0 ,
3-5 ปี ร ้อยละ 23.3
พบว่า ค่าเฉลี่ย การรับรู้และความพึงพอใจ
มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p-value <0.05
ซึ่งหมายถึง ผู้ใช้บริการและบุคลากรมีความพึงพอใจมากขึ้นทั้ง 3 ด้าน
พบว่า ค่าเฉลี่ย ความคาดหวังและความพึงพอใจ ไม่มีความแตกต่างอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ p-value <0.05 ใน 2 ส่วน ได้แก่ 1) ด้านความ
ปลอดภัยของ
ผู้ใช้บริการ 2)ด้านการเข้าถึงบริการของทั้งผู้ใช้บริการและบุคลากร
ซึ่งหมายถึง ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจด้านความปลอดภัย และทั้งผู้ใช้บริการ
3) ผลลัพธ์ (ต่อ)
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวัง ต่อการจัดระบบบริการพยาบาล ของผู้ใช้บริการและ
บุคลากร
2. ปรับรูปแบบบริการ
โดย 1) ปรับขั้นตอนบริการใหม่/ลดขั้นตอนที่ไม่จาเป็น ใช้แนวคิด การให้บริการแบบเบ็จเสร็จ ณ จุดเดียว One
Stop Service : OSS และแนวคิด Lean ตั้งแต่ป้ายบอกทาง ลงทะเบียน ณ แผนกที่ต้องการบริการ จนกลับ
บ้าน
2) ปรับรูปแบบการคัดแยกผู้ป่ วย (Triage) และปฏิบัติการดูแลขณะรอตรวจของ
ผู้ป่ วยเร่งด่วน โดยใช ้กระบวนการพยาบาล ตั้งแต่การประเมินปัญหาทางการ
พยาบาลแรกรับที่ถูกต ้อง เกิดคู่มือมาตรฐานกลุ่มอาการที่ต ้องเฝ้าระวัง เกณฑ์การ
คัดแยกระดับความเร่งด่วนของทั้งผู้ป่ วยทั่วไป และผู้ป่ วยโควิด-19 การวางแผนการ
พยาบาล การปฏิบัติการพยาบาล ตามขั้นตอน (Flow) และ วิธีปฏิบัติเรื่องการคัด
แยกและการดูแลผู้ป่ วยขณะรอตรวจ (Work instruction : WI) ,แนวทางการปฏิบัติใน
สถานการณ์การระบาดโควิด-19 รวมถึง การใช ้สื่อดิจิทัลให ้ความรู้ตามมาตรการ
New normal
3) จัดทารูปแบบบริการการแพทย์ทางไกล Telehealth สร ้างความร่วมมือกับ
เครือข่าย อสม. รพ.สต. และทีมสหวิชาชีพ ในการดูแลผู้ป่ วยที่ห่างไกล ผู้ป่ วยติด
เตียง และขยายผลถึงผู้ป่ วยที่ไม่จาเป็นต ้องมาโรงพยาบาล
1.การศึกษาสถานการณ์ พบสิ่งที่เป็นโอกาส
พัฒนา ดังนี้
1) พื้นที่แยกบริการไม่ชัดเจน มีความแออัด
2) พบผู้ป่ วยระดับเร่งด่วนได ้รับบริการล่าช ้า
3) ต ้องการเข ้าถึงบริการที่สะดวก
4) ต ้องการพฤติกรรมบริการที่ดี
5) ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยสูงขึ้น ในช่วงการระบาด
ของโรคโควิด-19 ยกเว ้นคลินิกโรคเบาหวาน/ความ
ดันฯ และมีอุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์
6) ความเห็นต่อสิ่งที่ควรปรับปรุง ผู้ใช ้บริการ :
อันดับ 1 คือด ้านการลดความแออัดและระยะเวลา
รอคอย : บุคลากร : อันดับ 1 คือ ด ้านความ
ปลอดภัยต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล สรุปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้
3. ผลลัพธ์
1) พบว่าสามารถลดความแออัด ได ้2 แผนก คือ หน้าห ้องจ่ายยาผู้ป่ วยนอก และคลินิก ARI ระยะเวลารอคอย พบแนวโน้มลดลง ของผู้ป่ วย
นอกเร่งด่วน ผู้ป่ วยนอกทั่วไป และผู้ป่ วยคลินิก ARI
2) ด ้านความปลอดภัย ผู้ป่ วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ลงทะเบียนที่ คลินิก ARI มากขึ้น ถึงร ้อยละ 98.57 (เดิม 30.43) ผู้ใช ้บริการยังสวม
หน้ากากอนามัย ร ้อยละ 100 ไม่เกิดอุบัติการณ์บุคลากรติดเชื้อโควิด-19 จากการปฏิบัติงาน ไม่เกิดการระบาด และไม่พบผู้ป่ วยเกิดอาการไม่
พึงประะสงค์ขณะรอตรวจ
3) ด ้านการเข ้าถึง พบว่า การจัดบริการการแพทย์ทางไกลช่วยให ้ผู้ป่ วยติดเตียง ผู้ป่ วยเบาหวาน ความดันฯ ที่ควบคุมโรคไม่ได ้รับยาที่
รพ.สต.ได ้พบแพทย์ รวมทั้งสิ้น 198 ราย (ณ 23 มิ.ย.2566)
4) ด ้านความพึงพอใจ พบว่า ใช ้บริการและบุคลากรมีความพึงพอใจมากขึ้นทั้ง 3 ด ้าน ค่าเฉลี่ยการรับรู้และความพึงพอใจ มีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p-value <0.05
และผู้ใช ้บริการมีความพึงพอใจด ้านความปลอดภัย และทั้งผู้ใช ้บริการและบุคลากรมีความพึงพอใจด ้านการเข ้าถึงบริการ ใกล ้เคียงกับ
ข้อเสนอแนะการวิจัย
1. ควรศึกษา เฉพาะเจาะจงแยกกลุ่มผู้ใช ้บริการแต่ละแผนก เพื่อให ้ได ้ข ้อมูลสถานการณ์ ที่ตรงกับ
ความต ้องการของผู้ใช ้บริการมากขึ้น เนื่องจากผู้ใช ้บริการไม่ได ้มีประสบการณ์ใช ้บริการครบทั้ง 3
แผนก
2. ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบบริการการแพทย์ทางไกล Telehealth ในผู้ใช ้บริการนี้โดยเฉพาะ
เพื่อให ้ได ้ข ้อมูลในการพัฒนาให ้เกิดการเข ้าถึงบริการที่มากขึ้น
การนาผลงานไปใช ้ประโยชน์
• มีการขยายผลการดาเนินงานโดยบูรณาการร่วมกับเครือข่าย อสม. รพ.สต. อาเภอสีชมพู ทุก
แห่ง ในรูปแบบการปฏิบัติ ในสถานการณ์การระบาด โรคโควิด-19 รูปแบบการบริการการแพทย์
ทางไกล
• เป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลตามรูปแบบบริการวิถีใหม่
• เป็นตัวแทนจังหวัด นาเสนอ การพัฒนา EMS (Environment-Modernize-Smart service) ระดับประเทศ ในเวที
สานักงานปลัดกระทรวงสัญจร ประจาปี 2566

More Related Content

Similar to ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx

มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfOldcat4
 
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations - Part 1
IT Management in Healthcare Organizations - Part 1IT Management in Healthcare Organizations - Part 1
IT Management in Healthcare Organizations - Part 1Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...nawaporn khamseanwong
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์nawaporn khamseanwong
 
Problems in Hospital Information Systems Management
Problems in Hospital Information Systems ManagementProblems in Hospital Information Systems Management
Problems in Hospital Information Systems ManagementNawanan Theera-Ampornpunt
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)สุริยา ชื่นวิเศษ
 

Similar to ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx (20)

มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
 
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล (March 12, 2018)
 
Unit7
Unit7Unit7
Unit7
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: An Overview (March 16, 2019)
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
 
IT Management in Healthcare Organizations - Part 1
IT Management in Healthcare Organizations - Part 1IT Management in Healthcare Organizations - Part 1
IT Management in Healthcare Organizations - Part 1
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
 
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (September 17, 2020)
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
 
Problems in Hospital Information Systems Management
Problems in Hospital Information Systems ManagementProblems in Hospital Information Systems Management
Problems in Hospital Information Systems Management
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
 
SN203 Unit6
SN203 Unit6SN203 Unit6
SN203 Unit6
 

ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx

  • 1. การพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก สู่การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลตามรูปแบบบริการวิถีใหม่ โรงพยาบาลสีชมพู จังหวัดขอนแก่น Development of an outpatient nursing service system to the Smart Hospital policy according to the New Normal service model, Sichomphu hospital, Khon Kaen นางชุติธรรม นิลพัฒน์ นายแพทย์พีรพงศ์ นิลพัฒน์ นางชิดชม สกุลไทย นายธนภูมิ คาศุภประเสริฐ โรงพยาบาลสีชมพู จังหวัดขอนแก่น สานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
  • 2. ที่มาและความสาคัญ ▪กระทรวงสาธารณสุขขับเคลื่อนโยบาย Smart Hospital:Excellenceที่ 4 ดาน บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล KPI ที่ 54. ร้อยละสถานบริการผานเกณฑการประเมิน EMS (Environment,Modernization and Smart Service) KPI ที่ 55. ร้อยละโรงพยาบาลที่มีการปรับโฉม Smart Hospital ▪ปัจจุบันยังมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  • 3.
  • 4. แนวคิด "การแพทย์วิถีใหม่"(New Normal of Medical Service) 1.ความปลอดภัย 2.การลดความแออัด 3.ลดความเหลื่อมล้ ้า เพิ่มการเข้าถึง โดยเรียนรู้จากสถานการณ์ COVID-19 เป้าหมาย 3 เรื่อง
  • 5. ปัญหาและความต้องการวิจัย • พบปัญหาการไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน เช่น การ เว้นระยะห่าง ,และปัญหาการเข้าถึงบริการ เช่น ความ ล่าช้าของโรงพยาบาลในการตอบสนอง หรือให้ คาปรึกษาการตรวจรักษาผู้ป่วย กับเจ้าหน้าที่ รพ.สต. • หลังปรับโฉมบริการและนาเทคโนโลยีมาใช้ ปี 2563 ยังพบความแออัดและระยะเวลารอคอยเฉลี่ยที่ลดลง ไม่มาก (ช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน ของปี 2562 และปี 2563 ที่ OPD เท่ากับ 67 นาที และ 59 นาที ตามลาดับ ที่คลินิก โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เท่ากับ 4 ชม.44 นาที และ 3 ชม. 56 นาที ตามลาดับ การพัฒนาสู่ Smart hopital ตามรูปแบบ New normal ที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อระดับ ความพึงพอใจ ปลอดภัย ลดแออัด ลดระยะเวลารอคอย และเข้าถึงบริการมากขึ้น
  • 6. ได้รูปแบบการจัดบริการงานพยาบาล ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสีชมพู วิถีใหม่ ที่ทันสมัย และส่งผลให้ • มีความปลอดภัย • ลดความแออัดและระยะเวลารอคอย • เข้าถึงบริการสะดวกทั่วถึง ผู้ป่วยและบุคลากรพึงพอใจ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 01 ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์ เห็นโอกาส พัฒนาการจัดบริการ โรงพยาบาลสีชมพู ในการพัฒนาต่อไป 02 03
  • 7. 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์และความคาดหวังของการจัดระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก สู่ Smart Hospital ตามรูปแบบบริการวิถีใหม่ ด้านความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการต่อมาตรการป้องกันการติดเชื้อ โรคโควิด-19 การลดความแออัดและระยะเวลารอคอย และการเข้าถึงบริการที่สะดวกทั่วถึง 2. เพื่อพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอกสู่ Smart Hospital ตามรูปแบบบริการวิถีใหม่ 3. เพื่อประเมินผลลัพธ์ที่คาดหวังของการจัดระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอกสู่ Smart Hospital ตามรูปแบบบริการวิถีใหม่ โรงพยาบาลสีชมพู จังหวัดขอนแก่น
  • 8. กรอบแนวคิดในการพัฒนา ระยะที่ 1 1.ศึกษาสถานการณ์และความ คาดหวัง ของการจัดระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก ระยะที่ 2 2.พัฒนาระบบบริการ พยาบาลผู้ป่ วยนอกสู่ Smart Hospital ตามรูปแบบบริการ วิถีใหม่ (New Normal) ระยะที่ 3 3.ประเมินผลลัพธ์ต่อการ ให ้บริการงานพยาบาล ผู้ป่ วยนอกรูปแบบใหม่ • บุคลากรและผู้ใช้บริการปลอดภัย • โรงพยาบาลมีการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ลดความแออัด ลดระยะเวลารอคอย • เพิ่มการเข้าถึงบริการ • บุคลากรและผู้ใช้บริการพึงพอใจ สรุป 1)ขั้นเตรียมการ การศึกษาสภาพ ปัจจุบัน ปัญหา 3)ขั้น สังเกตการณ์การ 2)ขั้นดาเนินการ สร ้างและพัฒนา รูปแบบและ นาไปทดลองใช ้ 4)ขั้นพัฒนา และปรับปรุง รูปแบบ Planning Action Observation Reflection (เคมมิส, คาร์ และแมคทาก กาท (Stephen Kemmis, Wilf Carr & Robin McTaggart : ค.ศ. 1982)
  • 9. วิธีการศึกษา วิธีการศึกษา วิจัย เชิงปฏิบัติการ [Action Research ] ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณและ ความคาดหวัง การจัดระบบ กลุ่มตัวอย่าง อาจารย์อรุณ จิรวัฒน์กุล ,2552 ระยะเวลาที่ศึกษา ระยะที่ 2 พัฒนาและทดลองใช้ ระบบบริการ ระยะที่ 3 ประเมินผลลัพธ์ความ พึงพอใจของการ จัดรูปแบบบริการ พยาบาลที่พัฒนาขึ้น บุคลากร Purposive 60 คน ผู้ใช้บริการ 380 คน สุ่มตัวอย่าง จับฉลากแบบ ไม่มีการแทนที่ 1-31 มีนาคม 2564 1 เมษายน - 31 พฤษภาคม 2564 การวางแผน (planning) 1 เมษายน 2565 ใช้ระบบบริการพยาบาล ผู้ป่วยนอกสู่ Smart Hospital ตามรูปแบบ บริการวิถีใหม่ 1 มิถุนายน 2564- 31 มีนาคม 2565 1-30 เมษายน 2566
  • 10. วิธีการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ 1) แบบสังเกต พฤติกรรม/ การปฏิบัติการบริการ ของบุคลากร ผู้ใช้บริการ 4) แบบสอบถาม ข้อมูลบุคลากรและ ผู้ใช้บริการ การรับรู้และความ คาดหวัง เชิงคุณภาพ วิเคราะห์เนื้อหา เชิงคุณภาพ 2) แบบบันทึก ข ้อมูล ระยะเวลารอคอย จาก ฐานข้อมูลโปรแกรมบริการ (ต่ อ) การวิเคราะห์ข้อมูล 5)ความพึง พอใจ (หลังพัฒนา) เชิงปริมาณ 1) สถิติเชิงพรรณนา ได ้แก่ การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) สถิตเปรียบเทียบความ แตกกต่างค่าเฉลี่ย การรับรู้และ ความคาดหวังก่อนพัฒนา และ ความพึงพอใจหลังพัฒนา ด้วย สถิติ Paired sample T- test 3) สัมภาษณ์เชิงลึก รายบุคคล/รายกลุ่ม KEC 64022/2564 ความตรงของเครื่องมือ (VALIDIYT)ความตรงตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ค่า IOC = 0.9 ,ความเที่ยงของเครื่องมือ (RELIABILITY)ใช้ (TRY OUT) รพ.สีชมพู วิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้าง ข้อสรุป แบบอุปนัย (Analytic Induction) โดยตีความ และสร้างข้อสรุป ข้อมูล จากสิ่งที่เป็นรูปธรรม หรือ ปรากฎการณ์ที่มองเห็น
  • 11. การลงทะเบียนผ่านตู้คีย์ออส ผลการศึกษา 1) การศึกษา สถานการณ์ โรงพยาบาลสีชมพู มีวิสัยทัศน์ด้านการพัฒนาบริการที่ทันสมัยและเป็นเลิศ มีการปรับปรุงตกแต่ง สถานที่ให้สวยงาม ดูมีความทันสมัย (Digital Look) มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัล 1-31 มีนาคม 2564 ชุด Smart OPD ระบบคิวบริการรูปแบบดิจิทัล มีระบบจองคิวออนไลน์ เข้าถึงข้อมูลสุขภาพ
  • 12. ผลการศึกษา (ต่อ) สังเกตพฤติกรรม/การปฏิบัติการบริการ สัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลและสนทนารายกลุ่มของบุคลากร ผู้ใช้บริการ ดังนี้ 2) ผู้ป่ วย Urgency หรือ Emergency ได ้รับบริการ ล่าช ้า 1) พื้นที่แยกบริการไม่ชัดเจน มี ความแออัด 3) ต ้องการช่องทางติดต่อโดยตรง/การแนะนาบริการ ออนไลน์ 4) ขอให ้มีช่องทางตรวจระดับน้าตาลให ้ที่ บ ้าน แล ้วส่งยาทางไปรษณีย์ 5) ต ้องการให ้พูดจา ไพเราะ ใจดี 35.21 นาที
  • 13. ผลการศึกษา (ต่อ) ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามเปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวังของการจัดบริการ พบว่า ค่าเฉลี่ยการรับรู้และความคาดหวัง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p- value<0.05 ควรมีการปรับปรุงพัฒนามากที่สุด ผู้ใช้บริการ อันดับ 1.ด้านการลดความแออัดและ ระยะเวลารอคอย : บุคลากร อันดับ 1. ด้านความปลอดภัยต่อการติดเชื้อโรคโควิด- 19 ผู้ใช้บริการโรงพยาบาลสีชมพู งานพยาบาลผู้ป่วยนอกตรวจโรคทั่วไป คลินิกโรคเรื้อรัง และ คลินิกโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน ส่วนใหญ่ ดังนี้ • เพศหญิง ร้อยละ 56.8 • ช่วงอายุ 41-50 ปี ร้อยละ 34.7 • การศึกษาอยู่ระดับต่ากว่าปริญญาตรี (ประถม/มัธยม/อนุปริญญา) คิดเป็นร้อยละ 75.5 • เป็นกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 40.8 และและรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 24 • มีรายได้ ต่ากว่า 5,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 43.4 • สิทธิการรักษา : สิทธิบัตรทอง ร้อยละ 73.3 สิทธิประกันสังคม ร้อยละ 13.6 • ผู้ที่เข้ารับการรักษา/ใช้บริการที่โรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่ เป็นผู้ที่มาใช้บริการ 4 ครั้งขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 66.9 บุคลากรโรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่ ดังนี้ • เพศหญิง ร้อยละ 83.3 • ช่วงอายุตั้งแต่ 31-40 ปี ร้อยละ 41.7 • การศึกษา ปริญญาตรี ร้อยละ 88.3 และ • เป็นวิชาชีพพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 71.6 • แพทย์ ร้อยละ 10 เภสัช/รังสี/เทคนิกการแพทย์ รวมร้อยละ 18.4 • ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสีชมพู 6-10 ปี ร้อยละ 30.0 , 3-5 ปี ร ้อยละ 23.3
  • 14. ใช้แนวทาง SIM3 หรือ SSSIIIM 1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น 2.การพัฒนาระบบ บริการ S : Situation Analysis S : Structure S : Strategy I : Information I : Integration I : Implement & Innovation M : Monitor & Evaluation • รูปแบบขั้นตอนบริการใหม่ คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการผู้ป่วยนอกสู่ โรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital) และสู่มาตรฐาน EMS (Environment-Modernize-Smart One Stop Service & Lean
  • 15. • เพิ่มป้ายขนาดใหญ่ • ลงทะเบียนทุกแผนกด้วย Smart card 1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น (ต่อ) • เพิ่มจุดจ่ายยาเฉพาะ คลินิกโรคเรื้อรัง One Stop Service & Lean
  • 16. • ขยายพื้นที่อาคาร • ห้อง X-ray ที่ ARI Clinic • ชาระเงินที่แผนกบริการ One Stop Service & Lean 1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น (ต่อ)
  • 17. • เครื่องติดตามตัวไร้สาย (Pager) • ประชาสัมพันธ์ การตรวจสอบคิวและระยะเวลารอคอย ผ่าน QR- code One Stop Service & Lean 1) พัฒนารูปแบบขั้นตอนบริการใหม่/ลด ขั้นตอนที่ไม่จาเป็น (ต่อ) • นัดหมายผู้ป่วยแบบเหลื่อมเวลา
  • 18. 2) พัฒนากระบวนการพยาบาลดูแลผู้ป่ วย ตามรูปแบบบริการ วิถีใหม่ (New Normal) ทีมนาดูแลผู้ป่วย (PCT) / เครือข่ายสาธารณสุขอาเภอสีชมพู • รูปแบบการคัดแยกผู้ป่วย (Triage) และปฏิบัติการดูแลขณะรอตรวจของผู้ป่วยระดับเร่งด่วน Urgency หรือ Emergency • ปรับเกณฑ์คัดแยกระดับความเร่งด่วน มาตรฐานกลุ่มอาการที่ต้องเฝ้าระวัง
  • 19. • รูปแบบขั้นตอนบริการเมื่ออยู่ในสถานการณ์การระบาด ดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ของ รพ.สต.กับ โรงพยาบาล 2) พัฒนากระบวนการพยาบาลดูแลผู้ป่ วย ตามรูปแบบบริการวิถี ใหม่ (New Normal) (ต่อ)
  • 20. • จัดสภาพแวดล้อมเพื่อผู้ใช้บริการและบุคลาการที่ปลอดภัย 2) พัฒนากระบวนการพยาบาลดูแลผู้ป่ วย ตามรูปแบบบริการวิถี ใหม่ (New Normal) (ต่อ) ตู้ Negative Pressure ห้องแยกกึ่งแรงดันลบที่ ER จัดสื่อความรู้ดิจิทัล ผู้อานวยประกาศนโยบาย : บุคลากร : LEAN
  • 21. 3) จัดทารูปแบบบริการการแพทย์ทางไกล Telehealth ระยะที่ 1 : NCD Telemedicine ระยะที่ 2 : Telehealth- Sichomphu คณะกรรมการบริการการแพทย์ทางไกล Telehealth
  • 22. ระยะที่ 2 : Telehealth-Sichomphu (ต่อ) :Telemedicine โรงพยาบาลสีชมพู ครั้งถัดไป เพื่อลดความแออัด เพื่อความ สะดวกแก่ผู้มารับบริการ
  • 23. 3.1 จากการสารวจและ สังเกตพฤติกรรม/ การปฏิบัติการพยาบาล 3) ผลลัพธ์ (ต่อ) 3.1.3 ด ้านความแออัด ผลการประเมินความแออัด ในช่วง เดือน เมษายน 2566 3.1.2 ระยะเวลา รอคอย 3.1.1 ด ้านความปลอดภัย จานวนและ ร ้อยละของผู้ถูกสังเกตพฤติกรรม/การ ปฏิบัติการบริการ ของผู้ใช ้บริการ
  • 24. 3) ผลลัพธ์ (ต่อ) 3.2 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจหลังพัฒนา กับการรับรู้และความคาดหวังก่อนการพัฒนา ผู้ใช้บริการโรงพยาบาลสีชมพู งานพยาบาลผู้ป่วยนอกตรวจโรคทั่วไป คลินิกโรคเรื้อรัง และ คลินิกโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน จานวน 380 คน ส่วนใหญ่ ดังนี้ • เพศหญิง ร้อยละ 67.1 • ช่วงอายุ 41-50 ปี ร้อยละ 31.8 • การศึกษาอยู่ระดับต่ากว่าปริญญาตรี (ประถม/มัธยม/อนุปริญญา) คิดเป็นร้อยละ 81.3 • เป็นกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 40.5 และและรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 28.7 • มีรายได้ ต่ากว่า 5,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 51.8 • สิทธิการรักษา : สิทธิบัตรทอง ร้อยละ 74.2 สิทธิประกันสังคม ร้อยละ 9.7 • ผู้ที่เข้ารับการรักษา/ใช้บริการที่โรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่ เป็นผู้ที่มาใช้บริการ 4 ครั้งขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 77.4 • เหตุผลเลือกใช้บริการ ใกล้บ้าน ร้อยละ 40.5 ผู้ป่วยเก่ารักษาประจา ร้อยละ 13.9 ขึ้นทะเบียนสิทธิรักษาที่ รพ.สีชมพู 13.2 บุคลากรโรงพยาบาลสีชมพู ส่วนใหญ่ ดังนี้ • เพศหญิง ร้อยละ 83.3 • ช่วงอายุตั้งแต่ 31-40 ปี ร้อยละ 41.7 • การศึกษา ปริญญาตรี ร้อยละ 88.3 และ • เป็นวิชาชีพพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 71.7 • แพทย์ ร้อยละ 10 เภสัช/รังสี/เทคนิคการแพทย์ รวมร้อยละ 18.3 • ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสีชมพู 6-10 ปี ร้อยละ 30.0 , 3-5 ปี ร ้อยละ 23.3
  • 25. พบว่า ค่าเฉลี่ย การรับรู้และความพึงพอใจ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p-value <0.05 ซึ่งหมายถึง ผู้ใช้บริการและบุคลากรมีความพึงพอใจมากขึ้นทั้ง 3 ด้าน พบว่า ค่าเฉลี่ย ความคาดหวังและความพึงพอใจ ไม่มีความแตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ p-value <0.05 ใน 2 ส่วน ได้แก่ 1) ด้านความ ปลอดภัยของ ผู้ใช้บริการ 2)ด้านการเข้าถึงบริการของทั้งผู้ใช้บริการและบุคลากร ซึ่งหมายถึง ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจด้านความปลอดภัย และทั้งผู้ใช้บริการ 3) ผลลัพธ์ (ต่อ) ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวัง ต่อการจัดระบบบริการพยาบาล ของผู้ใช้บริการและ บุคลากร
  • 26. 2. ปรับรูปแบบบริการ โดย 1) ปรับขั้นตอนบริการใหม่/ลดขั้นตอนที่ไม่จาเป็น ใช้แนวคิด การให้บริการแบบเบ็จเสร็จ ณ จุดเดียว One Stop Service : OSS และแนวคิด Lean ตั้งแต่ป้ายบอกทาง ลงทะเบียน ณ แผนกที่ต้องการบริการ จนกลับ บ้าน 2) ปรับรูปแบบการคัดแยกผู้ป่ วย (Triage) และปฏิบัติการดูแลขณะรอตรวจของ ผู้ป่ วยเร่งด่วน โดยใช ้กระบวนการพยาบาล ตั้งแต่การประเมินปัญหาทางการ พยาบาลแรกรับที่ถูกต ้อง เกิดคู่มือมาตรฐานกลุ่มอาการที่ต ้องเฝ้าระวัง เกณฑ์การ คัดแยกระดับความเร่งด่วนของทั้งผู้ป่ วยทั่วไป และผู้ป่ วยโควิด-19 การวางแผนการ พยาบาล การปฏิบัติการพยาบาล ตามขั้นตอน (Flow) และ วิธีปฏิบัติเรื่องการคัด แยกและการดูแลผู้ป่ วยขณะรอตรวจ (Work instruction : WI) ,แนวทางการปฏิบัติใน สถานการณ์การระบาดโควิด-19 รวมถึง การใช ้สื่อดิจิทัลให ้ความรู้ตามมาตรการ New normal 3) จัดทารูปแบบบริการการแพทย์ทางไกล Telehealth สร ้างความร่วมมือกับ เครือข่าย อสม. รพ.สต. และทีมสหวิชาชีพ ในการดูแลผู้ป่ วยที่ห่างไกล ผู้ป่ วยติด เตียง และขยายผลถึงผู้ป่ วยที่ไม่จาเป็นต ้องมาโรงพยาบาล 1.การศึกษาสถานการณ์ พบสิ่งที่เป็นโอกาส พัฒนา ดังนี้ 1) พื้นที่แยกบริการไม่ชัดเจน มีความแออัด 2) พบผู้ป่ วยระดับเร่งด่วนได ้รับบริการล่าช ้า 3) ต ้องการเข ้าถึงบริการที่สะดวก 4) ต ้องการพฤติกรรมบริการที่ดี 5) ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยสูงขึ้น ในช่วงการระบาด ของโรคโควิด-19 ยกเว ้นคลินิกโรคเบาหวาน/ความ ดันฯ และมีอุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์ 6) ความเห็นต่อสิ่งที่ควรปรับปรุง ผู้ใช ้บริการ : อันดับ 1 คือด ้านการลดความแออัดและระยะเวลา รอคอย : บุคลากร : อันดับ 1 คือ ด ้านความ ปลอดภัยต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล สรุปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้ 3. ผลลัพธ์ 1) พบว่าสามารถลดความแออัด ได ้2 แผนก คือ หน้าห ้องจ่ายยาผู้ป่ วยนอก และคลินิก ARI ระยะเวลารอคอย พบแนวโน้มลดลง ของผู้ป่ วย นอกเร่งด่วน ผู้ป่ วยนอกทั่วไป และผู้ป่ วยคลินิก ARI 2) ด ้านความปลอดภัย ผู้ป่ วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ลงทะเบียนที่ คลินิก ARI มากขึ้น ถึงร ้อยละ 98.57 (เดิม 30.43) ผู้ใช ้บริการยังสวม หน้ากากอนามัย ร ้อยละ 100 ไม่เกิดอุบัติการณ์บุคลากรติดเชื้อโควิด-19 จากการปฏิบัติงาน ไม่เกิดการระบาด และไม่พบผู้ป่ วยเกิดอาการไม่ พึงประะสงค์ขณะรอตรวจ 3) ด ้านการเข ้าถึง พบว่า การจัดบริการการแพทย์ทางไกลช่วยให ้ผู้ป่ วยติดเตียง ผู้ป่ วยเบาหวาน ความดันฯ ที่ควบคุมโรคไม่ได ้รับยาที่ รพ.สต.ได ้พบแพทย์ รวมทั้งสิ้น 198 ราย (ณ 23 มิ.ย.2566) 4) ด ้านความพึงพอใจ พบว่า ใช ้บริการและบุคลากรมีความพึงพอใจมากขึ้นทั้ง 3 ด ้าน ค่าเฉลี่ยการรับรู้และความพึงพอใจ มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p-value <0.05 และผู้ใช ้บริการมีความพึงพอใจด ้านความปลอดภัย และทั้งผู้ใช ้บริการและบุคลากรมีความพึงพอใจด ้านการเข ้าถึงบริการ ใกล ้เคียงกับ
  • 27. ข้อเสนอแนะการวิจัย 1. ควรศึกษา เฉพาะเจาะจงแยกกลุ่มผู้ใช ้บริการแต่ละแผนก เพื่อให ้ได ้ข ้อมูลสถานการณ์ ที่ตรงกับ ความต ้องการของผู้ใช ้บริการมากขึ้น เนื่องจากผู้ใช ้บริการไม่ได ้มีประสบการณ์ใช ้บริการครบทั้ง 3 แผนก 2. ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบบริการการแพทย์ทางไกล Telehealth ในผู้ใช ้บริการนี้โดยเฉพาะ เพื่อให ้ได ้ข ้อมูลในการพัฒนาให ้เกิดการเข ้าถึงบริการที่มากขึ้น การนาผลงานไปใช ้ประโยชน์ • มีการขยายผลการดาเนินงานโดยบูรณาการร่วมกับเครือข่าย อสม. รพ.สต. อาเภอสีชมพู ทุก แห่ง ในรูปแบบการปฏิบัติ ในสถานการณ์การระบาด โรคโควิด-19 รูปแบบการบริการการแพทย์ ทางไกล • เป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลตามรูปแบบบริการวิถีใหม่ • เป็นตัวแทนจังหวัด นาเสนอ การพัฒนา EMS (Environment-Modernize-Smart service) ระดับประเทศ ในเวที สานักงานปลัดกระทรวงสัญจร ประจาปี 2566