SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
โครงการพัฒ นาตัว ชี้ว ัด เพื่อ
       ประเมิน คุณ ภาพ
เชิง ผลลัพ ธ์ข องระบบบริก ารผู้
           ป่ว ยนอก
(Ambulatory Care Sensitive Conditions: ACSCs)

                                             อาณัต ิ วรรณศรี
   สำา นัก งานวิจ ัย เพื่อ การพัฒ นาหลัก ประกัน สุข ภาพไทย
   นำา เสนอ รพ.มหาราชนครราชสีม า และ หน่ว ยระบาด
                         วิท ยา มหาวิท ยาลัย สงขลานคริน ทร์
                                         28   กัน ยายน   2555
ที่ม าและความสำา คัญ                (1)

โรคหรือ ภาวะที่ไ ม่ส มควรนอนโรง
พยาบาล (Ambulatory care sensitive conditions:
ACSCs)


•เป็นการนอนรักษาในโรงพยาบาลที่ไม่จำาเป็น
ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได้ (Avoidable hospitalization)
ป้องกันได้ (Preventable hospitalization) หากได้รับ
บริการที่ระดับปฐมภูมิหรือบริการผูป่วยนอกที่
                                         ้
ทันท่วงที
•เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหอบ
หืด เป็นต้น
ที่ม าและความสำา คัญ                 (2)


การพัฒ นาตัว ชีว ัด ACSC
                  ้
•การพัฒ นาเครื่อ งมือ ACSC ในต่า ง
ประเทศ
  - เริ่มมีการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1976 โดย
Rustein และคณะ เพื่อใช้เป็น Indexes of the quality
of care
  - นำาไปสูการพัฒนาตัวชีวัดคุณภาพบริการ
           ่            ้
(Quality) และการเข้าถึงบริการ (Accessibility) ใน
หลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย
สเปน แคนนาดา เป็นต้น
ที่ม าและความสำา คัญ         (3)


• การพัฒ นาเครื่อ งมือ ACSC ใน
  ประเทศไทย
  - ACSC กับบทบาทหน้าที่ของบริการปฐมภูมิ
  จ.พิษณุโลก
  - การศึกษาภาระโรคตามกลุ่มโรคร่วมผูป่วย
                                     ้
  นอกและคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิที่
  ไม่สมควรนอนโรงพยาบาล
  - คู่มือการวิเคราะห์อัตราการนอนโรง
  พยาบาลของภาวะ ACSC (สวปก.)
ที่ม าและความสำา คัญ          (4)

ความจำา เป็น ในการประเมิน การเข้า ถึง
บริก าร และคุณ ภาพของระบบบริก ารผู้
ป่ว ยนอกด้ว ยตัว ชีว ัด ACSC ของไทย
                   ้
•การเข้าถึงบริการ และคุณภาพของบริการ
เป็นหัวใจสำาคัญ และเป้าหมายหลักของการ
ปฏิรูประบบสาธารณสุขของไทย
•จากการศึกษา พบว่าอัตราการนอนรักษาใน
โรงพยาบาลด้วยภาวะ ACSC ที่สง สะท้อนการ
                            ู
เข้าถึงบริการผู้ปวยนอกหรือบริการปฐมภูมิใน
                 ่
อัตราส่วนที่ตำ่า
ที่ม าและความสำา คัญ               (5)

ระบบบริก ารสุข ภาพของไทย
•แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติย
ภูมิ
ความสนใจเฉพาะของการศึก ษาครั้ง นี้
     ระบบบริก ารปฐมภูม ิ (Primary care)
   - บริการด่านแรก ให้การดูแลทีต่อเนื่อง และให้
                               ่
   บริการรอบด้าน จัดบริการที่ รพ.สต. และ รพ.ชุมชน
      ระบบบริก ารผูป ว ยนอก (Ambulatory care)
                     ้ ่
   - ไม่ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล เช่น การ
วินิจฉัยโรค การผ่าตัดเล็ก (minor surgery) การฟื้นฟู
สมรรถภาพร่างกาย เป็นต้น ผูให้บริการมีความ
                              ้
ที่ม าและความสำา คัญ           (6)

ความซำ้า ซ้อ นของระบบบริก าร
•บริก ารปฐมภูม ิ vs. บริก ารผูป ว ยนอก
                                ้ ่
   - คำา นิย าม: บริการด่านแรก?
    - สถานที่ต ง : โรงพยาบาลขนาดใหญ่ตั้ง
                  ั้
อยู่ในแหล่งชุมชน?
    - สิท ธิห ลัก ประกัน สุข ภาพ: ประกัน
สังคม, สิทธิข้าราชการ vs. สิทธิหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ?
ที่ม าและความสำา คัญ            (7)


สรุป : บริการผูป่วยนอกมีความคลอบคลุมของ
               ้
การให้บริการด้านสุขภาพทั้งที่เป็นบริการปฐม
ภูมิรวมถึงบริการที่จัดโดยแพทย์เฉพาะทางใน
โรงพยาบาล
ดัง นั้น ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษาจึงสะท้อน
การให้บริการผู้ปวยนอกสำาหรับโรคที่ไม่ซับ
                  ่
ซ้อนของ รพ.สต. และบริการที่จัดโดยโรง
พยาบาลทุกระดับที่มีการให้บริการผู้ปวยนอก
                                    ่
วัต ถุป ระสงค์
• เพื่อพัฒนาหากลุ่มโรคที่มีความเหมาะสมใน
  การเป็นตัวแทนในการบ่งชีการเข้าถึง
                            ้
  บริการและคุณภาพของระบบบริการผูป่วย้
  นอกที่หมายความรวมถึงระบบบริการปฐม
  ภูมิ
• เพื่อประเมินการเข้าถึงระบบบริการ
  สาธารณสุขในพื้นที่เขต สปสช.
• เพื่อประเมินคุณภาพระบบบริการ
 สาธารณสุขในพื้นที่เขต สปสช.
ระเบีย บวิธ ีว ิจ ัย
• การศึก ษาเชิง คุณ ภาพ: ประยุกต์ใช้เดล
  ฟายเทคนิค
• เชิง ปริม าณ: วิเคราะห์อัตรานอนรักษาใน
  โรงพยาบาลด้วยภาวะ ACSC ใช้ฐานข้อมูลผู้
  ป่วยในของ สปสช. ปี 2550-2554
• ผูเ ชีย วชาญด้า นระบบบริก าร
    ้ ่
  สาธารณสุข : คุณสมบัติที่เหมาะสม?
• เกณฑ์พ ิจ ารณากลุ่ม โรค ACSC: อัตราการ
  นอนรักษาในโรงพยาบาลไม่ตำ่ากว่า 1/10,000
  ประชากร, Data clarity, Clinical validity
กรอบการคัด เลือ กกลุ่ม โรค
ขั้น ตอนการศึก ษา
บทบาทของนัก วิจ ัย ร่ว มของ
       โครงการฯ
• ให้ข้อคิดเห็น/เสนอแนะต่อ (ร่าง) โครงการ
 และรายงานการศึกษา

• มีส่วนร่วมในการพัฒนาตัวชีวัด ACSC ที่มี
                           ้
  ความเหมาะสมกับบริบทไทย ทั้งการศึกษา
  เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

• เข้าร่วมประชุมกลุ่มคณะทำางาน และเข้าร่วม
  ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาวิชาการของ
  โครงการ
ขอบคุณ ครับ

More Related Content

Similar to Ambulatory care sensitive conditions

ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxchutithamnillaphat
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานtepiemsak
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Ambulatory care sensitive conditions (20)

(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (August 5, 2015)
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 28, 2017)
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (March 21, 2018)
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1 (April 1, 2019)
 

More from Neung Arnat

Diagnosis Related Group
Diagnosis Related GroupDiagnosis Related Group
Diagnosis Related GroupNeung Arnat
 
Development of ACSC list as indicator of access and quality in primary care
Development of ACSC list as indicator of access and quality in primary careDevelopment of ACSC list as indicator of access and quality in primary care
Development of ACSC list as indicator of access and quality in primary careNeung Arnat
 
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...Neung Arnat
 
2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...
2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...
2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...Neung Arnat
 
2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...
2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...
2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...Neung Arnat
 
2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...
2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...
2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...Neung Arnat
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsNeung Arnat
 

More from Neung Arnat (7)

Diagnosis Related Group
Diagnosis Related GroupDiagnosis Related Group
Diagnosis Related Group
 
Development of ACSC list as indicator of access and quality in primary care
Development of ACSC list as indicator of access and quality in primary careDevelopment of ACSC list as indicator of access and quality in primary care
Development of ACSC list as indicator of access and quality in primary care
 
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
 
2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...
2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...
2013 jiraluck how can stroke patients have better accessibility to stroke fas...
 
2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...
2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...
2013 phatthanawilai impact of elective surgery in private hospitals under the...
 
2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...
2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...
2013 harmonization of three public health insurance schemes on emergency medi...
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditions
 

Ambulatory care sensitive conditions

  • 1. โครงการพัฒ นาตัว ชี้ว ัด เพื่อ ประเมิน คุณ ภาพ เชิง ผลลัพ ธ์ข องระบบบริก ารผู้ ป่ว ยนอก (Ambulatory Care Sensitive Conditions: ACSCs) อาณัต ิ วรรณศรี สำา นัก งานวิจ ัย เพื่อ การพัฒ นาหลัก ประกัน สุข ภาพไทย นำา เสนอ รพ.มหาราชนครราชสีม า และ หน่ว ยระบาด วิท ยา มหาวิท ยาลัย สงขลานคริน ทร์ 28 กัน ยายน 2555
  • 2. ที่ม าและความสำา คัญ (1) โรคหรือ ภาวะที่ไ ม่ส มควรนอนโรง พยาบาล (Ambulatory care sensitive conditions: ACSCs) •เป็นการนอนรักษาในโรงพยาบาลที่ไม่จำาเป็น ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได้ (Avoidable hospitalization) ป้องกันได้ (Preventable hospitalization) หากได้รับ บริการที่ระดับปฐมภูมิหรือบริการผูป่วยนอกที่ ้ ทันท่วงที •เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหอบ หืด เป็นต้น
  • 3. ที่ม าและความสำา คัญ (2) การพัฒ นาตัว ชีว ัด ACSC ้ •การพัฒ นาเครื่อ งมือ ACSC ในต่า ง ประเทศ - เริ่มมีการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1976 โดย Rustein และคณะ เพื่อใช้เป็น Indexes of the quality of care - นำาไปสูการพัฒนาตัวชีวัดคุณภาพบริการ ่ ้ (Quality) และการเข้าถึงบริการ (Accessibility) ใน หลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย สเปน แคนนาดา เป็นต้น
  • 4. ที่ม าและความสำา คัญ (3) • การพัฒ นาเครื่อ งมือ ACSC ใน ประเทศไทย - ACSC กับบทบาทหน้าที่ของบริการปฐมภูมิ จ.พิษณุโลก - การศึกษาภาระโรคตามกลุ่มโรคร่วมผูป่วย ้ นอกและคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิที่ ไม่สมควรนอนโรงพยาบาล - คู่มือการวิเคราะห์อัตราการนอนโรง พยาบาลของภาวะ ACSC (สวปก.)
  • 5. ที่ม าและความสำา คัญ (4) ความจำา เป็น ในการประเมิน การเข้า ถึง บริก าร และคุณ ภาพของระบบบริก ารผู้ ป่ว ยนอกด้ว ยตัว ชีว ัด ACSC ของไทย ้ •การเข้าถึงบริการ และคุณภาพของบริการ เป็นหัวใจสำาคัญ และเป้าหมายหลักของการ ปฏิรูประบบสาธารณสุขของไทย •จากการศึกษา พบว่าอัตราการนอนรักษาใน โรงพยาบาลด้วยภาวะ ACSC ที่สง สะท้อนการ ู เข้าถึงบริการผู้ปวยนอกหรือบริการปฐมภูมิใน ่ อัตราส่วนที่ตำ่า
  • 6. ที่ม าและความสำา คัญ (5) ระบบบริก ารสุข ภาพของไทย •แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติย ภูมิ ความสนใจเฉพาะของการศึก ษาครั้ง นี้ ระบบบริก ารปฐมภูม ิ (Primary care) - บริการด่านแรก ให้การดูแลทีต่อเนื่อง และให้ ่ บริการรอบด้าน จัดบริการที่ รพ.สต. และ รพ.ชุมชน ระบบบริก ารผูป ว ยนอก (Ambulatory care) ้ ่ - ไม่ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล เช่น การ วินิจฉัยโรค การผ่าตัดเล็ก (minor surgery) การฟื้นฟู สมรรถภาพร่างกาย เป็นต้น ผูให้บริการมีความ ้
  • 7. ที่ม าและความสำา คัญ (6) ความซำ้า ซ้อ นของระบบบริก าร •บริก ารปฐมภูม ิ vs. บริก ารผูป ว ยนอก ้ ่ - คำา นิย าม: บริการด่านแรก? - สถานที่ต ง : โรงพยาบาลขนาดใหญ่ตั้ง ั้ อยู่ในแหล่งชุมชน? - สิท ธิห ลัก ประกัน สุข ภาพ: ประกัน สังคม, สิทธิข้าราชการ vs. สิทธิหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ?
  • 8. ที่ม าและความสำา คัญ (7) สรุป : บริการผูป่วยนอกมีความคลอบคลุมของ ้ การให้บริการด้านสุขภาพทั้งที่เป็นบริการปฐม ภูมิรวมถึงบริการที่จัดโดยแพทย์เฉพาะทางใน โรงพยาบาล ดัง นั้น ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษาจึงสะท้อน การให้บริการผู้ปวยนอกสำาหรับโรคที่ไม่ซับ ่ ซ้อนของ รพ.สต. และบริการที่จัดโดยโรง พยาบาลทุกระดับที่มีการให้บริการผู้ปวยนอก ่
  • 9. วัต ถุป ระสงค์ • เพื่อพัฒนาหากลุ่มโรคที่มีความเหมาะสมใน การเป็นตัวแทนในการบ่งชีการเข้าถึง ้ บริการและคุณภาพของระบบบริการผูป่วย้ นอกที่หมายความรวมถึงระบบบริการปฐม ภูมิ • เพื่อประเมินการเข้าถึงระบบบริการ สาธารณสุขในพื้นที่เขต สปสช. • เพื่อประเมินคุณภาพระบบบริการ สาธารณสุขในพื้นที่เขต สปสช.
  • 10. ระเบีย บวิธ ีว ิจ ัย • การศึก ษาเชิง คุณ ภาพ: ประยุกต์ใช้เดล ฟายเทคนิค • เชิง ปริม าณ: วิเคราะห์อัตรานอนรักษาใน โรงพยาบาลด้วยภาวะ ACSC ใช้ฐานข้อมูลผู้ ป่วยในของ สปสช. ปี 2550-2554 • ผูเ ชีย วชาญด้า นระบบบริก าร ้ ่ สาธารณสุข : คุณสมบัติที่เหมาะสม? • เกณฑ์พ ิจ ารณากลุ่ม โรค ACSC: อัตราการ นอนรักษาในโรงพยาบาลไม่ตำ่ากว่า 1/10,000 ประชากร, Data clarity, Clinical validity
  • 13. บทบาทของนัก วิจ ัย ร่ว มของ โครงการฯ • ให้ข้อคิดเห็น/เสนอแนะต่อ (ร่าง) โครงการ และรายงานการศึกษา • มีส่วนร่วมในการพัฒนาตัวชีวัด ACSC ที่มี ้ ความเหมาะสมกับบริบทไทย ทั้งการศึกษา เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ • เข้าร่วมประชุมกลุ่มคณะทำางาน และเข้าร่วม ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาวิชาการของ โครงการ