SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาภาวะ Septic shock
                                                                    สมาคมเวชบําบัดวิกฤต

                                           บทนํา
        ภาวะ septic shock ในปจจุบัน ถือเปนภาวะการเจ็บปวยที่รุนแรงและมีอัตราตายสูง1-3 ไดมี
การพยายามหาวิธีการรักษาตางๆ เพื่อชวยเหลือผูปวยใหรอดชีวิตไดมากขึ้น ทางสมาคมเวชบําบัดวิกฤต
แหงประเทศไทยไดรับมอบหมายใหรวบรวมขอมูลวิธีการรักษาตางๆ และสรางแนวทางปฏิบัติเพื่อการ
รักษาภาวะ septic shock โดยหวังวาจะเปนประโยชนแกแพทยและผูปวย อยางไรก็ตามการตัดสินใจให
การรักษาใด ๆ ยังคงขึ้นอยูกับพื้นฐานของความเหมาะสมตามสภาวะของผูปวยและทรัพยากรของ
สถานพยาบาลที่ใหการดูแลรักษาผูปวยเปนหลัก
        การดูแลผูปวยภาวะ septic shock ใหไดผลดีนั้นประกอบดวยขั้นตอนสําคัญดังนี้
        1. การใหการวินิจฉัยภาวะ septic shock อยางถูกตอง
        2. การใหการรักษาที่เหมาะสม ดังนี้
           • การใหการรักษาภาวะติดเชื้อที่เปนสาเหตุของ septic shock
           • การดูแลผูปวยใหพนจากภาวะวิกฤตขณะเกิด septic shock

                       คําแนะนํา (recommendations)
การใหการวินิจฉัยภาวะ septic shock
• ภาวะ septic shock คือภาวะที่รางกายไดรับออกซิเจนและสารอาหารตาง ๆ ไมเพียงพอตอความ
  ตองการใช โดยมีสาเหตุมาจากการอักเสบที่เปนผลของการติดเชื้อในสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย
  ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอยางเฉียบพลันของระบบการทํางานตาง ๆ ในรางกาย 2 ไดแก
      - Pathologic vasodilatation
      - Increase of vascular permeability
      - Redistribution of intravascular fluid to intravascular space
      - Relative hypovolumia due to vasodilatation and vascular leakage
      - Myocardial suppression
      - Abnormal coagulation
• การใหการวินจฉัยภาวะ septic shock
                ิ
     1. มีภาวะการอักเสบของรางกาย (Systemic inflammatory response syndrome, SIRS) โดย
         มี > 3 ใน 4 ขอตอไปนี้
         - อุณหภูมิ >38 ºC หรือ < 36 ºC

                                                                                            1
- อัตราการเตนของหัวใจ > 90 ครั้ง / นาที (ยกเวนมีภาวะที่ทําใหอัตราการเตนของหัวใจ
              เร็วหรือชาผิดปกติอยูเดิม)
         - อัตราการหายใจ >20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 < 32 มม.ปรอท
         - White blood cell count >12,000 ลบ.มม หรือ < 4,000 ลบ.มม. หรือมี immature
              polymorphonuclear cell >10%
      2. มีแหลงของการติดเชื้อใหเห็นชัดเจน เชน โรคปอดอักเสบ, ติดเชื้อทางเดินปสสาวะ, ติดเชื้อ
          ในชองทอง หรือติดเชื้อที่สมอง เปนตน
      3. รวมกับมีภาวะของการไดรับออกซิเจนหรือเลือดไปเลี้ยงอวัยวะตางๆ ไมเพียงพอ (poor
          tissue perfusion) 4 ขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้
         - systolic blood pressure < 90 มม.ปรอท หรือลดลงจากระดับความดันปกติของผูปวย
              เกิน 40 มม.ปรอท
         - urine output < 0.5 มล./กก./ชั่วโมง
         - unexplained metabolic acidosis
                      : pH < 7.30 หรือ base deficit > 5.0 mmol/L
                      : blood lactate > 4 mmol/L
• ควรทําการวินจฉัยแยกโรค หรือบางภาวะที่อาจมีอาการและอาการแสดงคลาย septic shock ได
                  ิ
  เชน acute pancreatitis, thyroid storm และ anaphylaxis เปนตน

การรักษาภาวะ septic shock
• หลังไดรับการวินิจฉัยภาวะ septic shock แลวผูปวยควรไดรับการรักษาโดยเร็ว เพื่อพยายามลด
  อัตราการเสียชีวิตของผูปวย โดยการรักษาหลักประกอบดวย5
  1. การหาและกําจัดแหลงติดเชื้อที่เปนสาเหตุของภาวะ septic shock
           - พิจารณาใหยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมอยางรวดเร็วหลังจากไดสงเพาะเชื้อในเลือดและสิ่ง
              สงตรวจตาง ๆ แลว
           - การกําจัดแหลงติดเชื้อโดยการผาตัด เพื่อระบายหนองหรือสิ่งแปลกปลอมออก เชน
              การ drain abscess การทํา percutaneous nephrostomy, การทํา cholecystectomy
              เปนตน
  2. การรักษาเพื่อใหผานพนภาวะวิกฤตของ septic shock
           - Oxygen supplement therapy ในกรณีที่ O2 sat room air < 95%
           - การใชเครื่องชวยหายใจ ถาผูปวยมีภาวะระบบการหายใจลมเหลว พิจารณาใส
              endotracheal tube และใช mechanical ventilator ชวยการหายใจของผูปวยให
              เพียงพอ
                                                                                             2
- Hemodynamic support (รูปภาพที่ 1) การรักษาภาวะ hypoperfusion ใน septic
                   shock มี จุ ด ประสงค ห ลั ก คื อ การพยายามให ร ะบบไหลเวี ย นโลหิ ต สามารถขนส ง
                   oxygen ไปสูอวัยวะตาง ๆ ของรางกายไดอยางเพียงพอ โดยมิใชเพียงเพิ่มเฉพาะ
                   ความดันโลหิตเทานั้น
• เพื่อใหไดตามวัตถุประสงคดงกลาวในดาน hemodynamic support การรักษาผูปวย septic shock
                                   ั                                                
     จึงควรประกอบดวยหลักสําคัญดังนี้
          1. Adequate intravascular volume
              ผูปวยที่มีภาวะ Septic shock ควรไดรับสารน้ําอยางรวดเร็วและเพียงพอ โดยเริ่มตนใหสาร
น้ําในรูปของ NSS หรือ lactated ringer’s solution (LRS) ในขนาด 500-1,000 cc ใน ½ ชั่วโมง และทํา
การประเมิน intravascular volume โดยอาศัยการตรวจรางกาย เชน การดูระดับ jugular venous
pressure (JVP)
              หากการประเมิน Intravascular volume โดยการตรวจรางกายทําใหยากหรือไมแนใจ และ
อยูในสถานพยาบาลที่สามารถทํา invasive monitoring ได พิจารณาใส central venous catheter เพื่อ
วัด central venous pressure (CVP) หรือใส pulmonary artery catheter เพื่อวัด pulmonary
capillary wedge pressure (PCWP)

                Goal: JVP > 3-5 cmH2O above sternal angle
                      CVP > 10 - 15 cmH2O
                      PCWP > 15 -18 มม.ปรอท

               ถาระดับ JVP, CVP หรือ PCWP ยังไมไดตาม goal พิจารณาใหสารน้ําตอไป ในปจจุบันยัง
ไมมีขอมูลที่บงชี้วาการใหสารน้ําในรูปของ colloid จะมีประสิทธิภาพดีกวาการใช crystalloid ดังนั้นจึง
ควรเลือกใช NSS หรือ LRS เปนหลัก 6-8

         2. Accept blood pressure
              Goal: mean arterial blood pressure (MAP) > 65 mmHg
                         ⎛       ⎡ SBP − DBP ⎤       ⎞
                         ⎜ MAP = ⎢
                         ⎜                   ⎥ + DBP ⎟
                                                     ⎟
                         ⎝       ⎣     3     ⎦       ⎠



                เมื่อไดให Fluid resuscitate จน adequate intravascular volume แลว ความดัน
โลหิตยังไมไดตาม goal พิจารณาใหการรักษาดังตอไปนี้
                2.1. Vasopressor
                      Dopamine 5 -15 µg/kg/min หรือ Norepinephine 0.2 -2 µg/kg/min

                                                                                                     3
ในปจจุบันยังไมมีขอมูลในลักษณะ randomized control trial เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ
ยาทั้ง 2 ชนิดในการรักษาภาวะ septic shock แตอยางไรก็ตามจากขอมูลที่มีอยูพบวา dopamine จะ
สามารถเพิ่ม cardiac contractility และอาจเพิ่ม cardiac output ได เมื่อเทียบกับ norepinephine จึง
อาจมีประโยชนในผูปวย septic shock ที่มีการบีบตัวของหัวใจผิดปกติ ในขณะที่ norepinephine มี
ขอมูลวาเปน vasopressor ที่ไมลด splanchnic blood flow มากนัก 9
                 2.2. Steroids
                          หลังให vasopressor ถา MAP < 65 มม.ปรอท ใหเจาะ serum cortisol และ
เริ่มให hydrocortisone ทางหลอดเลือดดําในขนาด 300 มก./วัน โดยแบงใหทุก 8 ชั่วโมง หรือให
continuous drip ใน 24 ชั่วโมง ก็ได ถาอยูในสถานที่ที่สามารถตรวจระดับ serum cortisol ได ใหทํา
การทดสอบ ACTH stimulation test ถาระดับ serum cortisol เพิ่มขึ้นมากกวา 9 µg/dl สามารถหยุด
ยา hydrocortisone ได 10
                          ถาไมสามารถตรวจ serum cortisol ได หรือระดับ serum cortisol เพิ่มขึ้นไม
เกิน 9 µg/ml พิจารณาใหยา hydrocortisone ขนาด 300 มก./วัน 2-3 วัน จน hemodynamic stable
และลดยาลงจนหยุดยาไดภายใน 1 สัปดาห11
                 2.3. Reassess intravascular volume
                          ถาหลังให vasopressor และ hydrocortisone แลว MAP < 65 มม.ปรอท ให
ทําการประเมิน intravascular volume อีกครั้งวาเพียงพอตาม goal หรือไม
                 2.4. Adrenaline
                          ถาปฏิบัติตามขอ 2.1 -2.3 แลว MAP ยัง < 65 มม.ปรอท พิจารณาให
adrenaline intravenous โดบปรับปริมาณของยาเพื่อใหได MAP > 65 มม.ปรอท
                          อาจพิจาณาเริ่ม vasopressor ควบคูไปกับการให fluid resuscitate เพื่อเพิ่ม
ความดันโลหิตในชวงแรกขณะที่ยังให volume ไมเพียงพอ เพื่อปองกันภาวะ prolong hypotension ได
แตไมควรหยุดการให fluid resuscitation เมื่อ MAP > 65 มม.ปรอท โดยที่ยังไม adequate
intravascular volume ในกรณีดังกลาว

        3. Adequate organ perfusion
             Goal : - Urine > 0.5 ml/kg/hr หรือ
                  - Arterial blood pH > 7.3 หรือ
                  - Blood lactate < 4 mEq/L หรือ
                  - Superior vena canal oxygen saturation > 70%




                                                                                                 4
หากยังไมได Adequate organ perfusion ทั้งที่ได adequate intravascular volume
และ MAP > 65 มม.ปรอท แลว ใหพิจาณาการรักษาที่หวังเพิ่ม oxygen delivery to peripheral tissue
ไดแก8
              3.1 Hematocrit < 30% ให PRC เพื่อเพิ่ม Hct > 30%
              3.2 Hematocrit > 30 % ให Dobutamine 5-20 µg/kg/min
              หากสามารถใหการรักษาผูปวย septic shock จนได adequate organ perfusion
ภายในเวลาไมเกิน 6 ชั่วโมง (นับจากเริ่ม shock) จะสามารถลดอัตราเสียชีวิตของผูปวยลงไดประมาณi
รอยละ 3012

         4. Metabolic support
               ผูปวยที่มีภาวะ septic shock ควรไดรับการใหสารอาหารที่เพียงพอและควรควบคุม
ระดับน้ําตาลในเลือดใหอยูในระหวาง 80 -140 มก./มล.13 และหากมีภาวะไตวายเฉียบพลัน หรือ
severe metabolic acidosis พิจารณาใหการรักษา renal replacement therapy ตามความเหมาะสม

         5. Frequent reevaluated patient
                สิ่งที่แพทยควรระวังคือ ภาวะ persistent leakage ของ intravascular fluid ซึ่งจะพบ
ไดโดยเฉพาะในชวง 24 ชั่วโมงแรก จึงจําเปนที่จะตองมีการใหสารน้ําในอัตราที่เหมาะสม เพือใหปริมาณ
                                                                                       ่
intravascular volume เพียงพอ (อาจใช JVP, CVP หรือ PCWP เปนแนวทาง)




                                                                                               5
เอกสารอางอิง
   1. Greg S M, David M M, Stephanie E, Marc M. The epidemiology of sepsis in the United
       States from 1979 through 2000. N Engl J Med 2003;348:1546-54.
   2. Richard S H, Irene E K. The pathophysiology and treatment of sepsis. N Engl J Med
       2003;348:138-50.
   3. Angus DC, Linde-Zwirble WT, Lidicker J, Clermont G, Carcillo J, Pinsky MR.
       Epidemiology of severe sepsis in the Unite States: analysis of incidence, outcome,
       and associated costs of care. Crit Care Med 2001;29:1303-10.
   4. American College of Chest Physicians/Society of Critical Care Medicine Consensus
       Conference: definitions for sepsis and organ failure and guidelines for the use of
       innovative therapies in sepsis. Crit Care Med 1992;20:864-74.
   5. Dellinger R P, Carlet J M, Masur H, Gerlach H, Calandra T, Cohen J, Gea-Banacloche
       J, Keh D, Marshall J C, Parker M M, Ramsay G, Zimmerman J L, Vincent J L, Levy M
       M, for the Surviving Sepsis Campaign Management Guidelines Committee. Surviving
       Sepsis Campaign guidelines for management of severe sepsis and septic shock. Crit
       Care Med 2004;32:858-73.
   6. Bunn F, Alderson P, Hawkins V. Colloid solutions for fluid resuscitation. Cochrane
       Database Syst Rev 2003;1:CD001319.
   7. Choi PT, Yip G, Quinonez LG, Cook DJ. Crystalloids vs. colloids in fluid resuscitation:
       a systematic review. Crit Care Med 1999;27:200-10.
   8. The Saline versus Albumin Fluid Evaluation (SAFE) Study investigators. A comparison
       of albumin and saline for fluid resuscitation in the intensive care unit. N Engl J Med
       2004;350:2247-56.
   9. Beale R J, Hollenberg S M, Vincent J L, Parrillo J E. Vasopressor and inotropic
       support in septic shock: An evidence based review. Crit Care Med
       2004;32(Suppl.):S455-65.
   10. Annane D, Sebille V, Charpentier C, et al: Effect of treatment with low doses of
       hydrocortisone and fludrocortisone on mortality in patients with septic shock. JAMA
       2002;288:862–871
   11. Keh D, Sprung C L. Use of corticosteroid therapy in patients with sepsis and septic
       shock: An evidence-based review. Crit Care Med 2004; 32(Suppl.):S527–S533.

                                                                                            6
12. Rivers E, Nguyen B, Havstad S, et al: Early goal-directed therapy in the treatment of
    severe sepsis and septic shock. N Engl J Med 2001; 345:1368–1377
13. Van den Berghe G, Wouters P, Weekers F, et al: Intensive insulin therapy in the
    critically ill patients. N Engl J Med 2001; 345:1359–1367




                                                                                            7

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Shock
ShockShock
Shock
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

Viewers also liked

Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Loveis1able Khumpuangdee
 
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animalsLR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animalsI Want To Become A Vet
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
Hyponatremia in Clinical Practice
Hyponatremia in Clinical PracticeHyponatremia in Clinical Practice
Hyponatremia in Clinical PracticeRohan_Roxxx
 
General physical examination in psyhiatry
General physical examination in psyhiatryGeneral physical examination in psyhiatry
General physical examination in psyhiatryDr. Sunil Suthar
 
Electrolyte disturbances
Electrolyte disturbancesElectrolyte disturbances
Electrolyte disturbancesgaganbrar18
 
Hemolytic anemia
Hemolytic anemiaHemolytic anemia
Hemolytic anemiasoftmail
 
Respiratory failure
Respiratory failureRespiratory failure
Respiratory failureAdel Hamada
 
anti-psychotic drugs
anti-psychotic drugsanti-psychotic drugs
anti-psychotic drugsDJ CrissCross
 
Approach to gastrointestinal bleeding
Approach to gastrointestinal bleedingApproach to gastrointestinal bleeding
Approach to gastrointestinal bleedingSamir Haffar
 
Ppt for physical examination
Ppt for physical examinationPpt for physical examination
Ppt for physical examinationchristynevin
 

Viewers also liked (20)

Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
 
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animalsLR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
Hyponatremia in Clinical Practice
Hyponatremia in Clinical PracticeHyponatremia in Clinical Practice
Hyponatremia in Clinical Practice
 
Skin and Soft Tissue Infections
Skin and Soft Tissue InfectionsSkin and Soft Tissue Infections
Skin and Soft Tissue Infections
 
Side effects of Antipsychotic Agents
Side effects of Antipsychotic AgentsSide effects of Antipsychotic Agents
Side effects of Antipsychotic Agents
 
Neuroleptic malignant syndrome
Neuroleptic malignant syndromeNeuroleptic malignant syndrome
Neuroleptic malignant syndrome
 
General physical examination in psyhiatry
General physical examination in psyhiatryGeneral physical examination in psyhiatry
General physical examination in psyhiatry
 
Electrolyte disturbances
Electrolyte disturbancesElectrolyte disturbances
Electrolyte disturbances
 
Respiratory Failure
Respiratory FailureRespiratory Failure
Respiratory Failure
 
Hemolytic anemia
Hemolytic anemiaHemolytic anemia
Hemolytic anemia
 
Respiratory failure
Respiratory failureRespiratory failure
Respiratory failure
 
anti-psychotic drugs
anti-psychotic drugsanti-psychotic drugs
anti-psychotic drugs
 
Skin and Soft Tissue Infections
Skin and Soft Tissue InfectionsSkin and Soft Tissue Infections
Skin and Soft Tissue Infections
 
Sepsis
SepsisSepsis
Sepsis
 
Approach to gastrointestinal bleeding
Approach to gastrointestinal bleedingApproach to gastrointestinal bleeding
Approach to gastrointestinal bleeding
 
Sepsis And Septic Shock
Sepsis And Septic ShockSepsis And Septic Shock
Sepsis And Septic Shock
 
Approach to anaemia
Approach to anaemiaApproach to anaemia
Approach to anaemia
 
Ppt for physical examination
Ppt for physical examinationPpt for physical examination
Ppt for physical examination
 

Similar to Septic shock guideline

008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdfSomchaiPt
 
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distresstaem
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic StrokeKanyanat Taew
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Angkana Chongjarearn
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)Aiman Sadeeyamu
 
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยNakhon Pathom Rajabhat University
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxxeremslad
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 

Similar to Septic shock guideline (20)

008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
 
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distress
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
 
Pci guideline
Pci guidelinePci guideline
Pci guideline
 
Pci guideline
Pci guidelinePci guideline
Pci guideline
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
 
Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
 
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
 
Pdf diabetes & ckd for nurses
Pdf   diabetes &  ckd for nurses Pdf   diabetes &  ckd for nurses
Pdf diabetes & ckd for nurses
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
Denguehemorrhage
DenguehemorrhageDenguehemorrhage
Denguehemorrhage
 
Denguehemorrhage
DenguehemorrhageDenguehemorrhage
Denguehemorrhage
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 

More from Loveis1able Khumpuangdee (20)

Rollup01
Rollup01Rollup01
Rollup01
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Eidnotebook54
Eidnotebook54Eidnotebook54
Eidnotebook54
 
Data l3 148
Data l3 148Data l3 148
Data l3 148
 
Data l3 147
Data l3 147Data l3 147
Data l3 147
 
Data l3 127
Data l3 127Data l3 127
Data l3 127
 
Data l3 126
Data l3 126Data l3 126
Data l3 126
 
Data l3 113
Data l3 113Data l3 113
Data l3 113
 
Data l3 112
Data l3 112Data l3 112
Data l3 112
 
Data l3 92
Data l3 92Data l3 92
Data l3 92
 
Data l3 89
Data l3 89Data l3 89
Data l3 89
 
Data l2 80
Data l2 80Data l2 80
Data l2 80
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Hfm work2550
Hfm work2550Hfm work2550
Hfm work2550
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 

Septic shock guideline

  • 1. แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาภาวะ Septic shock สมาคมเวชบําบัดวิกฤต บทนํา ภาวะ septic shock ในปจจุบัน ถือเปนภาวะการเจ็บปวยที่รุนแรงและมีอัตราตายสูง1-3 ไดมี การพยายามหาวิธีการรักษาตางๆ เพื่อชวยเหลือผูปวยใหรอดชีวิตไดมากขึ้น ทางสมาคมเวชบําบัดวิกฤต แหงประเทศไทยไดรับมอบหมายใหรวบรวมขอมูลวิธีการรักษาตางๆ และสรางแนวทางปฏิบัติเพื่อการ รักษาภาวะ septic shock โดยหวังวาจะเปนประโยชนแกแพทยและผูปวย อยางไรก็ตามการตัดสินใจให การรักษาใด ๆ ยังคงขึ้นอยูกับพื้นฐานของความเหมาะสมตามสภาวะของผูปวยและทรัพยากรของ สถานพยาบาลที่ใหการดูแลรักษาผูปวยเปนหลัก การดูแลผูปวยภาวะ septic shock ใหไดผลดีนั้นประกอบดวยขั้นตอนสําคัญดังนี้ 1. การใหการวินิจฉัยภาวะ septic shock อยางถูกตอง 2. การใหการรักษาที่เหมาะสม ดังนี้ • การใหการรักษาภาวะติดเชื้อที่เปนสาเหตุของ septic shock • การดูแลผูปวยใหพนจากภาวะวิกฤตขณะเกิด septic shock คําแนะนํา (recommendations) การใหการวินิจฉัยภาวะ septic shock • ภาวะ septic shock คือภาวะที่รางกายไดรับออกซิเจนและสารอาหารตาง ๆ ไมเพียงพอตอความ ตองการใช โดยมีสาเหตุมาจากการอักเสบที่เปนผลของการติดเชื้อในสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอยางเฉียบพลันของระบบการทํางานตาง ๆ ในรางกาย 2 ไดแก - Pathologic vasodilatation - Increase of vascular permeability - Redistribution of intravascular fluid to intravascular space - Relative hypovolumia due to vasodilatation and vascular leakage - Myocardial suppression - Abnormal coagulation • การใหการวินจฉัยภาวะ septic shock ิ 1. มีภาวะการอักเสบของรางกาย (Systemic inflammatory response syndrome, SIRS) โดย มี > 3 ใน 4 ขอตอไปนี้ - อุณหภูมิ >38 ºC หรือ < 36 ºC 1
  • 2. - อัตราการเตนของหัวใจ > 90 ครั้ง / นาที (ยกเวนมีภาวะที่ทําใหอัตราการเตนของหัวใจ เร็วหรือชาผิดปกติอยูเดิม) - อัตราการหายใจ >20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 < 32 มม.ปรอท - White blood cell count >12,000 ลบ.มม หรือ < 4,000 ลบ.มม. หรือมี immature polymorphonuclear cell >10% 2. มีแหลงของการติดเชื้อใหเห็นชัดเจน เชน โรคปอดอักเสบ, ติดเชื้อทางเดินปสสาวะ, ติดเชื้อ ในชองทอง หรือติดเชื้อที่สมอง เปนตน 3. รวมกับมีภาวะของการไดรับออกซิเจนหรือเลือดไปเลี้ยงอวัยวะตางๆ ไมเพียงพอ (poor tissue perfusion) 4 ขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้ - systolic blood pressure < 90 มม.ปรอท หรือลดลงจากระดับความดันปกติของผูปวย เกิน 40 มม.ปรอท - urine output < 0.5 มล./กก./ชั่วโมง - unexplained metabolic acidosis : pH < 7.30 หรือ base deficit > 5.0 mmol/L : blood lactate > 4 mmol/L • ควรทําการวินจฉัยแยกโรค หรือบางภาวะที่อาจมีอาการและอาการแสดงคลาย septic shock ได ิ เชน acute pancreatitis, thyroid storm และ anaphylaxis เปนตน การรักษาภาวะ septic shock • หลังไดรับการวินิจฉัยภาวะ septic shock แลวผูปวยควรไดรับการรักษาโดยเร็ว เพื่อพยายามลด อัตราการเสียชีวิตของผูปวย โดยการรักษาหลักประกอบดวย5 1. การหาและกําจัดแหลงติดเชื้อที่เปนสาเหตุของภาวะ septic shock - พิจารณาใหยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมอยางรวดเร็วหลังจากไดสงเพาะเชื้อในเลือดและสิ่ง สงตรวจตาง ๆ แลว - การกําจัดแหลงติดเชื้อโดยการผาตัด เพื่อระบายหนองหรือสิ่งแปลกปลอมออก เชน การ drain abscess การทํา percutaneous nephrostomy, การทํา cholecystectomy เปนตน 2. การรักษาเพื่อใหผานพนภาวะวิกฤตของ septic shock - Oxygen supplement therapy ในกรณีที่ O2 sat room air < 95% - การใชเครื่องชวยหายใจ ถาผูปวยมีภาวะระบบการหายใจลมเหลว พิจารณาใส endotracheal tube และใช mechanical ventilator ชวยการหายใจของผูปวยให เพียงพอ 2
  • 3. - Hemodynamic support (รูปภาพที่ 1) การรักษาภาวะ hypoperfusion ใน septic shock มี จุ ด ประสงค ห ลั ก คื อ การพยายามให ร ะบบไหลเวี ย นโลหิ ต สามารถขนส ง oxygen ไปสูอวัยวะตาง ๆ ของรางกายไดอยางเพียงพอ โดยมิใชเพียงเพิ่มเฉพาะ ความดันโลหิตเทานั้น • เพื่อใหไดตามวัตถุประสงคดงกลาวในดาน hemodynamic support การรักษาผูปวย septic shock ั  จึงควรประกอบดวยหลักสําคัญดังนี้ 1. Adequate intravascular volume ผูปวยที่มีภาวะ Septic shock ควรไดรับสารน้ําอยางรวดเร็วและเพียงพอ โดยเริ่มตนใหสาร น้ําในรูปของ NSS หรือ lactated ringer’s solution (LRS) ในขนาด 500-1,000 cc ใน ½ ชั่วโมง และทํา การประเมิน intravascular volume โดยอาศัยการตรวจรางกาย เชน การดูระดับ jugular venous pressure (JVP) หากการประเมิน Intravascular volume โดยการตรวจรางกายทําใหยากหรือไมแนใจ และ อยูในสถานพยาบาลที่สามารถทํา invasive monitoring ได พิจารณาใส central venous catheter เพื่อ วัด central venous pressure (CVP) หรือใส pulmonary artery catheter เพื่อวัด pulmonary capillary wedge pressure (PCWP) Goal: JVP > 3-5 cmH2O above sternal angle CVP > 10 - 15 cmH2O PCWP > 15 -18 มม.ปรอท ถาระดับ JVP, CVP หรือ PCWP ยังไมไดตาม goal พิจารณาใหสารน้ําตอไป ในปจจุบันยัง ไมมีขอมูลที่บงชี้วาการใหสารน้ําในรูปของ colloid จะมีประสิทธิภาพดีกวาการใช crystalloid ดังนั้นจึง ควรเลือกใช NSS หรือ LRS เปนหลัก 6-8 2. Accept blood pressure Goal: mean arterial blood pressure (MAP) > 65 mmHg ⎛ ⎡ SBP − DBP ⎤ ⎞ ⎜ MAP = ⎢ ⎜ ⎥ + DBP ⎟ ⎟ ⎝ ⎣ 3 ⎦ ⎠ เมื่อไดให Fluid resuscitate จน adequate intravascular volume แลว ความดัน โลหิตยังไมไดตาม goal พิจารณาใหการรักษาดังตอไปนี้ 2.1. Vasopressor Dopamine 5 -15 µg/kg/min หรือ Norepinephine 0.2 -2 µg/kg/min 3
  • 4. ในปจจุบันยังไมมีขอมูลในลักษณะ randomized control trial เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ ยาทั้ง 2 ชนิดในการรักษาภาวะ septic shock แตอยางไรก็ตามจากขอมูลที่มีอยูพบวา dopamine จะ สามารถเพิ่ม cardiac contractility และอาจเพิ่ม cardiac output ได เมื่อเทียบกับ norepinephine จึง อาจมีประโยชนในผูปวย septic shock ที่มีการบีบตัวของหัวใจผิดปกติ ในขณะที่ norepinephine มี ขอมูลวาเปน vasopressor ที่ไมลด splanchnic blood flow มากนัก 9 2.2. Steroids หลังให vasopressor ถา MAP < 65 มม.ปรอท ใหเจาะ serum cortisol และ เริ่มให hydrocortisone ทางหลอดเลือดดําในขนาด 300 มก./วัน โดยแบงใหทุก 8 ชั่วโมง หรือให continuous drip ใน 24 ชั่วโมง ก็ได ถาอยูในสถานที่ที่สามารถตรวจระดับ serum cortisol ได ใหทํา การทดสอบ ACTH stimulation test ถาระดับ serum cortisol เพิ่มขึ้นมากกวา 9 µg/dl สามารถหยุด ยา hydrocortisone ได 10 ถาไมสามารถตรวจ serum cortisol ได หรือระดับ serum cortisol เพิ่มขึ้นไม เกิน 9 µg/ml พิจารณาใหยา hydrocortisone ขนาด 300 มก./วัน 2-3 วัน จน hemodynamic stable และลดยาลงจนหยุดยาไดภายใน 1 สัปดาห11 2.3. Reassess intravascular volume ถาหลังให vasopressor และ hydrocortisone แลว MAP < 65 มม.ปรอท ให ทําการประเมิน intravascular volume อีกครั้งวาเพียงพอตาม goal หรือไม 2.4. Adrenaline ถาปฏิบัติตามขอ 2.1 -2.3 แลว MAP ยัง < 65 มม.ปรอท พิจารณาให adrenaline intravenous โดบปรับปริมาณของยาเพื่อใหได MAP > 65 มม.ปรอท อาจพิจาณาเริ่ม vasopressor ควบคูไปกับการให fluid resuscitate เพื่อเพิ่ม ความดันโลหิตในชวงแรกขณะที่ยังให volume ไมเพียงพอ เพื่อปองกันภาวะ prolong hypotension ได แตไมควรหยุดการให fluid resuscitation เมื่อ MAP > 65 มม.ปรอท โดยที่ยังไม adequate intravascular volume ในกรณีดังกลาว 3. Adequate organ perfusion Goal : - Urine > 0.5 ml/kg/hr หรือ - Arterial blood pH > 7.3 หรือ - Blood lactate < 4 mEq/L หรือ - Superior vena canal oxygen saturation > 70% 4
  • 5. หากยังไมได Adequate organ perfusion ทั้งที่ได adequate intravascular volume และ MAP > 65 มม.ปรอท แลว ใหพิจาณาการรักษาที่หวังเพิ่ม oxygen delivery to peripheral tissue ไดแก8 3.1 Hematocrit < 30% ให PRC เพื่อเพิ่ม Hct > 30% 3.2 Hematocrit > 30 % ให Dobutamine 5-20 µg/kg/min หากสามารถใหการรักษาผูปวย septic shock จนได adequate organ perfusion ภายในเวลาไมเกิน 6 ชั่วโมง (นับจากเริ่ม shock) จะสามารถลดอัตราเสียชีวิตของผูปวยลงไดประมาณi รอยละ 3012 4. Metabolic support ผูปวยที่มีภาวะ septic shock ควรไดรับการใหสารอาหารที่เพียงพอและควรควบคุม ระดับน้ําตาลในเลือดใหอยูในระหวาง 80 -140 มก./มล.13 และหากมีภาวะไตวายเฉียบพลัน หรือ severe metabolic acidosis พิจารณาใหการรักษา renal replacement therapy ตามความเหมาะสม 5. Frequent reevaluated patient สิ่งที่แพทยควรระวังคือ ภาวะ persistent leakage ของ intravascular fluid ซึ่งจะพบ ไดโดยเฉพาะในชวง 24 ชั่วโมงแรก จึงจําเปนที่จะตองมีการใหสารน้ําในอัตราที่เหมาะสม เพือใหปริมาณ ่ intravascular volume เพียงพอ (อาจใช JVP, CVP หรือ PCWP เปนแนวทาง) 5
  • 6. เอกสารอางอิง 1. Greg S M, David M M, Stephanie E, Marc M. The epidemiology of sepsis in the United States from 1979 through 2000. N Engl J Med 2003;348:1546-54. 2. Richard S H, Irene E K. The pathophysiology and treatment of sepsis. N Engl J Med 2003;348:138-50. 3. Angus DC, Linde-Zwirble WT, Lidicker J, Clermont G, Carcillo J, Pinsky MR. Epidemiology of severe sepsis in the Unite States: analysis of incidence, outcome, and associated costs of care. Crit Care Med 2001;29:1303-10. 4. American College of Chest Physicians/Society of Critical Care Medicine Consensus Conference: definitions for sepsis and organ failure and guidelines for the use of innovative therapies in sepsis. Crit Care Med 1992;20:864-74. 5. Dellinger R P, Carlet J M, Masur H, Gerlach H, Calandra T, Cohen J, Gea-Banacloche J, Keh D, Marshall J C, Parker M M, Ramsay G, Zimmerman J L, Vincent J L, Levy M M, for the Surviving Sepsis Campaign Management Guidelines Committee. Surviving Sepsis Campaign guidelines for management of severe sepsis and septic shock. Crit Care Med 2004;32:858-73. 6. Bunn F, Alderson P, Hawkins V. Colloid solutions for fluid resuscitation. Cochrane Database Syst Rev 2003;1:CD001319. 7. Choi PT, Yip G, Quinonez LG, Cook DJ. Crystalloids vs. colloids in fluid resuscitation: a systematic review. Crit Care Med 1999;27:200-10. 8. The Saline versus Albumin Fluid Evaluation (SAFE) Study investigators. A comparison of albumin and saline for fluid resuscitation in the intensive care unit. N Engl J Med 2004;350:2247-56. 9. Beale R J, Hollenberg S M, Vincent J L, Parrillo J E. Vasopressor and inotropic support in septic shock: An evidence based review. Crit Care Med 2004;32(Suppl.):S455-65. 10. Annane D, Sebille V, Charpentier C, et al: Effect of treatment with low doses of hydrocortisone and fludrocortisone on mortality in patients with septic shock. JAMA 2002;288:862–871 11. Keh D, Sprung C L. Use of corticosteroid therapy in patients with sepsis and septic shock: An evidence-based review. Crit Care Med 2004; 32(Suppl.):S527–S533. 6
  • 7. 12. Rivers E, Nguyen B, Havstad S, et al: Early goal-directed therapy in the treatment of severe sepsis and septic shock. N Engl J Med 2001; 345:1368–1377 13. Van den Berghe G, Wouters P, Weekers F, et al: Intensive insulin therapy in the critically ill patients. N Engl J Med 2001; 345:1359–1367 7