SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
บทที่ 12 การให้สารละลายทางหลอดเลือดดา
อ.กรวรรณ สุวรรณสาร
The purposes
Maintain Fluid / electrolytes/ vitamin balance1
Administer drug2
Provide a source of calories3
Replace blood and blood products4
Administering intravenous therapy
3.implanted vascular
access device / venous
port2.central venous
therapy
1.peripheral
intravenous infusion
Selected IV solutions [crystalloid solutions]
Fluid losses >intake
Reduce cerebral edema, expand the
circulatory volume rapidly
0.45% sodium
chloride,
0.33% NaClRinger’s lactate, Ringer’s acetate,
0.9% sodium chloride (normal
saline), Dextrose 5% in water
Dextrose 10% in water,
3-5% sodium chloride, Dextrose 5%
in 0.9% sodium chloride
Isotonic
solution
Hypotonic
solution
Hypertonic
solution
ตัวอย่างสารนา และคาย่อที่พบบ่อย
• 0.9% sodium chloride 0.9% NaCl
• 0.9%normal saline =0.9%NSS
• Dextrose 5% in water =5%D/W
• 0.45% sodium chloride=0.45%NaCl
• Keep vein open =KVO
Drop factors
Regulating IV flow rate
5%D/N/2 1,000 ml. + KCl 20 mEq + multivitamin 1 ampule IV drip in 12 hr
• microdrip 1 ml =60 drops,Macrodrip 1 ml =10-20 drops
จากโจทย์จงคานวณหาจานวนหยด/ นาที
• สูตร จานวนสารนาที่ให้จานวนหยด/ มล. = 1,000 มล.20 หยด/ มล. = 27.77 หยด/ นาที
เวลาที่ให้ (นาที) 12 ชม. 60 นาที
2.5%D/N/2 1,000 ml. + KCl 20 mEq + multivitamin 1 ampule IV drip rate 120 ml./hr
จากโจทย์จงคานวณหาจานวนหยด/ นาที
• สูตร มล./ ชั่วโมง  จานวนหยด/มล. = จานวนหยด/ นาที
60 นาที
120 ml./hr  20 = 40 หยด/ นาที
60 นาที
drop factors drop factors
Regulating IV flow rate
• 5%D/N/2 1,000 ml. V drip in 12 hr
จากโจทย์จงคานวณหาจานวนสารนา ที่เข้าสู่ร่างกายใน 1 ชั่วโมง
สูตร จานวนสารนาที่ให้ (มล.) = 1,000 ml. = 83.33 ml/ hr
จานวนชั่วโมงที่ให้สารนา (ชม.) 12 hr
การคานวณจานวนชั่วโมงที่สารนาจะหมดขวด
สูตร จานวนสารนาที่มี = 1,000 ml = 12.5 ชั่วโมง
จานวนมล/ชม 80
Site selection
Equipment
venipuncture
SOLUTION IV administration set
extension tubethree-ways stopcock
tourniquetIV stand
gloves
70% alcohol
scissors
transpore
Equipment
tegaderm mefix
gauze
Infusion pump
การให้สารนา และการหยุดสารนา
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
• ให้การพยาบาลโดยเคร่งครัดต่อเทคนิคปราศจากเชือ
• ตรวจสอบไม่ให้มีฟองอากาศอยู่ในสายให้สารนา
• ตรวจสอบอัตราการหยดของสารนาทุก 1 ชั่วโมง
• เปลี่ยนชุดให้สารนาทางหลอดเลือดดาทุก 72 ชั่วโมง
• การเปลี่ยนขวดสารนาและชุดให้สารนาทางหลอดเลือดดาด้วย
เทคนิคปราศจากเชือ
• การหยุดให้สารนาตามคาสั่งการรักษา
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
• ภาวะขาดนา (dehydration) จากสารนาชดเชยไม่เพียงพอ
อาการคือ ริมฝีปากแห้ง ปริมาณปัสสาวะลดลง ความดันโลหิตต่า
ชีพจรเร็ว การพยาบาล คือ รายงานแพทย์
• ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย (electrolytes imbalance)
มีสาเหตุจากสารนาในร่างกายน้อยหรือมากเกินกว่าปกติ อาการ
คือ ภาวะจิต (mental status) เปลี่ยนแปลง สัญญาณชีพ
เปลี่ยนแปลง
การพยาบาล คือ ตรวจสอบสัญญาณชีพ รายงานแพทย์
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
• ภาวะมีสารนามากกว่าปกติในระบบไหลเวียน
โลหิต (Circulatory overload) ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุข
สบาย กระสับกระส่าย เส้นเลือดดาที่คอโป่งพอง
ฟังปอดได้ยินเสียง crackles หายใจสัน หายใจ
ลาบาก บวม ความดันโลหิตสูงขึน
การพยาบาล คือ ลดอัตราการหยดของสารนา จัด
ท่านอนศีรษะสูง ให้ออกซิเจน ตรวจสอบ
สัญญาณชีพ รายงานแพทย์ สังเกตอาการ
เปลี่ยนแปลง
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
• ภาวะที่มีสารนาแทรกซึมอยู่ใน
เนือเยื่อ (infiltration) มี
สาเหตุจากสารนาซึมออกจาก
หลอดเลือดมาสู่เนือเยื่อชันใต้
ผิวหนัง อาการที่พบ คือ
ตาแหน่งที่ให้สารนาบวม เย็น
เจ็บ ปวดแสบบริเวณที่บวม
สารนาไหลช้าลงหรือหยุดไหล
การพยาบาล 1) หยุดให้สารนาใน
ตาแหน่งนัน 2) ยกบริเวณที่บวม
ให้สูงขึน 3) ประคบอุ่น และ 4)
เปลี่ยนตาแหน่งให้สารนาในระดับ
ที่เหนือกว่าตาแหน่งเดิมหรือ
เปลี่ยนข้าง
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
• หลอดเลือดดาอักเสบ (phlebitis)
ระดับ 0 ไม่มีอาการ
ระดับ 1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวด
หรือไม่มีอาการปวด
ระดับ 2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่
บวมก็ได้
ระดับ 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดง
เป็นทาง คลาได้หลอดเลือดแข็งเป็นลา
ระดับ 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดง
เป็นทาง คลาได้หลอดเลือดแข็งเป็นลาความ
ยาวมากกว่า 1 นิว มีหนอง
การพยาบาล
หยุดให้สารนาในตาแหน่ง
นัน
ประคบอุ่น เปลี่ยนตาแหน่ง
ให้สารนาในระดับที่
เหนือกว่า
ตาแหน่งเดิม/ เปลี่ยนข้าง
รายงานแพทย์
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล;
หยุดให้สารนา
รายงานแพทย์
เปลี่ยนตาแหน่ง
• การติดเชือเฉพาะที่
(local infection)
อาการ; บวม แดง ร้อน
บริเวณที่แทงเข็ม
อาจมีหนองบริเวณที่
แทงเข็ม
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
• สารนาไม่ไหลหรือไหลช้า
• ฟองอากาศเข้าไปอยู่ในหลอดเลือด (air embolism)
การเกิดลิ่มเลือด (thrombus) อาการที่พบ คือ หายใจ
ลาบาก ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตลดลง หมดสติ
การพยาบาล คือ หยุดให้สารนา จัดท่านอนศีรษะต่าตะแคง
ซ้าย ให้ออกซิเจน ตรวจสอบสัญญาณชีพ สังเกตอาการ
เปลี่ยนแปลง รายงานแพทย์
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
• การติดเชือในกระแสเลือด (septicemia) อาการ ไข้สูง หนาวสั่น
ความดันโลหิตลดลง คลื่นไส้ อาเจียน มีการติดเชือเฉพาะที่ร่วม
ด้วย การพยาบาล คือ รายงานแพทย์ ตรวจสอบสัญญาณชีพและ
การเปลี่ยนแปลง
• ปฏิกิริยาไพโรเจน (pyrogen reaction) อาการ คือ ไข้ หนาวสั่น
การพยาบาล คือ หยุดให้สารนา เปลี่ยนขวดให้สารนา ให้การ
พยาบาลตามอาการ เช่น ให้ออกซิเจน ตรวจสอบสัญญาณชีพและ
การเปลี่ยนแปลง รายงานแพทย์ เตรียมรถฉุกเฉิน (emergency
cart)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์
• ทดแทนการสูญเสียเลือด
• ทดแทนเม็ดเลือดแดง
• รักษาระดับฮีโมโกลบิน
• ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
• ถ่ายเทสารพิษออกจากร่างกาย การพิจารณาชนิดของเลือด
และส่วนประกอบของเลือดขึนอยู่กับความเจ็บป่วยของผู้ป่วย
Colloid solutions;blood and blood products
whole blood
Packed red cells
fresh blood
Colloid solutions; blood and blood products
leukocyte-poor blood platelet concentrate
leukocyte concentrate
Colloid solutions;blood and blood products
plasma
albumin
fibrinogen preparation
การเตรียมให้เลือด
1.ตรวจสอบหมู่เลือด (typing) และ cross-matching
2.ขอเลือดจากธนาคารเลือด ให้ตรงกับคาสั่งการรักษา
3.ตรวจสอบเลือด เมื่อได้รับถุงเลือดจากธนาคารเลือดให้ตรวจสอบ ดังนี
• 3.1ชื่อ-นามสกุล เลขที่ผู้ป่วยนอกของผู้ป่วย ชนิดของเลือด หมู่เลือด Rh factor นาม
ผู้บริจาคเลือด ให้ข้อมูลในใบขอเลือดกับบัตร/ ฉลากที่มาพร้อมถุงเลือดตรงกัน
ตรวจสอบวันหมดอายุของเลือด ตรวจสอบชื่อ นามสกุล เลขที่ผู้ป่วยนอกของผู้ป่วยให้
ตรงกับแฟ้มประวัติ ตรวจสอบซา 3 ครัง โดยพยาบาล 2 คน
• 3.2ตรวจสอบลักษณะเลือด ต้องไม่สีที่ผิดปกติ ไม่ขุ่น ไม่มีฟองอากาศ
• 3.3เลือดที่มาจากธนาคารเลือดจะอุ่นเลือดโดยใช้เครื่องอุ่นเลือด
• 4.ห้ามเติมยา หรือสารใด ๆ ในเลือด และไม่ให้สารนาทางเลือดดาในขณะให้เลือด
ยกเว้น 0.9%NSS
วิธีการให้เลือด
การเลือกตาแหน่ง
หลักการเลือกหลอดเลือด และ
เทคนิคขันตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับ
การให้สารนาทางหลอดเลือดดา
Blood set
การปฏิบัติเพิ่มเติมจากการให้สารนาทางหลอดเลือดดา
1.ตรวจสอบสัญญาณชีพก่อนให้เลือด
2.เลือดที่นามาจากธนาคารเลือดต้องให้ผู้ป่วยภายใน 30 นาที
3.พลิกถุงเลือดไป มาเบาๆ ก่อนให้ ห้ามเขย่าแรงๆ เพราะจะทาให้เม็ดเลือดแตก
4. การปรับอัตราหยด เลือดรวม เม็ดเลือดแดงเข้มข้น ให้ยูนิตละ 1 ½ - 4
ชั่วโมง พลาสมาให้ยูนิตละ 2-3 ชั่วโมง เม็ดเลือดขาวเข้มข้น และเกล็ดเลือด
ให้ยูนิตละ ประมาณ 10 นาที 15 นาทีแรก ให้ประมาณ 10-20 หยด/ นาที
หากมีอาการผิดปกติให้หยุดให้เลือด และรายงานแพทย์ หากไม่พบอาการ
ผิดปกติปรับอัตราหยดเป็น 100 มล./ชั่วโมง
การปฏิบัติเพิ่มเติมจากการให้สารนาทางหลอดเลือดดา
5. ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก
4 ชั่วโมง พร้อมทังสังเกตอาการผู้ป่วยเป็นระยะ
6. พยาบาลต้องทาการเปลี่ยนชุดให้เลือดทุกครังที่มีการเปลี่ยนถุง
เลือด เพื่อป้องกันลิ่มเลือดที่จะผ่านเข้าไปในหลอดเลือดดา
7. หยุดให้เลือด เมื่อครบตามคาสั่งการรักษาหรือพบอาการแทรก
ซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
1. เม็ดเลือดแดงสลายตัว (hemolysis) อาการ; หนาวสั่น มีไข้ ปวด
ศีรษะ ปวดหลังบริเวณเอว กระสับกระส่าย ปัสสาวะเป็นเลือด
ปัสสาวะไม่ออก ตัวเหลือง ตาเหลือง หายใจลาบาก เจ็บแน่นหน้าอก
หลอดเลือดแฟบ ความดันโลหิตต่า ชีพจรเร็ว
• การป้องกัน; ตรวจสอบความถูกต้องของชื่อ นามสกุล เลขประจาตัว
ผู้ป่วย หมู่เลือดผู้ป่วย หมู่เลือดผู้ให้ สังเกตอาการในระยะ 30 นาที
แรกของการให้เลือด
• การพยาบาล; หยุดให้เลือด O2 นอนศีรษะต่ากว่าปลายเท้า
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
2. ปริมาณการไหลเวียนของเลือดมากกว่าปกติในระบบไหลเวียน
โลหิต (circulatory overload) อาการ; หายใจลาบาก เหนื่อย
หอบ ไอ หลอดเลือดดาที่คอโป่งพอง แรงดันในหลอดเลือดดาสูง
กว่าปกติ
• การป้องกัน; ให้เลือดในอัตราที่ถูกต้อง สาหรับผู้ป่วยเด็ก ผู้สูงอายุ
ผู้ป่วยโรคหัวใจต้องให้หยดช้า ๆ หากเกิดภาวะแทรกซ้อนนีแล้ว
ต้องลดอัตราการหยดของเลือด จัดท่านอนศีรษะสูง O2 รายงาน
แพทย์
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
3. ไข้ (fever) อาการจะเกิดขึนหลังได้รับเลือด ประมาณ 2-3 นาที หรือ
ภายใน 6 ชั่วโมง มีไข้ตังแต่ 38.4°C ขึนไป หนาวสั่น ผิวหนังอุ่น แดงขึน
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน สับสน ความดันโลหิต
ต่าลง ชีพจรเร็ว เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก การพยาบาล;หยุดให้เลือด
ให้ saline, v/s, notify
4. ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (allergic reaction) อาการ; มีผื่นคันหรือลมพิษ คั่งใน
จมูก หลอดลมบีบเกร็ง หายใจลาบาก ฟังปอดได้ยินเสียง wheez การ
พยาบาล หยุดให้เลือด ตรวจสอบสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
5. การถ่ายทอดโรคติดเชือ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
6. ฟองอากาศเข้าไปอยู่ในหลอดเลือด (air embolism) มีสาเหตุและ
อาการเช่นเดียวกับการให้สารนาทางหลอดเลือดดา
7. ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ; อาการกล้ามเนือเป็นตะคริว เจ็บแปลบ
ตามปลายนิว เป็นลมชัก มีอาการบีบเกร็งของกล้ามเนือบริเวณกล่อง
เสียง หัวใจทางานผิดปกติ
8. ภาวะโปตัสเซียมในเลือดเกินปกติ อาการ; คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
กล้ามเนืออ่อนแรง อาการคล้ายอัมพาตบริเวณใบหน้า มือ และขา
ชีพจรเบา ช้า ถ้าระดับโปตัสเซียมสูงในเลือดมากหัวใจจะหยุดเต้น
ป้องกันโดยหลีกเลี่ยงการให้เลือดเก่าที่เก็บไว้ในธนาคารเลือด
การหยุดให้สารละลายทางหลอดเลือดดา
เมื่อหยุดให้สารละลายทางหลอดเลือดดาเสร็จเรียบร้อย ให้
เก็บอุปกรณ์ล้างมือ ลงบันทึกในใบบันทึกทางการพยาบาล
จบการนาเสนอบทที่ 12
นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบการสอน
และหนังสือตามที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่ 12

More Related Content

What's hot

12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำNakhon Pathom Rajabhat University
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
SSI
SSISSI
SSI
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 

Similar to การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ

การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยNakhon Pathom Rajabhat University
 
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdfSomchaiPt
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic StrokeKanyanat Taew
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Angkana Chongjarearn
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการThorsang Chayovan
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital Parinya Damrongpokkapun
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์Kamol Khositrangsikun
 
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distresstaem
 

Similar to การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ (20)

การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
 
Ƿҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shockǷҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shock
 
Septic shock
Septic shockSeptic shock
Septic shock
 
Septic shock guideline
Septic shock guidelineSeptic shock guideline
Septic shock guideline
 
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
008-11-2565 บทความฉบับแก้ไข 30112022.pdf
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
 
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distress
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 

การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ