SlideShare a Scribd company logo
ผลงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน “เพียซซาซานมารโก” ของคานา
เล็ตโต (Canaletto) เปนการนําเสนอทิวทัศนสถานที่สําคัญใน
เมืองเมืองเวนิสที่สวยงาม สรางประสบการณทางสุนทรียภาพ
ใหแกผูรับชม
ลุยจิบราซิลนิ (Luigi Barzini) นักปรัชญาของอิตาลีที่ไดบรรยาย
ถึงสภาพของเมืองเมืองเวนิสในชวงเวลานี้วา เมืองเวนิสนั้นเต็มไป
ดวยผูอพยพมาจากอเมริกาใต และทองถนนก็ไมนาอภิรมย
เพราะเต็มไปดวยนักรองโอเปราที่ตกงาน
ตัวแทนและความเหมือน
แนนอนวาภาพเปนตัวแทนของอะไรบางสิ่งอยูเสมอ แตภาพก็ไม
จําเปนตองเหมือนกับ สิ่งที่มันเปนตัวแทน เชนในภาษามือของ
อเมริกา การทําทาทางเคลื่อนไหวของมือทําให เกิดความหมาย
เกิดเปนระบบสัญลักษณ 3 ชุด
ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
ตัวแทนและความเหมือน
1) สัญลักษณไมมีความเหมือนสิ่งที่มันนําเสนอเลย ยกตัวอยาง
เชน การทําทาทางที่หมายถึง “ความจริง” เห็นไดอยางชัดเจนวา
ไมไดมีความ “เหมือน” กับสิ่งที่มันเปนตัวแทน ความเขาใจ
สัญลักษณในลักษณะนี้จึงไมไดขึ้นอยูกับความเหมือนระหวาง
ภาพกับสิ่งที่มันเปนตัวแทน
ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
ตัวแทนและความเหมือน
2) สัญลักษณที่เปนตัวแทนอิสระ เราสามารถเขาใจมันไดผานการ
มองเห็นความเหมือน ของมันกับสิ่งที่มันเปนตัวแทน เชน
สัญลักษณของ “เปด” สามารถทําความเขาใจไดโดยตรงโดย การ
พิจารณาวาสัญลักษณมีความเหมือนกับเปด แมเราจะไมเขาใจ
ภาษามือของอเมริกาเลยเราก็จะยังคงเขาใจความหมายได
ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
ตัวแทนและความเหมือน
3) สัญลักษณที่เปนตัวแทนไมอิสระ เราตองมีความคุนเคยกับ
ระบบของสัญลักษณที่ ควบคุมมันอยูเสียกอน เชน เราตองรูวา
อะไรคือสัญลักษณของ “กระตาย” เสียกอน เราถึงจะมองเห็นวา
สัญลักษณนั้นมีความคลายคลึงกับกระตาย สัญลักษณใน
ลักษณะนี้จึงไม สามาถดํารงอยูดวยตัวเอง ตองมีโครงสรางกํากับ
ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
ตัวแทนและความเหมือน
ในหลายกรณีเราจะพบวา การออกแบบ นั้นมักจะนําเอา
สัญลักษณ “การเปนตัวแทนไมอิสระ” มาใชอยูเสมอ เชน เมื่อเรา
เรียนรูวาการเขียนเสนตรงดานหลังรูปทรงสามารถแสดงถึง
สัญลักษณ ของการเคลื่อนไหว เราก็สามารถนําเทคนิคนี้มาใชกับ
การสรางความเคลื่อนไหวใหกับภาพ
ความหมายของ ภาพตัวแทน (representation)
ภาพตัวแทน หมายถึงการใช ภาษา เพื่อการแสดงความหมาย
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งกับคนอื่น ภาพตัวแทนเปนสวนที่สําคัญใน
กระบวนการสราง และ แลกเปลื่ยน ความหมายกับคนในสังคม
ภาพตัวแทนจึงเกี่ยวของกับการใชภาษา สัญญะ (sign) และภาพ
เพื่อเปนตัวแทนของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
Oxford English Dictionary ไดใหความหมายของคําวา “ภาพ
ตัวแทน” ไวใน 2 ลักษณะโดยสามารถสรุปความไดดังนี้
1) เพื่อเปนตัวแทนของบางสิ่ง โดยการบรรยาย หรือแสดงใหเห็น
ภาพของสิ่งที่มันเปน ตัวแทน ยกตัวอยางเชน “ภาพเขียนนี้เปน
ตัวแทนของการฆาตกรรมอาแบล (Abel) โดย คาอิน (Cain) (เปน
การฆาตกรรมที่เกิดขึ้นครั้งแรกในโลกตามความเชื่อในไบเบิลของ
ศาสนาคริสต) ---- ตัวแทนโดยตรง
2) เพื่อเปนตัวแทน ยังหมายถึง การใชสัญลักษณ เพื่อเปนตัวแทน
ยกตัวอยางเชน “ในศาสนาคริสต ไมกางแขนเปนตัวแทนของการ
ตรึงกางเขน และการเจ็บปวดของพระคริสต ---- ตัวแทนโดย
สัญลักษณ
Oxford English Dictionary ไดใหความหมายของคําวา “ภาพ
ตัวแทน” ไวใน 2 ลักษณะโดยสามารถสรุปความไดดังนี้
ระบบของภาพตัวแทน (system of representation)
1) ระบบที่ทําการแบงแยกสิ่งตาง ๆ ออกจากกัน
ภาพตัวแทนไมสามารถทํางานอยางโดดเดี่ยวได ภาพตัวแทน
จะตองทํางานอยาง เปนระบบเนื่องจาก “แนวคิด” ของสิ่งตาง ๆ
นั้นเกิดจากการเปรียบเทียมความเหมือน และความแตกตางกับ
สิ่งอื่น ยกตัวอยางเชน เราอาจมีแนวคิดวานกนั้นมีความ “ความ
เหมือน” กับเครื่องบิน เนื่องจากอยูบนทองฟาเหมือนกัน แตใน
ขณะเดียวกันเราก็มีแนวคิดวานกนั้น “มีความแตกตาง” กับ
เครื่องบิน เนื่องจากนกเปนสิ่งมีชีวิต แตเครื่องบินเปนสิ่งที่มนุษย
สรางขึ้น
ระบบของภาพตัวแทน (system of representation)
1) ระบบที่ทําการแบงแยกสิ่งตาง ๆ ออกจากกัน
จากตัวอยางที่กลาวไปทําใหเห็นไดวา “แนวคิด” ของเรา
ดําเนินการผานการเปรียบเทียบ ความแตกตางกันอยางนอย 2
อยาง
1) ความแตกตางระหวาง การบินได/บินไมได
2) ความแตกตางระหวาง สิ่งที่เปนธรรมชาติ/สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
จากการเปรียบเทียบแนวคิดที่แตกตางกันทั้งสองทําใหเราเกิด
Conceptual map เกี่ยวกับนกในสมองของเรา ซึ่ง Conceptual
map ของนกของคนแตและคนนั้นจะไมเหมือนกัน ทําใหการ
ตีความหมายของนกนั้นแตกตางกันออกไป
ระบบของภาพตัวแทน (system of representation)
2) ระบบของภาษา
Conceptual map ที่เราแบงปนกันในสังคมนั้นจะตองถูกเปลื่ยน
ใหเปนภาษาเพื่อใหคนในสังคมสามารถเทียบเคียง แนวคิด หรือ
ความหมายของสิ่งตาง ๆ ไดตรงกัน (ผูคนในสังคมไมสามารถนํา
แนวคิดของสิ่งตาง ๆ มาเทียบเคียงกันไดโดยตรง แนวคิดจะ
สามารถเทียบเคียงกันผานระบบภาษาเทานั้น)
ระบบของภาพตัวแทน (system of representation)
2) ระบบของภาษา
ระบบของภาษาจะทําการเทียบเคียงแนวคิดของสิ่งตาง ๆ ผาน
การเขียนดวยคํา, พูดดวยเสียง หรือการใชภาพ ซึ่งการที่เรา
สามารถทําอยางนั้นไดเนื่องจากในระบบของภาษานั้นมี
“สัญญะ” (signs)
ระบบของภาพตัวแทน (system of representation)
2) ระบบของภาษา
สัญญะ เปนตัวแทนในการแสดงความหมาย หรือตัวแทนของ
แนวคิดที่เกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (ที่สําคัญคือตองไมใชตัวมันเอง)
สัญญะเปนสวนหนึ่งของระบบภาษา ซึ่งทําใหเราสามารถแปลง
ความคิดของเรา หรือแนวคิดของเรา ใหกลายเปน คํา, เสียง หรือ
ภาพ เพื่อใหเราสามารถสื่อความหมาย หรือแนวคิดตอคนอื่น ๆ
ได
สัญญะ และตัวบท
สัญญะ ก็คือสรรพสิ่งทุกอยางในสังคม ที่มีความหมายมากกวา
ตัวมันเอง ยกตัวอยางเชน หากการรถยนตร เปนตัวแทนของ
รถยนตรที่สามารถขับไปยังที่ตาง ๆ ได รถยนตร ในที่นี้จึงยังไมใช
สัญญะ แตหากรถยนตรเปนตัวแทนของความทันสมัย ความเปน
ผูมีอันจะกิน มีรายไดสูงกวาคนธรรมดาทั่วไป รถยนตร ใน
ลักษณะนี้จะเปนสัญญะ
สัญญะ และตัวบท
การที่รถยนตรในกรณีหลังนี้ไดกลายเปนสัญญะ ก็เนื่องมาจาก
การที่รถยนตรถูก "มอบหมายความหมาย" (meaning
assignment) ใหกลายเปนสิ่งที่มีความหมายมากกวาตัวมันเอง
โดยในตัวอยางที่ใหไปรถยนตรไดกลายเปนสิ่งที่แสดงความหมาย
หรือแนวคิดของความทันสมัย ราคาแพง ดังนั้นทุกสิ่งทุกอยางใน
สังคมจึงสามารถกลายเปน "สัญญะ" ไดหมด หากมันถูก
1) มอบหมายความหมาย
2) ความหมายที่ถูกมอบตองไมเปนความหมายของตัวมันเอง
สัญวิทยา
สัญวิทยา คือ ศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบของสัญลักษณ ที่
ปรากฏอยูในความคิดของมนุษย เนื่องจากสัญญะคือทุกสิ่งทุก
อยางที่อยูรอบตัวเรา ดังนั้นสัญวิทยาจึงเปนการศึกษาถึงทุกสิ่ง
ทุกอยางที่เกี่ยวของกับสัญลักษณ
สัญวิทยา
องค์ประกอบของสัญญะ
สัญวิทยา
Symbol : จะไมแสดงใหเห็นถึงความเกี่ยวของกับตัวสัญญะ
และวัตถุอยางชัดเจน แตจะมีความเชื่อมโยงโดยเกิดจากขอตกลง
โดยเฉพาะ และหากจะถอดความหมายไดก็ตองอาศัยการเรียนรู
Icon : มีความคลายคลึงกับสิ่งที่มันสื่อถึง และสามารถถอด
ความหมายไดดวยการใชสายตา เปนสัญญะที่ไมซับซอน Icon
จึงเปนเหมือนกับภาพเขียน/ ภาพถายก็เปนตัวอยางที่ดีของ
สัญวิทยา
Index : จะมีความเชื่อมโยงกับสิ่งที่มันสื่อถึงโดยเวลาที่เรา
จะถอดความหมายของ Index เราตองใชสมองคิดใครครวญเพื่อ
หาความสัมพันธ เชน ควันไฟเปน Index ของไฟ, น้ําตาที่รวงมา
จากใบหนาเปน Index ของความเสียใจ
รหัส (Codes)
สัญญะมักจะทํางานผานรหัสที่เปนชุด ซึ่งถูกสรางขึ้นโดย
สังคมและถูกยอมรับโดยผูคนสวนใหญในสังคม มีรหัสมากมาย
ในสื่อ ตัวบท
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and
Connotation)
โรล็องด บารตส ไดกลาวถึง พวกเรา (ผูอาน) วาตอง
ผานความหมายหลายระดับเพื่อที่จะเขาใจความหมาย
ของสัญญะ โดยบารตส เรียกระดับแรกวา "Denotation"
(ความหมายโดยตรง และเรียกความหมายระดับที่สองวา
"Connotation" (หมายโดยนัย)
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and
Connotation)
Denotation คือ ความหมายโดยตรงที่แสดงใหเห็นใน
ภาพ แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวามีอะไรเกิดขึ้น มากกวาที่
จะทําใหผูอาน (reader) สันนิษฐานหรือทึกทัก
ตีความหมายจากภาพดวยตัวเอง ) Denotation จึงเปน
ตัวแทนของสิ่งที่ถูกนําเสนอใน ตัวบท โดยตรง (หากเทียบ
Denotation เปนคําๆ หนึ่ง ความหมายที่เปน Denotation
นั้นคือความหมายของคํา ที่ปรากฎในพจนานุกรม)
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and
Connotation)
Connotation คือ ความหมายของสัญญะที่ปรากฏผาน
วัฒนธรรมหรือประสบการณของผูอาน ดังนั้นความหมาย
ระดับนี้จะไมปรากฎชัดเจนหากขาดขอมูลเชิงวัฒนธรรมที่
จําเปนตอการตีความ ดังนั้น Connotation คือสิ่งที่ทําให
“ผูอาน” ไดเติมเต็มขอมูล (ดวยตนเอง) ที่หายไปจาก
ความหมายในระดับ Denotation
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and
Connotation)
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and
Connotation)
Connotation ของภาพนี้ไดทําการปกปดสิ่งที่ บารตส เรียกวา มายาคติ (Myth) โดยที่
มายาคติ เปนสัญญะที่ตอกย้ําถึงแนวคิดใดแนวคิดหนึ่ง ทําใหแนวคิดนั้นเปนเรื่อง
ธรรมชาติ ไมแปลก ใครๆ ก็ทํากัน ซึ่งในความเปนจริงทุกสิ่งทุกอยางในสังคม ไมเคยเปน
เรื่องธรรมชาติ หากแตเปนเรื่องสมมุติโดยกลุมวัฒนธรรมหนึ่งๆ ทั้งสิ้น
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and
Connotation)
มายาคติจึงเปนสิ่งที่เกิดขึ้นในภาพแตถูกทําใหเปนที่ “ไมนิยมพูด” หรือ “ไมสามารถ
พูดถึง” ได มายาคติไมไดทําการทําลายความหมายของสิ่งตาง ๆ ทิ้งไป แตมายาคติจะทํา
การบิดเบือนความหมายทําใหเรากลายเปนผูชมที่ไรเดียงสา เห็นเรื่องหรือสิ่งที่ถูกมายา
คติบิดเบือนเปนสิ่งที่เปนปกติ และเปนธรรมชาติ
สัมพันธบท (Intertextuality)
การพึ่งพากันของความสัมพันธระหวาง ตัวบท นั้นมี
หลากหลายรูปแบบ ซึ่งการเชื่อมความสัมพันธนั้นสามารถ
เกิดขึ้นไดกับตัวบทที่อยูคนละประเภท ดังนั้นตัวบทที่ถูก
สรางขึ้นในสื่อชนิดหนึ่งอาจถูกใชในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
ในสื่ออื่น โฆษณาและมิวสิควีดีโอ เพื่อสรางผลกระทบ
บางอยางตอผูชม
สัมพันธบท (Intertextuality)
Genres
Genres หมายถึงประเภทของตัวบท ที่เปนโครงสราง
ความหมายที่มีความแนนอน ซึ่ง มีความเกี่ยวของโดยตรง
กับบริบทของสังคม เมื่อพูดถึง Genres นั้นเรามักจะนึกถึง
การแบงประเภทของ ภาพยนตร เชน สืบสวน, นิยาย
วิทยาศาสตร, นิยายรัก, สยองขวัญ และหนังลามก การที่จะ
ระบุวา ภาพยนตรหรือนิยายเรื่องไหนจะอยูใน Genres
แบบไหนก็จะพิจารณาจากเนื้อหา, วิธีการเลาเรื่อง,
ลักษณะเฉพาะ, วาทกรรม (discourses) และคุณคาที่สื่อ
ประเภทนั้นแสดงออก
Genres
ในภาพยนตรสืบสวนก็จะมีเนื้อหาหรือลักษณะเฉพาะ
บางอยางที่คงที่และเหมือนกันทุกเรื่อง
- อาชญากร
- ความรุนแรง
- ผูหญิงสาวสวย
- การตอสู
Genres
มิเชล ฟูโก (Michel Foucault) ไดเปลี่ยนแนวความคิดเกี่ยวกับ
การจัดประเภทของสิ่งตาง ๆ (ประเภทของคน, ประเภทของ
ความคิด หรือ ประเภทของ ตัวบท) โดยฟูโกไดเสนอวาการจัด
ประเภทของสิ่งตาง ๆ นั้นไมใชสิ่งที่เปนธรรมชาติ
การจัดประเภทเปนกระบวนการที่ถูกผลิตผานระบบของ
สถาบัน โดยสถาบันตาง ๆ จะผลิตความรูและถอยแถลงผานสิ่งที่
เรามองเห็น, จัดประเภท, ทําความเขาใจ ยกตัวอยางเชน
ภาพยนตร ก็จะมีอาณาเขตที่เกี่ยวกับ สถาบัน, สื่อ, รัฐบาล และมี
ผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา
Genres
หนาที่ของ Genres นั้นนอกจากจะทําการแบงประเภทของ ตัว
บท แลวยังสรางชุดความหมายในการควบคุมความสัมพันธ
ระหวางผูชมและ ตัวบท อีกดวย เชน ผูชมละครโอเปราจะมี
ความสัมพันธกับละครโอเปรา (ตัวบท) แตกตางกับ ผูที่เขาไปชม
ภาพยนตร (ตัวบท) เพราะผูชมโอเปราจําเปนตองรูระเบียบวิธีใน
การชม

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1teerachon
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
Giftfy Snw
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษารายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
เดชฤทธิ์ ทองประภา
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
PitchyJelly Matee
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
Patzuri Orz
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
Lแบบธรรมเนียมทหาร
LแบบธรรมเนียมทหารLแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหารi_cavalry
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
Padvee Academy
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
 
ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน
ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่านใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน
ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษารายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
Lแบบธรรมเนียมทหาร
LแบบธรรมเนียมทหารLแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 

Viewers also liked

ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
CUPress
 
จิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙ กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตก
จิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙  กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตกจิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙  กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตก
จิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙ กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตกสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...
ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า  กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า  กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...
ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
Gender
GenderGender
Polnat07(3)
Polnat07(3)Polnat07(3)
Polnat07(3)
'Mariviel Leyva
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
Attaporn Saranoppakun
 
Ss
SsSs
Ss
yassij
 
Representation Of Gender Class Etc 1
Representation Of Gender Class Etc 1Representation Of Gender Class Etc 1
Representation Of Gender Class Etc 1
NicoleMarisa
 
Intercultural communication presentation
Intercultural communication presentationIntercultural communication presentation
Intercultural communication presentation
Megan Finley
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
Pipit Sitthisak
 
Gender stereotypes
Gender stereotypesGender stereotypes
Gender stereotypes
Kim B
 
Gender stereotypes
Gender stereotypesGender stereotypes
Gender stereotypes
guesta3a6cc7
 
Representation of gender and stereotypes
Representation of gender and stereotypesRepresentation of gender and stereotypes
Representation of gender and stereotypes
Liz Davies
 
Connotation denotation
Connotation denotationConnotation denotation
Connotation denotation
cedmonds813
 
Digital Image Processing
Digital Image ProcessingDigital Image Processing
Digital Image Processing
Sahil Biswas
 

Viewers also liked (16)

ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
จิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙ กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตก
จิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙  กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตกจิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙  กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตก
จิตรกรรมฝาผนังไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙ กรณีศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตก
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...
ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า  กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า  กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...
ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปว์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบ...
 
Gender
GenderGender
Gender
 
Polnat07(3)
Polnat07(3)Polnat07(3)
Polnat07(3)
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
Ss
SsSs
Ss
 
Representation Of Gender Class Etc 1
Representation Of Gender Class Etc 1Representation Of Gender Class Etc 1
Representation Of Gender Class Etc 1
 
Intercultural communication presentation
Intercultural communication presentationIntercultural communication presentation
Intercultural communication presentation
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
Gender stereotypes
Gender stereotypesGender stereotypes
Gender stereotypes
 
Gender stereotypes
Gender stereotypesGender stereotypes
Gender stereotypes
 
Representation of gender and stereotypes
Representation of gender and stereotypesRepresentation of gender and stereotypes
Representation of gender and stereotypes
 
Connotation denotation
Connotation denotationConnotation denotation
Connotation denotation
 
Digital Image Processing
Digital Image ProcessingDigital Image Processing
Digital Image Processing
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

Representation

  • 1.
  • 2. ผลงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน “เพียซซาซานมารโก” ของคานา เล็ตโต (Canaletto) เปนการนําเสนอทิวทัศนสถานที่สําคัญใน เมืองเมืองเวนิสที่สวยงาม สรางประสบการณทางสุนทรียภาพ ใหแกผูรับชม
  • 3. ลุยจิบราซิลนิ (Luigi Barzini) นักปรัชญาของอิตาลีที่ไดบรรยาย ถึงสภาพของเมืองเมืองเวนิสในชวงเวลานี้วา เมืองเวนิสนั้นเต็มไป ดวยผูอพยพมาจากอเมริกาใต และทองถนนก็ไมนาอภิรมย เพราะเต็มไปดวยนักรองโอเปราที่ตกงาน
  • 4. ตัวแทนและความเหมือน แนนอนวาภาพเปนตัวแทนของอะไรบางสิ่งอยูเสมอ แตภาพก็ไม จําเปนตองเหมือนกับ สิ่งที่มันเปนตัวแทน เชนในภาษามือของ อเมริกา การทําทาทางเคลื่อนไหวของมือทําให เกิดความหมาย เกิดเปนระบบสัญลักษณ 3 ชุด ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
  • 5. ตัวแทนและความเหมือน 1) สัญลักษณไมมีความเหมือนสิ่งที่มันนําเสนอเลย ยกตัวอยาง เชน การทําทาทางที่หมายถึง “ความจริง” เห็นไดอยางชัดเจนวา ไมไดมีความ “เหมือน” กับสิ่งที่มันเปนตัวแทน ความเขาใจ สัญลักษณในลักษณะนี้จึงไมไดขึ้นอยูกับความเหมือนระหวาง ภาพกับสิ่งที่มันเปนตัวแทน ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
  • 6. ตัวแทนและความเหมือน 2) สัญลักษณที่เปนตัวแทนอิสระ เราสามารถเขาใจมันไดผานการ มองเห็นความเหมือน ของมันกับสิ่งที่มันเปนตัวแทน เชน สัญลักษณของ “เปด” สามารถทําความเขาใจไดโดยตรงโดย การ พิจารณาวาสัญลักษณมีความเหมือนกับเปด แมเราจะไมเขาใจ ภาษามือของอเมริกาเลยเราก็จะยังคงเขาใจความหมายได ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
  • 7. ตัวแทนและความเหมือน 3) สัญลักษณที่เปนตัวแทนไมอิสระ เราตองมีความคุนเคยกับ ระบบของสัญลักษณที่ ควบคุมมันอยูเสียกอน เชน เราตองรูวา อะไรคือสัญลักษณของ “กระตาย” เสียกอน เราถึงจะมองเห็นวา สัญลักษณนั้นมีความคลายคลึงกับกระตาย สัญลักษณใน ลักษณะนี้จึงไม สามาถดํารงอยูดวยตัวเอง ตองมีโครงสรางกํากับ ภาพดานซายหมายถึง “เปด”, ภาพกลางหมายถึง “กระตาย” และภาพดานขวาหมายถึง “ความจริง”
  • 8. ตัวแทนและความเหมือน ในหลายกรณีเราจะพบวา การออกแบบ นั้นมักจะนําเอา สัญลักษณ “การเปนตัวแทนไมอิสระ” มาใชอยูเสมอ เชน เมื่อเรา เรียนรูวาการเขียนเสนตรงดานหลังรูปทรงสามารถแสดงถึง สัญลักษณ ของการเคลื่อนไหว เราก็สามารถนําเทคนิคนี้มาใชกับ การสรางความเคลื่อนไหวใหกับภาพ
  • 9. ความหมายของ ภาพตัวแทน (representation) ภาพตัวแทน หมายถึงการใช ภาษา เพื่อการแสดงความหมาย ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งกับคนอื่น ภาพตัวแทนเปนสวนที่สําคัญใน กระบวนการสราง และ แลกเปลื่ยน ความหมายกับคนในสังคม ภาพตัวแทนจึงเกี่ยวของกับการใชภาษา สัญญะ (sign) และภาพ เพื่อเปนตัวแทนของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
  • 10. Oxford English Dictionary ไดใหความหมายของคําวา “ภาพ ตัวแทน” ไวใน 2 ลักษณะโดยสามารถสรุปความไดดังนี้ 1) เพื่อเปนตัวแทนของบางสิ่ง โดยการบรรยาย หรือแสดงใหเห็น ภาพของสิ่งที่มันเปน ตัวแทน ยกตัวอยางเชน “ภาพเขียนนี้เปน ตัวแทนของการฆาตกรรมอาแบล (Abel) โดย คาอิน (Cain) (เปน การฆาตกรรมที่เกิดขึ้นครั้งแรกในโลกตามความเชื่อในไบเบิลของ ศาสนาคริสต) ---- ตัวแทนโดยตรง 2) เพื่อเปนตัวแทน ยังหมายถึง การใชสัญลักษณ เพื่อเปนตัวแทน ยกตัวอยางเชน “ในศาสนาคริสต ไมกางแขนเปนตัวแทนของการ ตรึงกางเขน และการเจ็บปวดของพระคริสต ---- ตัวแทนโดย สัญลักษณ
  • 11. Oxford English Dictionary ไดใหความหมายของคําวา “ภาพ ตัวแทน” ไวใน 2 ลักษณะโดยสามารถสรุปความไดดังนี้
  • 12. ระบบของภาพตัวแทน (system of representation) 1) ระบบที่ทําการแบงแยกสิ่งตาง ๆ ออกจากกัน ภาพตัวแทนไมสามารถทํางานอยางโดดเดี่ยวได ภาพตัวแทน จะตองทํางานอยาง เปนระบบเนื่องจาก “แนวคิด” ของสิ่งตาง ๆ นั้นเกิดจากการเปรียบเทียมความเหมือน และความแตกตางกับ สิ่งอื่น ยกตัวอยางเชน เราอาจมีแนวคิดวานกนั้นมีความ “ความ เหมือน” กับเครื่องบิน เนื่องจากอยูบนทองฟาเหมือนกัน แตใน ขณะเดียวกันเราก็มีแนวคิดวานกนั้น “มีความแตกตาง” กับ เครื่องบิน เนื่องจากนกเปนสิ่งมีชีวิต แตเครื่องบินเปนสิ่งที่มนุษย สรางขึ้น
  • 13. ระบบของภาพตัวแทน (system of representation) 1) ระบบที่ทําการแบงแยกสิ่งตาง ๆ ออกจากกัน จากตัวอยางที่กลาวไปทําใหเห็นไดวา “แนวคิด” ของเรา ดําเนินการผานการเปรียบเทียบ ความแตกตางกันอยางนอย 2 อยาง 1) ความแตกตางระหวาง การบินได/บินไมได 2) ความแตกตางระหวาง สิ่งที่เปนธรรมชาติ/สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น จากการเปรียบเทียบแนวคิดที่แตกตางกันทั้งสองทําใหเราเกิด Conceptual map เกี่ยวกับนกในสมองของเรา ซึ่ง Conceptual map ของนกของคนแตและคนนั้นจะไมเหมือนกัน ทําใหการ ตีความหมายของนกนั้นแตกตางกันออกไป
  • 14. ระบบของภาพตัวแทน (system of representation) 2) ระบบของภาษา Conceptual map ที่เราแบงปนกันในสังคมนั้นจะตองถูกเปลื่ยน ใหเปนภาษาเพื่อใหคนในสังคมสามารถเทียบเคียง แนวคิด หรือ ความหมายของสิ่งตาง ๆ ไดตรงกัน (ผูคนในสังคมไมสามารถนํา แนวคิดของสิ่งตาง ๆ มาเทียบเคียงกันไดโดยตรง แนวคิดจะ สามารถเทียบเคียงกันผานระบบภาษาเทานั้น)
  • 15. ระบบของภาพตัวแทน (system of representation) 2) ระบบของภาษา ระบบของภาษาจะทําการเทียบเคียงแนวคิดของสิ่งตาง ๆ ผาน การเขียนดวยคํา, พูดดวยเสียง หรือการใชภาพ ซึ่งการที่เรา สามารถทําอยางนั้นไดเนื่องจากในระบบของภาษานั้นมี “สัญญะ” (signs)
  • 16. ระบบของภาพตัวแทน (system of representation) 2) ระบบของภาษา สัญญะ เปนตัวแทนในการแสดงความหมาย หรือตัวแทนของ แนวคิดที่เกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (ที่สําคัญคือตองไมใชตัวมันเอง) สัญญะเปนสวนหนึ่งของระบบภาษา ซึ่งทําใหเราสามารถแปลง ความคิดของเรา หรือแนวคิดของเรา ใหกลายเปน คํา, เสียง หรือ ภาพ เพื่อใหเราสามารถสื่อความหมาย หรือแนวคิดตอคนอื่น ๆ ได
  • 17. สัญญะ และตัวบท สัญญะ ก็คือสรรพสิ่งทุกอยางในสังคม ที่มีความหมายมากกวา ตัวมันเอง ยกตัวอยางเชน หากการรถยนตร เปนตัวแทนของ รถยนตรที่สามารถขับไปยังที่ตาง ๆ ได รถยนตร ในที่นี้จึงยังไมใช สัญญะ แตหากรถยนตรเปนตัวแทนของความทันสมัย ความเปน ผูมีอันจะกิน มีรายไดสูงกวาคนธรรมดาทั่วไป รถยนตร ใน ลักษณะนี้จะเปนสัญญะ
  • 18. สัญญะ และตัวบท การที่รถยนตรในกรณีหลังนี้ไดกลายเปนสัญญะ ก็เนื่องมาจาก การที่รถยนตรถูก "มอบหมายความหมาย" (meaning assignment) ใหกลายเปนสิ่งที่มีความหมายมากกวาตัวมันเอง โดยในตัวอยางที่ใหไปรถยนตรไดกลายเปนสิ่งที่แสดงความหมาย หรือแนวคิดของความทันสมัย ราคาแพง ดังนั้นทุกสิ่งทุกอยางใน สังคมจึงสามารถกลายเปน "สัญญะ" ไดหมด หากมันถูก 1) มอบหมายความหมาย 2) ความหมายที่ถูกมอบตองไมเปนความหมายของตัวมันเอง
  • 19. สัญวิทยา สัญวิทยา คือ ศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบของสัญลักษณ ที่ ปรากฏอยูในความคิดของมนุษย เนื่องจากสัญญะคือทุกสิ่งทุก อยางที่อยูรอบตัวเรา ดังนั้นสัญวิทยาจึงเปนการศึกษาถึงทุกสิ่ง ทุกอยางที่เกี่ยวของกับสัญลักษณ
  • 21. สัญวิทยา Symbol : จะไมแสดงใหเห็นถึงความเกี่ยวของกับตัวสัญญะ และวัตถุอยางชัดเจน แตจะมีความเชื่อมโยงโดยเกิดจากขอตกลง โดยเฉพาะ และหากจะถอดความหมายไดก็ตองอาศัยการเรียนรู Icon : มีความคลายคลึงกับสิ่งที่มันสื่อถึง และสามารถถอด ความหมายไดดวยการใชสายตา เปนสัญญะที่ไมซับซอน Icon จึงเปนเหมือนกับภาพเขียน/ ภาพถายก็เปนตัวอยางที่ดีของ
  • 22. สัญวิทยา Index : จะมีความเชื่อมโยงกับสิ่งที่มันสื่อถึงโดยเวลาที่เรา จะถอดความหมายของ Index เราตองใชสมองคิดใครครวญเพื่อ หาความสัมพันธ เชน ควันไฟเปน Index ของไฟ, น้ําตาที่รวงมา จากใบหนาเปน Index ของความเสียใจ รหัส (Codes) สัญญะมักจะทํางานผานรหัสที่เปนชุด ซึ่งถูกสรางขึ้นโดย สังคมและถูกยอมรับโดยผูคนสวนใหญในสังคม มีรหัสมากมาย ในสื่อ ตัวบท
  • 23. ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and Connotation) โรล็องด บารตส ไดกลาวถึง พวกเรา (ผูอาน) วาตอง ผานความหมายหลายระดับเพื่อที่จะเขาใจความหมาย ของสัญญะ โดยบารตส เรียกระดับแรกวา "Denotation" (ความหมายโดยตรง และเรียกความหมายระดับที่สองวา "Connotation" (หมายโดยนัย)
  • 24. ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and Connotation) Denotation คือ ความหมายโดยตรงที่แสดงใหเห็นใน ภาพ แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวามีอะไรเกิดขึ้น มากกวาที่ จะทําใหผูอาน (reader) สันนิษฐานหรือทึกทัก ตีความหมายจากภาพดวยตัวเอง ) Denotation จึงเปน ตัวแทนของสิ่งที่ถูกนําเสนอใน ตัวบท โดยตรง (หากเทียบ Denotation เปนคําๆ หนึ่ง ความหมายที่เปน Denotation นั้นคือความหมายของคํา ที่ปรากฎในพจนานุกรม)
  • 25. ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and Connotation) Connotation คือ ความหมายของสัญญะที่ปรากฏผาน วัฒนธรรมหรือประสบการณของผูอาน ดังนั้นความหมาย ระดับนี้จะไมปรากฎชัดเจนหากขาดขอมูลเชิงวัฒนธรรมที่ จําเปนตอการตีความ ดังนั้น Connotation คือสิ่งที่ทําให “ผูอาน” ไดเติมเต็มขอมูล (ดวยตนเอง) ที่หายไปจาก ความหมายในระดับ Denotation
  • 27. ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and Connotation) Connotation ของภาพนี้ไดทําการปกปดสิ่งที่ บารตส เรียกวา มายาคติ (Myth) โดยที่ มายาคติ เปนสัญญะที่ตอกย้ําถึงแนวคิดใดแนวคิดหนึ่ง ทําใหแนวคิดนั้นเปนเรื่อง ธรรมชาติ ไมแปลก ใครๆ ก็ทํากัน ซึ่งในความเปนจริงทุกสิ่งทุกอยางในสังคม ไมเคยเปน เรื่องธรรมชาติ หากแตเปนเรื่องสมมุติโดยกลุมวัฒนธรรมหนึ่งๆ ทั้งสิ้น
  • 28. ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (Denotation and Connotation) มายาคติจึงเปนสิ่งที่เกิดขึ้นในภาพแตถูกทําใหเปนที่ “ไมนิยมพูด” หรือ “ไมสามารถ พูดถึง” ได มายาคติไมไดทําการทําลายความหมายของสิ่งตาง ๆ ทิ้งไป แตมายาคติจะทํา การบิดเบือนความหมายทําใหเรากลายเปนผูชมที่ไรเดียงสา เห็นเรื่องหรือสิ่งที่ถูกมายา คติบิดเบือนเปนสิ่งที่เปนปกติ และเปนธรรมชาติ
  • 29. สัมพันธบท (Intertextuality) การพึ่งพากันของความสัมพันธระหวาง ตัวบท นั้นมี หลากหลายรูปแบบ ซึ่งการเชื่อมความสัมพันธนั้นสามารถ เกิดขึ้นไดกับตัวบทที่อยูคนละประเภท ดังนั้นตัวบทที่ถูก สรางขึ้นในสื่อชนิดหนึ่งอาจถูกใชในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ในสื่ออื่น โฆษณาและมิวสิควีดีโอ เพื่อสรางผลกระทบ บางอยางตอผูชม
  • 31. Genres Genres หมายถึงประเภทของตัวบท ที่เปนโครงสราง ความหมายที่มีความแนนอน ซึ่ง มีความเกี่ยวของโดยตรง กับบริบทของสังคม เมื่อพูดถึง Genres นั้นเรามักจะนึกถึง การแบงประเภทของ ภาพยนตร เชน สืบสวน, นิยาย วิทยาศาสตร, นิยายรัก, สยองขวัญ และหนังลามก การที่จะ ระบุวา ภาพยนตรหรือนิยายเรื่องไหนจะอยูใน Genres แบบไหนก็จะพิจารณาจากเนื้อหา, วิธีการเลาเรื่อง, ลักษณะเฉพาะ, วาทกรรม (discourses) และคุณคาที่สื่อ ประเภทนั้นแสดงออก
  • 33. Genres มิเชล ฟูโก (Michel Foucault) ไดเปลี่ยนแนวความคิดเกี่ยวกับ การจัดประเภทของสิ่งตาง ๆ (ประเภทของคน, ประเภทของ ความคิด หรือ ประเภทของ ตัวบท) โดยฟูโกไดเสนอวาการจัด ประเภทของสิ่งตาง ๆ นั้นไมใชสิ่งที่เปนธรรมชาติ การจัดประเภทเปนกระบวนการที่ถูกผลิตผานระบบของ สถาบัน โดยสถาบันตาง ๆ จะผลิตความรูและถอยแถลงผานสิ่งที่ เรามองเห็น, จัดประเภท, ทําความเขาใจ ยกตัวอยางเชน ภาพยนตร ก็จะมีอาณาเขตที่เกี่ยวกับ สถาบัน, สื่อ, รัฐบาล และมี ผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา
  • 34. Genres หนาที่ของ Genres นั้นนอกจากจะทําการแบงประเภทของ ตัว บท แลวยังสรางชุดความหมายในการควบคุมความสัมพันธ ระหวางผูชมและ ตัวบท อีกดวย เชน ผูชมละครโอเปราจะมี ความสัมพันธกับละครโอเปรา (ตัวบท) แตกตางกับ ผูที่เขาไปชม ภาพยนตร (ตัวบท) เพราะผูชมโอเปราจําเปนตองรูระเบียบวิธีใน การชม