SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
การรวบรวมข้ อมูล และการอ่ านเพือทาบันทึกการอ่าน
่
เมื่อวางโครงเรื่ องเรี ยบร้อยแล้ว ให้อ่านข้อมูลที่มีเนื้อหาในหัวข้อต่างๆ ตามลาดับหัวข้อที่กาหนดไว้ใน
โครงเรื่ องทีละหัวข้อ หากหัวข้อใดมีขอมูลน้อยควรค้นหาวัสดุสารนิเทศเพิ่มเติมเพื่อให้มีขอมูลเพียงพอ เมื่ออ่าน
้
้
แล้วควรจะมีการจดบันทึกความรู้ไว้เพื่อจะได้นาไปเรี ยบเรี ยงเป็ นรายงาน สาหรับการจดบันทึกข้อมูลความรู้ ควรจด
ลงในบัตรที่เรี ยกว่า “บัตรบันทึกความรู้ ”
บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรที่บนทึกเรื่ องราว หรื อ ข้อความที่ตองการซึ่งได้จากการค้นคว้า ลักษณะของ
ั
้
บัตรจะเป็ นบัตรแข็งขนาด 5” X 8” หรื อ 4” X 6” หรื อ กระดาษขนาด A4 พับครึ่ ง
ส่ วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้
1.หัวข้อเรื่ องที่ตองการค้นคว้า ลงไว้ที่หวมุมบนขวาของบัตร
้
ั
2.แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรู ปแบบบรรณานุกรม
3. เลขหน้า บันทึกเฉพาะเลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า
้
4. ข้อความที่บนทึก
ั
รู ปแบบของบัตรบันทึกความรู้
หัวข้อเรื่ อง…………………..…
รายการบรรณานุกรมของวัสดุสารนิเทศที่ใช้คนคว้า………………………………………….
้
หน้า................................ (เลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า)
้
(ข้อความที่บนทึก)………………………………………………………………………………
ั
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………..………………………………………………..………
……………………………………………………………………………………..

วิธีเขียนบัตรบันทึก
1.ใช้ หัวข้ อจากโครงเรื่ องเป็ นหลักในการรวบรวมข้ อมูล และหัวข้อของบัตรบันทึกต้องตรงกับหัวข้อโครงเรื่ อง ใน
การบันทึกข้อมูลให้ทาที่ละหัวข้อและบันทึกเฉพาะเนื้ อหาที่เกี่ยวกับหัวข้อนั้น
2. บัตรบันทึกแผ่ นหนึ่งๆ ใช้บนทึกเนื้อหาเพียงหัวข้อเรื่ องเดียว
ั
3. หัวข้ อเรื่ องเดียวกัน ถ้ าบันทึกจากหนังสื อต่ างเล่ มกัน ให้ แยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น
4. หากข้ อมูลมาจากวัสดุสารนิเทศเดียวกันแต่ ต่างหัวข้ อกัน ต้ องแยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น
5. บัตรบันทึกให้ ใช้ เพียงหน้ าเดียว ถ้าบันทึกเนื้อหาไม่หมดในบัตรเดียวให้ต่อบัตรใหม่โดยเขียนหมายเลขบัตรกากับ
ไว้ทายหัวข้อนั้นๆ
้
6.บัตรบันทึกความรู้ อาจเพิ่มเติมหรื อจาหน่ ายออกได้ จนกว่าจะเห็นว่าครอบคลุ่มเนื้ อครบสมบูรณ์
แบบของบัตรบันทึกความรู้
การบันทึกเนื้ อหาข้อมูลมี 3 แบบ คือ
1.แบบย่อความ
2.แบบคัดลอกข้อความ
3.แบบถอดความ
1.บัตรบันทึกความรู ้แบบย่อความ หรื อแบบสรุ ปความ ส่ วนใหญ่การบันทึกจะใช้วธีน้ ี มีหลักการบันทึกดังนี้
ิ
1.1. อ่านเอกสารในหัวเรื่ องที่กาลังบันทึกให้ตลอดเสี ยก่อนเพื่อสารวจเนื้อหาสาระ และแนวคิดของเรื่ อง
1.2. วิเคราะห์เนื้ อหาและเก็บประเด็นหรื อสาระสาคัญหลักของหัวเรื่ องให้ครบถ้วน
1.3. ประเด็นรองหรื อรายละเอียดที่เป็ นสาระที่สาคัญของ
แต่ละประเด็นให้รวบรวมและจัดให้เป็ นระเบียบกะทัดรัดไว้ที่ประเด็นนั้นๆ
1.4. ตัวอย่างรายละเอียดต่างๆ คาพรรณนาสานวนตัดทิ้งไป
1.5. บันทึกข้อมูลลงบัตรบันทึกความรู ้ให้ถูกต้องตามแบบที่กาหนด
ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน
้
่
หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : รู ปแบบของตัวพิมพ์อกษรไทย
้
ั
หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อเรื่ องหนังสื อและการพิมพ์ โดยกาธร สถิรกุล พิมพ์โดย มหาวิทยาลัยรามคาแหง นคร
้
หลวง กรุ งเทพธนบุรี 2515 หน้า 61-62
ข้อความในต้นฉบับ : ลักษณะแบบตัวพิมพ์ไทยที่เป็ น Book face นั้นอาจแบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ตามลักษณะของ
การออกแบบรู ปตัวหนังสื อได้สามกลุ่ม คือ
1. แบบที่เรี ยกว่าตัวเหลี่ยม กลุ่มนี้อยากจะให้ต้ ง ชื่อว่า แบบบลัดเลย์ เพื่อให้เกียรติแก่หมอ
ั
บลัดเลย์ ผูที่ดาเนินการหล่อตัวพิมพ์ไทยขึ้นเป็ นครั้งแรกในเมืองไทยและได้หล่อตัว พิมพ์แบบตัวเหลี่ยมออกมาเป็ น
้
ครั้งแรก ตัวเหลี่ยมนี้เส้นเสมอกันตลอดทั้งตัวไม่มีเส้นหนาเส้นบาง ลักษณะตัวหนังสื อเลียนแบบการคัดลายมือ
บรรจงโดยใช้ดินสอบนกระดาษหรื อการจาร เหล็กแหลมลงบนลาน แต่เส้นนอกด้านบนหักเป็ นเหลี่ยม เป็ นมุมซึ่ง
เรี ยกกันมาแต่เดิมว่าตัวเหลี่ยม รู ปตัวเหลี่ยมมีดงนี้
ั
ก ค อ ฉ ส จ ว ศา
2. แบบที่เรี ยกว่าตัวธรรมดา แบบนี้อยากจะให้ต้ งชื่ อ ว่า แบบมงกุฎ เพื่อถวายพระเกียรติให้แก่
ั
่ ั
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที่ 4 ในฐานะที่พระองค์ท่านเป็ นคนไทย ที่ดาเนินกิจการพิมพ์เป็ นครั้ง
แรก ทรงสนพระทัยในการพิมพ์มากดังจะเห็นได้จากพระราชหัตถเลขาหลายฉบับที่ทรง ติดต่อให้พระสหายได้
จัดหาแท่นพิมพ์เข้ามาในเมืองไทย และส่ งข้าราชการไทยไปศึกษาวิชาการพิมพ์ทางยุโรป ทรงจัดตั้งโรงพิมพ์หลวง
ขึ้นในพระบรมมหาราชวัง ตัวพิมพ์แบบนี้ไม่มีเส้นหนาเส้นบางสม่าเสมอกันตลอดทั้งตัวเป็ นเส้นเล็กคม ลักษณะ
เดียวกับตัวเหลี่ยม แต่เส้นนอนด้านบนเป็ นเส้นโค้ง ดังแบบข้างล่างนี้
กคฉศจ า
3. ตัวฝรั่งเศส อยากให้เรี ยกชื่อว่า แบบอุโฆษ การเรี ยกตัวฝรั่งเศสที่ให้เข้าใจผิดไปว่าเป็ นตัวหนังสื อฝรั่งเศส
ซึ่งใช้ตว อักษรโรมันแต่ความจริ งเป็ นแบบตัวพิมพ์ไทย ซึ่งโรงพิมพ์อสสัมชัญนาเข้ามาใช้เป็ นครั้งแรก โดยแม่พิมพ์
ั
ั
ทองแดงจัดทามาจากประเทศฝรั่งเศส แต่หล่อแล้วนามาใช้พิมพ์หนังสื ออุโฆษเป็ นครั้งแรก อันเป็ นหนังสื อวารสาร
ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญในยุคนั้น ลักษณะตัวหนังสื อมีเส้นหนาเส้นบาง ตัวหนังสื อค่อนข้างหนาและดากว่าตัว
เหลี่ยมและตัวธรรมดา ลักษณะของความหนาบางของตัวหนังสื อเลียนแบบมาจากการเขียนตัวหนังสื อด้วยปากกา
โลหะจิ้มหมึกเขียนลงบนกระดาษเป็ นปากกาจิ้มซึ่ งเขียนแล้วทาให้เกิดมีความหนา ความบางในเส้นตามลักษณะ
ของน้าหนักของมือที่ลากเส้นไปตามตัวหนังสื อนั้นๆ ตัวอย่างตัวฝรั่งเศสเป็ นดังนี้
ก ค ส ข ม ท ฮ วา จ
ขั้นตอนการอ่านและวิเคราะห์ เนือหาได้ ดังนี้
้
1. รู ปแบบตัวพิมพ์จาแนกเป็ น 3 กลุ่ม
2. การตั้งชื่อตัวพิมพ์แต่ละกลุ่ม ยึดหลักการพื้นฐาน 3 ประการ
2.1 ลักษณะของตัวพิมพ์
2.2 ชื่อที่เสนอตั้ง
2.3 เหตุผลการเสนอชื่ อนั้นๆ
ขั้นตอนการบันทึกลงบัตร
1. เขียนรายการที่หวบัตรบันทึกให้ถูกต้อง ตามแบบที่กาหนดโดยสมบูรณ์
ั
2. เก็บประเด็นหรื อสารัตถะของหัวข้อเรื่ องที่วิเคราะห์แล้วทั้งใหญ่และรองลงในบัตรบันทึกให้ครบถ้วน
และเป็ นระเบียบ
การบันทึกลงบัตร
รูปแบบตัวพิมพ์อักษรไทย
2.บัตรบันทึกความรู้ “แบบคัดลอกข้อความ” บัตรบันทึกความรู้แบบคัดลอกข้อความ เป็ นการบันทึกโดย
วิธีการคัดลอกข้อความบางตอนของผูอื่น มีหลักการบันทึกดังนี้
้
2.1. จุดประสงค์ของการบันทึกโดยวิธีคดลอก
ั
2.1.1 เพื่อใช้ขอความนั้นอ้างอิง หรื อสนับสนุนหัวข้อที่เขียน
้
2.1.2 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นประเด็นในการวิเคราะห์ หรื อวิจารณ์ อันเกี่ยวเนื่องกับเรื่ องที่เขียน
้
2.1.3 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นตัวอย่างประกอบเรื่ องที่เขียน
้
2.2. ลักษณะของข้อความที่บนทึกโดยวิธีการคัดลอก
ั
2.2.1 เป็ นข้อความสาคัญซึ่ งไม่อาจสรุ ปความได้ดีเท่าของเดิม เช่น สู ตร กฎ คาจากัดความ สุ ภาษิต
คาพังเพย เป็ นต้น
2.2.2 เป็ นข้อความที่ผทารายงานต้องการอ้างอิง หรื อ สนับสนุนความคิดเห็นของตน เช่น สถิติ
ู้
ต่างๆ
2.3. วิธีการคัดลอก มีดงนี้
ั
2.3.1 คัดลอกให้ถูกต้องตรงตามต้นฉบับทุกประการทั้งข้อความแลตัวสะกดการันต์ และใส่
เครื่ องหมาย “…………………” กากับข้อความที่คดลอกนั้น
ั
2.3.2 ระบุเลขหน้าเฉพาะส่ วนของข้อความที่คดลอกเท่านั้น
ั
ตัวอย่างการบันทึกลงบัตรบันทึกความรู ้ “แบบคัดลอกข้อความ”
แฟลต

3.บัตรบันทึกความรู้แบบถอดความ หรื อการแปล การบันทึกวิธีน้ ีใช้ในกรณี ต่อไปนี้
3.1.ต้นฉบับเป็ นร้อยกรอง แต่ตองการใช้เป็ นร้อยแก้ว
้
3.2. ต้นฉบับเป็ นภาษาที่ไม่คุนเคย เช่น ภาษาบาลี ภาษาถิ่น เป็ นต้น
้
3.3. ต้นฉบับเป็ นภาษาต่างประเทศ
3.4. การถอดความเมื่อถอดความแล้วควร
3.4.1 สื่ อความเข้าใจได้ชดเจน
ั
3.4.2 ใจความถูกต้องและครบประเด็น
3.4.3 ใจความตรงความหมายเดิม แต่ดวยสานวนโวหารของตนเอง
้
3.4.4 ใช้ภาษาสละสลวย กะทัดรัดและสานวนเป็ นไทยๆ
3.4.5 ได้บรรยากาศเหมือนของเดิม หรื อใกล้เคียงมากที่สุด
ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน
้
่
หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : ลักษณะกุลสตรี ไทย
้
หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อลิลิตพระลอ พิมพ์ครั้งที่ 25 โดยองค์การค้าของคุรุสภา กรุ งเทพฯ 2527 หน้า 9
้
ข้อความที่จะถอด : โคลงบทหนึ่ง กล่าวถึงพระเพื่อนพระแพงตอบสนองพระพี่เลี้ยงจะออกอุบายชักชวนพระลอให้
เสด็จมาหาดังนี้
ความคิดผิดรี ตได้
ความอาย พี่เอย
หญิงสื่ อชักชวนชาย
สู่ หย้าว
เจ็บเผือว่าแหนงตาย
ดีกว่า ไส้นา
เผือหากรักท้าวท้าว
ไปรู้จกเผือ
ั
การบันทึกลงบัตร

More Related Content

What's hot

วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์
MilkOrapun
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
คงศักดิ์ วิเวกวิน
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
Nat Ty
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
saoBenz
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
dawnythipsuda
 
การศาล
การศาลการศาล
การศาล
thnaporn999
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
nunrutchadaphun
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
B'Ben Rattanarat
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
Sopa
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
phornphan1111
 

What's hot (20)

วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
การศาล
การศาลการศาล
การศาล
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 

ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน

  • 1. การรวบรวมข้ อมูล และการอ่ านเพือทาบันทึกการอ่าน ่ เมื่อวางโครงเรื่ องเรี ยบร้อยแล้ว ให้อ่านข้อมูลที่มีเนื้อหาในหัวข้อต่างๆ ตามลาดับหัวข้อที่กาหนดไว้ใน โครงเรื่ องทีละหัวข้อ หากหัวข้อใดมีขอมูลน้อยควรค้นหาวัสดุสารนิเทศเพิ่มเติมเพื่อให้มีขอมูลเพียงพอ เมื่ออ่าน ้ ้ แล้วควรจะมีการจดบันทึกความรู้ไว้เพื่อจะได้นาไปเรี ยบเรี ยงเป็ นรายงาน สาหรับการจดบันทึกข้อมูลความรู้ ควรจด ลงในบัตรที่เรี ยกว่า “บัตรบันทึกความรู้ ” บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรที่บนทึกเรื่ องราว หรื อ ข้อความที่ตองการซึ่งได้จากการค้นคว้า ลักษณะของ ั ้ บัตรจะเป็ นบัตรแข็งขนาด 5” X 8” หรื อ 4” X 6” หรื อ กระดาษขนาด A4 พับครึ่ ง ส่ วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้ 1.หัวข้อเรื่ องที่ตองการค้นคว้า ลงไว้ที่หวมุมบนขวาของบัตร ้ ั 2.แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรู ปแบบบรรณานุกรม 3. เลขหน้า บันทึกเฉพาะเลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า ้ 4. ข้อความที่บนทึก ั รู ปแบบของบัตรบันทึกความรู้ หัวข้อเรื่ อง…………………..… รายการบรรณานุกรมของวัสดุสารนิเทศที่ใช้คนคว้า…………………………………………. ้ หน้า................................ (เลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า) ้ (ข้อความที่บนทึก)……………………………………………………………………………… ั ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………..………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………….. วิธีเขียนบัตรบันทึก 1.ใช้ หัวข้ อจากโครงเรื่ องเป็ นหลักในการรวบรวมข้ อมูล และหัวข้อของบัตรบันทึกต้องตรงกับหัวข้อโครงเรื่ อง ใน การบันทึกข้อมูลให้ทาที่ละหัวข้อและบันทึกเฉพาะเนื้ อหาที่เกี่ยวกับหัวข้อนั้น 2. บัตรบันทึกแผ่ นหนึ่งๆ ใช้บนทึกเนื้อหาเพียงหัวข้อเรื่ องเดียว ั 3. หัวข้ อเรื่ องเดียวกัน ถ้ าบันทึกจากหนังสื อต่ างเล่ มกัน ให้ แยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น 4. หากข้ อมูลมาจากวัสดุสารนิเทศเดียวกันแต่ ต่างหัวข้ อกัน ต้ องแยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น 5. บัตรบันทึกให้ ใช้ เพียงหน้ าเดียว ถ้าบันทึกเนื้อหาไม่หมดในบัตรเดียวให้ต่อบัตรใหม่โดยเขียนหมายเลขบัตรกากับ ไว้ทายหัวข้อนั้นๆ ้ 6.บัตรบันทึกความรู้ อาจเพิ่มเติมหรื อจาหน่ ายออกได้ จนกว่าจะเห็นว่าครอบคลุ่มเนื้ อครบสมบูรณ์
  • 2. แบบของบัตรบันทึกความรู้ การบันทึกเนื้ อหาข้อมูลมี 3 แบบ คือ 1.แบบย่อความ 2.แบบคัดลอกข้อความ 3.แบบถอดความ 1.บัตรบันทึกความรู ้แบบย่อความ หรื อแบบสรุ ปความ ส่ วนใหญ่การบันทึกจะใช้วธีน้ ี มีหลักการบันทึกดังนี้ ิ 1.1. อ่านเอกสารในหัวเรื่ องที่กาลังบันทึกให้ตลอดเสี ยก่อนเพื่อสารวจเนื้อหาสาระ และแนวคิดของเรื่ อง 1.2. วิเคราะห์เนื้ อหาและเก็บประเด็นหรื อสาระสาคัญหลักของหัวเรื่ องให้ครบถ้วน 1.3. ประเด็นรองหรื อรายละเอียดที่เป็ นสาระที่สาคัญของ แต่ละประเด็นให้รวบรวมและจัดให้เป็ นระเบียบกะทัดรัดไว้ที่ประเด็นนั้นๆ 1.4. ตัวอย่างรายละเอียดต่างๆ คาพรรณนาสานวนตัดทิ้งไป 1.5. บันทึกข้อมูลลงบัตรบันทึกความรู ้ให้ถูกต้องตามแบบที่กาหนด
  • 3. ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน ้ ่ หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : รู ปแบบของตัวพิมพ์อกษรไทย ้ ั หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อเรื่ องหนังสื อและการพิมพ์ โดยกาธร สถิรกุล พิมพ์โดย มหาวิทยาลัยรามคาแหง นคร ้ หลวง กรุ งเทพธนบุรี 2515 หน้า 61-62 ข้อความในต้นฉบับ : ลักษณะแบบตัวพิมพ์ไทยที่เป็ น Book face นั้นอาจแบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ตามลักษณะของ การออกแบบรู ปตัวหนังสื อได้สามกลุ่ม คือ 1. แบบที่เรี ยกว่าตัวเหลี่ยม กลุ่มนี้อยากจะให้ต้ ง ชื่อว่า แบบบลัดเลย์ เพื่อให้เกียรติแก่หมอ ั บลัดเลย์ ผูที่ดาเนินการหล่อตัวพิมพ์ไทยขึ้นเป็ นครั้งแรกในเมืองไทยและได้หล่อตัว พิมพ์แบบตัวเหลี่ยมออกมาเป็ น ้ ครั้งแรก ตัวเหลี่ยมนี้เส้นเสมอกันตลอดทั้งตัวไม่มีเส้นหนาเส้นบาง ลักษณะตัวหนังสื อเลียนแบบการคัดลายมือ บรรจงโดยใช้ดินสอบนกระดาษหรื อการจาร เหล็กแหลมลงบนลาน แต่เส้นนอกด้านบนหักเป็ นเหลี่ยม เป็ นมุมซึ่ง เรี ยกกันมาแต่เดิมว่าตัวเหลี่ยม รู ปตัวเหลี่ยมมีดงนี้ ั ก ค อ ฉ ส จ ว ศา 2. แบบที่เรี ยกว่าตัวธรรมดา แบบนี้อยากจะให้ต้ งชื่ อ ว่า แบบมงกุฎ เพื่อถวายพระเกียรติให้แก่ ั ่ ั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที่ 4 ในฐานะที่พระองค์ท่านเป็ นคนไทย ที่ดาเนินกิจการพิมพ์เป็ นครั้ง แรก ทรงสนพระทัยในการพิมพ์มากดังจะเห็นได้จากพระราชหัตถเลขาหลายฉบับที่ทรง ติดต่อให้พระสหายได้ จัดหาแท่นพิมพ์เข้ามาในเมืองไทย และส่ งข้าราชการไทยไปศึกษาวิชาการพิมพ์ทางยุโรป ทรงจัดตั้งโรงพิมพ์หลวง ขึ้นในพระบรมมหาราชวัง ตัวพิมพ์แบบนี้ไม่มีเส้นหนาเส้นบางสม่าเสมอกันตลอดทั้งตัวเป็ นเส้นเล็กคม ลักษณะ เดียวกับตัวเหลี่ยม แต่เส้นนอนด้านบนเป็ นเส้นโค้ง ดังแบบข้างล่างนี้ กคฉศจ า 3. ตัวฝรั่งเศส อยากให้เรี ยกชื่อว่า แบบอุโฆษ การเรี ยกตัวฝรั่งเศสที่ให้เข้าใจผิดไปว่าเป็ นตัวหนังสื อฝรั่งเศส ซึ่งใช้ตว อักษรโรมันแต่ความจริ งเป็ นแบบตัวพิมพ์ไทย ซึ่งโรงพิมพ์อสสัมชัญนาเข้ามาใช้เป็ นครั้งแรก โดยแม่พิมพ์ ั ั ทองแดงจัดทามาจากประเทศฝรั่งเศส แต่หล่อแล้วนามาใช้พิมพ์หนังสื ออุโฆษเป็ นครั้งแรก อันเป็ นหนังสื อวารสาร ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญในยุคนั้น ลักษณะตัวหนังสื อมีเส้นหนาเส้นบาง ตัวหนังสื อค่อนข้างหนาและดากว่าตัว เหลี่ยมและตัวธรรมดา ลักษณะของความหนาบางของตัวหนังสื อเลียนแบบมาจากการเขียนตัวหนังสื อด้วยปากกา โลหะจิ้มหมึกเขียนลงบนกระดาษเป็ นปากกาจิ้มซึ่ งเขียนแล้วทาให้เกิดมีความหนา ความบางในเส้นตามลักษณะ ของน้าหนักของมือที่ลากเส้นไปตามตัวหนังสื อนั้นๆ ตัวอย่างตัวฝรั่งเศสเป็ นดังนี้ ก ค ส ข ม ท ฮ วา จ
  • 4. ขั้นตอนการอ่านและวิเคราะห์ เนือหาได้ ดังนี้ ้ 1. รู ปแบบตัวพิมพ์จาแนกเป็ น 3 กลุ่ม 2. การตั้งชื่อตัวพิมพ์แต่ละกลุ่ม ยึดหลักการพื้นฐาน 3 ประการ 2.1 ลักษณะของตัวพิมพ์ 2.2 ชื่อที่เสนอตั้ง 2.3 เหตุผลการเสนอชื่ อนั้นๆ ขั้นตอนการบันทึกลงบัตร 1. เขียนรายการที่หวบัตรบันทึกให้ถูกต้อง ตามแบบที่กาหนดโดยสมบูรณ์ ั 2. เก็บประเด็นหรื อสารัตถะของหัวข้อเรื่ องที่วิเคราะห์แล้วทั้งใหญ่และรองลงในบัตรบันทึกให้ครบถ้วน และเป็ นระเบียบ การบันทึกลงบัตร รูปแบบตัวพิมพ์อักษรไทย
  • 5. 2.บัตรบันทึกความรู้ “แบบคัดลอกข้อความ” บัตรบันทึกความรู้แบบคัดลอกข้อความ เป็ นการบันทึกโดย วิธีการคัดลอกข้อความบางตอนของผูอื่น มีหลักการบันทึกดังนี้ ้ 2.1. จุดประสงค์ของการบันทึกโดยวิธีคดลอก ั 2.1.1 เพื่อใช้ขอความนั้นอ้างอิง หรื อสนับสนุนหัวข้อที่เขียน ้ 2.1.2 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นประเด็นในการวิเคราะห์ หรื อวิจารณ์ อันเกี่ยวเนื่องกับเรื่ องที่เขียน ้ 2.1.3 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นตัวอย่างประกอบเรื่ องที่เขียน ้ 2.2. ลักษณะของข้อความที่บนทึกโดยวิธีการคัดลอก ั 2.2.1 เป็ นข้อความสาคัญซึ่ งไม่อาจสรุ ปความได้ดีเท่าของเดิม เช่น สู ตร กฎ คาจากัดความ สุ ภาษิต คาพังเพย เป็ นต้น 2.2.2 เป็ นข้อความที่ผทารายงานต้องการอ้างอิง หรื อ สนับสนุนความคิดเห็นของตน เช่น สถิติ ู้ ต่างๆ 2.3. วิธีการคัดลอก มีดงนี้ ั 2.3.1 คัดลอกให้ถูกต้องตรงตามต้นฉบับทุกประการทั้งข้อความแลตัวสะกดการันต์ และใส่ เครื่ องหมาย “…………………” กากับข้อความที่คดลอกนั้น ั 2.3.2 ระบุเลขหน้าเฉพาะส่ วนของข้อความที่คดลอกเท่านั้น ั ตัวอย่างการบันทึกลงบัตรบันทึกความรู ้ “แบบคัดลอกข้อความ”
  • 6. แฟลต 3.บัตรบันทึกความรู้แบบถอดความ หรื อการแปล การบันทึกวิธีน้ ีใช้ในกรณี ต่อไปนี้ 3.1.ต้นฉบับเป็ นร้อยกรอง แต่ตองการใช้เป็ นร้อยแก้ว ้ 3.2. ต้นฉบับเป็ นภาษาที่ไม่คุนเคย เช่น ภาษาบาลี ภาษาถิ่น เป็ นต้น ้ 3.3. ต้นฉบับเป็ นภาษาต่างประเทศ 3.4. การถอดความเมื่อถอดความแล้วควร 3.4.1 สื่ อความเข้าใจได้ชดเจน ั 3.4.2 ใจความถูกต้องและครบประเด็น 3.4.3 ใจความตรงความหมายเดิม แต่ดวยสานวนโวหารของตนเอง ้ 3.4.4 ใช้ภาษาสละสลวย กะทัดรัดและสานวนเป็ นไทยๆ 3.4.5 ได้บรรยากาศเหมือนของเดิม หรื อใกล้เคียงมากที่สุด ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน ้ ่ หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : ลักษณะกุลสตรี ไทย ้ หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อลิลิตพระลอ พิมพ์ครั้งที่ 25 โดยองค์การค้าของคุรุสภา กรุ งเทพฯ 2527 หน้า 9 ้ ข้อความที่จะถอด : โคลงบทหนึ่ง กล่าวถึงพระเพื่อนพระแพงตอบสนองพระพี่เลี้ยงจะออกอุบายชักชวนพระลอให้ เสด็จมาหาดังนี้ ความคิดผิดรี ตได้ ความอาย พี่เอย หญิงสื่ อชักชวนชาย สู่ หย้าว เจ็บเผือว่าแหนงตาย ดีกว่า ไส้นา เผือหากรักท้าวท้าว ไปรู้จกเผือ ั