SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรียน
รายวิชา ง30240 การจัดสวน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
เลมที่ 4
เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
โดย พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช
ตําแหนงครู วิทยฐานะครูชํานาญการ
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนบางลี่วิทยา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต9
ก
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30240 การจัดสวน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 กลุมสาระ
การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทําขึ้นใหสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และตามโครงสรางหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิตและรูเทาทัน
การเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพและเทคโนโลยีมาใชประโยชน
ในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรคและแขงขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทาง
ในการประกอบอาชีพ รักการทํางานและมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได
อยางพอเพียงและมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระราชดําริของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30240 การจัดสวน ชุดนี้มีจํานวน 9 เลม ซึ่งเอกสาร
ประกอบการเรียน เลมที่ 4 เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวนนี้ มีเนื้อหาประกอบดวย
การเลือกพันธุไม ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน การจัด
ตนไมใหเปนสวน ตัวอยางกลุมของตนไมที่เขากันได ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม วัสดุตกแตงสวน
และตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียนผูจัดทําไดนําเสนอตัวอยางพันธุไมที่ใชในการจัดสวนดวยรูปภาพ
สวยงาม ชัดเจน เพื่อใหนักเรียนและผูที่สนใจไดรูจักและเขาใจลักษณะของพันธุไมมากยิ่งขึ้นและ
ชี้ใหเห็นถึงการนําพันธุไมแตละพันธุไปใชประโยชนในการจัดสวน โดยมีกิจกรรมทบทวนความรู
ใหนักเรียนไดฝกทํากิจกรรมในตอนทายเลม
ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้จะอํานวยประโยชนแกนักเรียน
ครูและผูที่สนใจศึกษาไดเปนอยางดี
พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช
คํานํา
ข
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เรื่อง หนา
คํานํา ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ง
คําชี้แจง ฉ
คําแนะนําในการใชเอกสารประกอบการเรียน 1
ผลการเรียนรู 2
สาระการเรียนรู 2
แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 3
การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 6
การเลือกพันธุไม 6
ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม 6
ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน 10
การจัดตนไมใหเปนสวน 12
ตัวอยางการจัดกลุมตนไมที่เขากันได 14
ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม 15
วัสดุตกแตงสวน 16
ตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน 24
กิจกรรมทบทวนความรู เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 34
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 37
บรรณานุกรม 40
ภาคผนวก 42
กระดาษคําตอบ เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 43
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 44
แนวคําตอบกิจกรรมทบทวนความรู เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 45
เกณฑการใหคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรู กิจกรรมที่2 49
เกณฑการใหคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรู กิจกรรมที่3 49
สารบัญ
ค
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เรื่อง หนา
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 50
แบบบันทึกคะแนนกิจกรรมประกอบเอกสารประกอบการเรียน 51
แบบบันทึกคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนเอกสารประกอบการเรียน 52
แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมประกอบเอกสารประกอบการเรียน 53
สารบัญ (ตอ)
ง
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
ภาพ หนา
ภาพที่ 4-1เปรียบเทียบความสูงของตนไม 7
ภาพที่ 4-2แสดงขนาดทรงพุมของตนไม 8
ภาพที่ 4-3แสดงลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุมตนไม 9
ภาพที่ 4-4ตนชมพูพันธุทิพย 10
ภาพที่ 4-5ตนยี่โถ 11
ภาพที่ 4-6ตนพวงชมพู 11
ภาพที่ 4-7ตนแพรเซียงไฮ 12
ภาพที่ 4-8ตนบัว 12
ภาพที่ 4-9การวางไมประธาน 1 ตน 13
ภาพที่ 4-10การวางไมประธาน 3 ตน 13
ภาพที่ 4-11การจัดกลุมตนไมโดยใชหินและแผนทางเดินเชื่อมกลุมตนไม 14
ภาพที่ 4-12การจัดตนไมมีจังหวะเหลื่อมล้ํา สูง กลางและต่ํา มีหินประกอบสวน 14
ภาพที่ 4-13แสดงการวางหินแบบตาง ๆ 16
ภาพที่ 4-14ลักษณะหินที่ควรเลือกซื้อ 17
ภาพที่ 4-15ตัวอยางการจัดหิน 17
ภาพที่ 4-16ตัวอยางการวางหิน 18
ภาพที่ 4-17แนวเสนพลังของกอนหิน 18
ภาพที่ 4-18ตัวอยางการจัดหินเปนกลุม 19
ภาพที่ 4-19ตัวอยางการวางหิน5 กอน 19
ภาพที่ 4-20การใชหินเปนวัสดุตกแตงสวน 20
ภาพที่ 4-21การวางแผนทางเทา 20
ภาพที่ 4-22การใชแผนทางเทาเปนวัสดุตกแตงสวน 21
ภาพที่ 4-23การใชตอไมเปนวัสดุตกแตงสวน 21
ภาพที่ 4-24การใชไฟในสวนเปนวัสดุตกแตงสวน 22
ภาพที่ 4-25การใชรูปปนเปนวัสดุตกแตงสวน 23
ภาพที่ 4-26เฟอรนิเจอรสนามเปนวัสดุตกแตงสวน 23
สารบัญภาพ
จ
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
ภาพ หนา
ภาพที่ 4-27วัสดุตกแตงสวน 24
ภาพที่ 4-28พันธุไมตน 24
ภาพที่ 4-29พันธุไมตน 25
ภาพที่ 4-30พันธุไมตน 26
ภาพที่ 4-31พันธุไมพุม 27
ภาพที่ 4-32พันธุไมพุม 27
ภาพที่ 4-33พันธุไมคลุมดิน 29
ภาพที่ 4-34พันธุไมคลุมดิน 30
ภาพที่ 4-35พันธุไมเลื้อย 31
ภาพที่ 4-36พันธุไมเลื้อย 32
ภาพที่ 4-37พันธุไมน้ํา 33
สารบัญภาพ (ตอ)
ฉ
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30240 การจัดสวน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 กลุมสาระ
การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชุดนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักเรียน ครูและ
ผูที่สนใจไดศึกษาหาความรู ทําความเขาใจเกี่ยวกับการจัดสวนและไดฝกทักษะในการจัดสวนเพราะ
เอกสารประกอบการเรียนแตละเลมไดนําเสนอองคความรูอันเปนแนวทางในการจัดสวนอยางงาย ๆ
โดยอธิบายวิธีการใชเอกสารประกอบการเรียนไวอยางชัดเจน ตามลําดับดังนี้
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่1 เรื่อง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่2 เรื่อง การจําแนกประเภทของการจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่3 เรื่อง หลักทั่วไปในการออกแบบจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่4 เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่5 เรื่อง เครื่องมือและสัญลักษณในการออกแบบจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่6 เรื่อง ขั้นตอนในการออกแบบจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่7 เรื่อง การประเมินราคาจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่8 เรื่อง ขั้นตอนการจัดสวน
เอกสารประกอบการเรียน เลมที่9 เรื่อง การดูแลสวนใหม รักษาสวนเกา
2. เอกสารประกอบการเรียนแตละเลมประกอบดวย คําแนะนําในการใชเอกสาร
ประกอบการเรียน ผลการเรียนรู สาระการเรียนรู แบบทดสอบกอนเรียน เนื้อหาในเอกสาร
ประกอบการเรียน กิจกรรมทบทวนความรู แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรมและภาคผนวก
ซึ่งประกอบดวยกระดาษคําตอบ เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน แนวคําตอบกิจกรรมทบทวนความรู
เกณฑการใหคะแนน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม แบบบันทึกคะแนน
กอนเรียนและหลังเรียนและแบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม กอนทําการศึกษานักเรียนควร
อานคําชี้แจงในการใชเอกสารประกอบการเรียนแตละเลมใหเขาใจ
3. เมื่อนักเรียนรับเอกสารประกอบการเรียนจากครูแลว อานคําสั่งใหเขาใจ จากนั้นปฏิบัติ
กิจกรรม ในแตละขั้นตอนอยางเครงครัดเปนรายบุคคล เมื่อทําเสร็จแลวใหเก็บรวบรวมคืนครู
ทุกครั้งในแตละชั่วโมง
คําชี้แจง
1
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เอกสารเลมนี้เปนเอกสารที่ใชประกอบการเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถใชศึกษาดวยตนเอง
จากการอานคําแนะนําการใชและคําชี้แจงในกิจกรรม รายวิชา ง30240 การจัดสวน เรื่อง การเลือก
พันธุไมและวัสดุตกแตงสวน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้
1. อานผลการเรียนรูและสาระการเรียนรูใหเขาใจ
2. ทําแบบทดสอบกอนเรียนจํานวน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบ เพื่อวัดความรูพื้นฐาน
3. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240 การจัดสวน เรื่อง การเลือกพันธุไม
และวัสดุตกแตงสวน
4. ทํากิจกรรมทบทวนความรูทายบทเรียน ลงในกระดาษคําตอบ
5. ตรวจคําตอบเพื่อวัดผลการเรียนรู
6. ถาตอบผิดควรกลับไปศึกษาเนื้อหาใหมอีกครั้ง
7. ทําแบบทดสอบหลังเรียนจํานวน10 ขอ
8. ตรวจคําตอบเพื่อวัดผลการเรียนรู
9. สรุปผลคะแนนที่ไดลงในกระดาษคําตอบ
ในการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนและปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรูทายบทเรียน
ขอความรวมมือใหนักเรียนทุกคนมีความซื่อสัตย รับผิดชอบตอตนเอง ศึกษาเอกสารประกอบการ
เรียนและปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรูทายบทเรียนดวยตนเองและไมตรวจคําตอบกอนที่จะทํา
กิจกรรมเสร็จ
2
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
1. อธิบายปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม
2. เลือกพันธุไมในการจัดสวน
3. เลือกวัสดุตกแตงสวน
1. การเลือกพันธุไม
1.1 ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม
1.2 ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน
1.3 การจัดตนไมใหเปนสวน
1.4 ตัวอยางการจัดกลุมของตนไมที่ปลูกรวมกันได
1.5 ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม
2. วัสดุตกแตงสวน
3. ตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน
3
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
คําชี้แจง : 1. แบบทดสอบมีจํานวน 10 ขอ จํานวนคะแนน 10 คะแนน ใชเวลา10 นาที
2. จงเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียวแลวเขียนอักษรหนาขอที่ถูกใสลงใน
กระดาษคําตอบ
1. ขอใด ไมใช ปจจัยในการเลือกพันธุไมสําหรับใชในการจัดสวน
ก. อุณหภูมิ น้ํา แสง ดิน
ข. ความสูงของตนไม ขนาดทรงพุม
ค. การเจริญเติบโตและรูปทรงของตนไม
ง. ลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุม วิธีการขยายพันธุ
2. ขอใดกลาวถึงการเลือกพันธุไมเพื่อใชในการจัดสวนไมถูกตอง
ก. ไมพุมสูงประมาณ 3.00 เมตร เชน โกสน ควรปลูกเปนแปลง
ข. ไมเลื้อยสูงประมาณ 3.00 เมตร เชน พวงชมพูนิยมปลูกเปนรั้ว
ค. ไมคลุมดินสูงไมเกิน 0.3 เมตร เชน ดาดตะกั่ว ควรปลูกไวดานหนา
ง. ไมตนควรสูงมากกวา6.00 เมตร เชน ยี่โถ ควรปลูกเปนกลุม3 ตน
3. พันธุไมในขอใดนิยมปลูกริมน้ํา
ก. หลิว แปรงลางขวด เพราะมีผิวสัมผัสละเอียด นุมนวล
ข. หูกวาง ทองหลาง เพราะมีผิวสัมผัสละเอียด นุมนวล
ค. หลิว แปรงลางขวด เพราะมีผิวสัมผัสหยาบ เขมแข็ง
ง. หูกวาง ทองหลาง เพราะมีผิวสัมผัสหยาบ เขมแข็ง
4
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
4. พันธุไมในขอใดจัดเปนไมคลุมดินทั้งหมด
ก. ชมพูพันธุทิพย ดาวเรือง หนวดปลาดุกแคระ
ข. ฟาประดิษฐ ผกากรองเลื้อย กระดุมทอง
ค. ฟาประทานพร เทียนทอง โนรา
ง. ยี่เขง เข็ม แกว
5. จิราภรณเปนคนชอบปลูกตนไม ชอบความสดใสมีชีวิตชีวา ควรจะเลือกปลูกพันธุไมในขอใด
ก. มะลิ ทิวา กระทิง
ข. ดาวเรือง เดซี่ เทียนทอง
ค. กุหลาบ บานชื่น เยอบีรา
ง. พลูดาง เฟนใบมะขาม เศรษฐีเรือนนอก
6. บานสันติชัยแดดรอนทั้งวันจึงตองการปลูกไมตนเพื่อบังแดด ควรเลือกปลูกพันธุไมในขอใด
ก. หมากแดง หูกวาง เฟองฟา
ข. นนทรี คูน หางนกยูงฝรั่ง
ค. กุหลาบ คูน ลีลาวดี
ง. กุหลาบ ชวนชม จั๋ง
7. การปลูกตนไมตามหลักการจัดสวนนิยมจัดเปนรูปใดทางเลขาคณิต
ก. รูปสามเหลี่ยม
ข. รูปสี่เหลี่ยม
ค. รูปหาเหลี่ยม
ง. รูปวงกลม
8. พันธุไมในขอใดสามารถปลูกเขากันได
ก. บัว วานสี่ทิศ หลิว
ข. โมก การเวก ชมนาด
ค. เล็บมือนาง แวนแกว พลูดาง
ง. ขอยดัด ชาฮกเกี้ยน เข็มพิษณุโลก
5
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
9. ขอใดเปนประโยชนของวัสดุตกแตงสวน
ก. ทําใหสวนมีขนาดใหญ
ข. ทําใหสวนโดดเดนมีราคา
ค. ทําใหสวนสวยงาม นาสนใจ
ง. ทําใหสวนรมรื่น มีชีวิตชีวา
10. ใครเลือกใชหินในการจัดสวนไดถูกตอง
ก. เอกภพเลือกหินกลม ๆ เปนเสนตรงใชในการจัดสวน
ข. เอกราชเลือกหินชนิดเดียวกัน สีเดียวกันในการจัดสวน
ค. เอกพลทาสีหินดวยสีสดใสเพื่อเพิ่มเสนหใหกับสวน
ง. เอกชัยฝงหินกอนโตลงในสวนเพื่อความสวยงาม
6
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
การเลือกพันธุไม
การจัดสวน พันธุไมเปนองคประกอบหลักที่สําคัญ การเลือกพันธุไมสําหรับการจัดสวน
ไดถูกตองจะทําใหการจัดตกแตงและการดูแลรักษาสวนงายขึ้นซึ่งจะสงผลถึงความสวยงามของสวน
การเลือกชนิดของพันธุไมเพื่อนํามาจัดสวนจะตองทราบถึงรายละเอียดทั่วไป ดังนี้
ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม
1. อุณหภูมิ (Temperature)
พันธุไมแตละชนิดจะเจริญเติบโตไดดีในระดับอุณหภูมิที่แตกตางกัน ทําใหเราสามารถ
แบงพันธุไมออกเปนพันธุไมเมืองหนาวและพันธุไมเมืองรอน ถาเราเลือกพันธุไมเมืองหนาวไปปลูก
ในเมืองรอนจะทําใหพันธุไมนั้นไมเจริญเติบโต เนื่องจากอุณหภูมิที่ไมเหมาะสมพืชจะปรุงอาหาร
ไดนอย
2. น้ํา (Water)
น้ําเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งตอการดํารงชีวิตของพืช เนื่องจากน้ํามีหนาที่ชวยในการดูดอาหาร
ละลายธาตุอาหารในดิน ชวยในการปรุงอาหาร ลําเลียงอาหารที่ปรุงแลวไปยังสวนตาง ๆ ของพืช
ชวยลดอุณหภูมิและชวยในการเตงของเซลลพืช พันธุไมแตละชนิดมีความตองการปริมาณน้ํา
ที่ตางกันขึ้นอยูกับชนิดของพันธุไม
3. แสง (Light)
แสงเปนสิ่งที่จําเปนในการเจริญเติบโตของพืชทุกชนิด เพราะแสงทําใหเกิดขบวน
การสังเคราะหแสงทําใหไดอาหารสําหรับพืชที่จะนําไปใชสรางความเจริญเติบโต สรางตน ราก ใบ
ดอกและผล ถาเราปลูกตนไมในบริเวณที่มีแสงสวางนอยไมเพียงพอกับความตองการของพันธุไม
นั้น ๆ พันธุไม ก็จะปรุงอาหารไดนอย ทําใหไมเจริญงอกงาม
ในธรรมชาติมีพันธุไมหลายชนิดที่มีความตองการแสงที่แตกตางกัน บางชนิดตองการ
แสงมาก บางชนิดตองการแสงนอยและบางชนิดตองการแสงปานกลาง ในการจัดสวนจึงตอง
พิจารณาเลือกพันธุไมใหเหมาะสมกับสถานที่ที่มีปริมาณแสงแตกตางกัน
7
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
4. ดิน (Soil)
ดินเปนวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จากการผุพัง สลายตัวของหินและแรตาง ๆ ผสม
คลุกเคลาเปนเนื้อเดียวกันกับอินทรียวัตถุที่เกิดจากการเนาเปอยของซากพืชหรือซากสัตวหรือ
ซากจุลินทรียในดิน รวมทั้งจุลินทรียที่ยังมีชีวิตและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ รวมกับน้ําและอากาศในสัดสวน
ที่ไมแนนอน แตกตางกันไปตามวัตถุตนกําเนิดดินทําใหเกิดเปนดินประเภทตาง ๆ เชน ดินรวน
ดินเหนียวและดินทราย ซึ่งพันธุไมสามารถนํามาใชในการเจริญเติบโตไดแตกตางกันตามชนิดของ
พันธุไม นอกจากนี้ดินยังชวยพยุงลําตนของพืชใหตั้งตรงเพื่อรับแสงอีกดวย สรุปไดวาดินที่เหมาะ
ตอการปลูกพันธุไมทั่ว ๆ ไป คือ ดินที่มีลักษณะรวนซุย ถายเทอากาศไดดี ระบายน้ําดี อุดมดวย
อินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืช
5. ความสูงของตนไม (Height)
เปนความสูงของตนไมเมื่อโตเต็มที่ตามธรรมชาติในสภาพแวดลอมปกติ ซึ่งจะมีความ
แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของพันธุไมอันมีผลตอการนําไปใชประโยชน สามารถแบงได ดังนี้
- ไมคลุมดินสูงไมเกิน 0.3 เมตร - ไมพุมเตี้ยสูงประมาณ 1.00 เมตร
- ไมพุมกลางสูงประมาณ 1.80 เมตร - ไมพุมสูงสูงประมาณ 3.00 เมตร
- ไมยืนตนขนาดเล็กสูงประมาณ 6.00 เมตร - ไมยืนตนขนาดกลางสูงประมาณ 15.00 เมตร
- ไมยืนตนขนาดใหญสูงเกิน 15 เมตรขึ้นไป - ไมเลื้อยทั่วไปสูงประมาณ 3.00 เมตร
ภาพที่ 4-1 เปรียบเทียบความสูงของตนไม
ที่มา : ดัดแปลงจาก ภูมิทัศนพื้นฐาน ของศศิยา ศิริพานิช,2554.
8
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
6. ขนาดของทรงพุม (Spacing)
เปนอาณาเขตที่พุมใบแผออก ทําใหตนไมแตละตนตองการเนื้อที่ที่เหมาะสมใน
การเจริญเติบโตแตกตางกัน การกําหนดตําแหนงที่ปลูกตนไมไดถูกตองจะทําใหตนไมไมเบียดแนน
เมื่อตนไมโตเต็มที่
ภาพที่ 4-2 แสดงขนาดของทรงพุมตนไม
ที่มา : ดัดแปลงจากหลักการจัดสวนเบื้องตนของเอื้อมพร วีสมหมาย, 2527.
7. การเจริญเติบโต (Rate of Growth)
ขนาดของตนไมและการเจริญเติบโตจะแสดงใหเห็นถึงลักษณะของตนไมซึ่งเปน
สิ่งมีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ และการเปลี่ยนแปลงนี้ขึ้นอยูกับที่อยูอาศัย ซึ่งจําเปนตองทราบ
ในการเลือกและจัดตนไมโดยคิดถึงสภาพตนไมเหลานี้ในระยะ 1 ป 5 ปหรือ 10 ปขางหนา
ก็เหมือนกับการปลูกไมดอกที่เราคาดไววาจะใหดอกอีกกี่เดือนขางหนา แตไมตนและไมพุมนั้น
กวาจะใหลักษณะทรงพุมที่สมบูรณเต็มที่ก็ใชเวลานานนับป ดังนั้นการวางแปลนสําหรับตนไมจึง
จําตองคิดถึงการเจริญเติบโตของตนไมดวยวาโตชา ปานกลางหรือเร็ว เพื่อจัดวางใหพอเหมาะและ
เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงแปลนภายหลัง
การใชตนไมในการจัดสวนที่มีขนาดโตมาก ๆ จะใชงบประมาณสูงจึงควรเลือกปลูก
ไมเล็กจะดีกวาเพราะจะเจริญเติบโตเร็วในเวลาไมกี่ป อีกทั้งไมชะงักการเจริญเติบโต เนื่องจาก
การเคลื่อนยายและการปลูก
9
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
8. รูปทรงตามธรรมชาติ (Natural Form)
เปนลักษณะรูปทรงพุมของตนไมเมื่อโตเต็มที่ตามธรรมชาติจะแตกตางกันไปตามชนิด
ของพันธุไม เชน ตนไทรมีรูปทรงพุมสี่เหลี่ยมผืนผา ตนจําปมีรูปทรงพุมกลมรี ตนสนแผงมี
รูปทรงพุมสามเหลี่ยม แตถาตนไมมีการตัดแตงหรือดัดแปลงอาจทําใหรูปทรงเปลี่ยนไปได ดังนั้น
รูปทรงตนไมอาจขึ้นอยูกับปจจัย 2 อยางคือ ลักษณะตามธรรมชาติของตนไมและลักษณะที่ปรับตัว
เนื่องจากสภาพแวดลอม ถาจะกลาวถึงลักษณะของตนไมจริง ๆ แลวตองทราบถึงตําแหนงที่ปลูก
และสภาพแวดลอมเพราะถึงแมตนไมจะเปนชนิดเดียวกันก็ตามลักษณะก็อาจจะแตกตางกัน
9. ลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุม(Texture of Foliage)
การเลือกลักษณะทรงพุมของตนไมแตละชนิดตองดูเรื่องความหยาบ ความละเอียดของ
ทรงพุม โดยการแบงแยกเรื่องผิวสัมผัสของพันธุไมจะใชสายตาเปนเครื่องกําหนด โดยดูจาก
สวนรวมของพุมใบ ถาใบฝอยเล็กก็ถือเปนผิวสัมผัสละเอียด เชน หญาญี่ปุน ถาใบใหญกวางก็ถือ
เปนผิวสัมผัสหยาบ เชน หูกวาง ทองหลาง เชน บริเวณริมน้ําตองการใหมีผิวสัมผัสละเอียดนุมนวล
ควรเลือกพันธุไมที่มีใบเล็กฝอยหรือยาว เชน หลิว นนทรี แปรงลางขวด บางครั้งตองการผิวสัมผัส
ที่หยาบเพื่อตัดกับตัวอาคารก็ควรเลือกพรรณไมที่มีใบหยาบ ใหญ เชน หูกวาง ทองหลาง
ภาพที่ 4-3 แสดงลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุมตนไม
ที่มา : ดัดแปลงจากหลักการจัดสวนเบื้องตนของเอื้อมพร วีสมหมาย, 2527.
10
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
10. สี (Color)
เรื่องของสีมีความจําเปนในการจัดแตงสวนเพื่อใหสวนมีเสนหและมีชีวิตชีวา เชน
สีของใบ สีของดอก ควรเลือกสีเปนกลุม ๆ เชน สีรอน ไดแก แดง เหลือง สมหรือ สีเย็นไดแก มวง
คราม น้ําเงิน เปนตน ใชพันธุไมที่มีใบหรือดอกที่มีสีนั้น
จุดที่ตองการความเดน สะดุดตาอาจใชสีสด ๆ ทามกลางสีเย็นหรือสีเขียวของใบไม
แตอยาทําจุดเดนใหมากเกินไป เพราะจะทําใหแขงกันในแตละจุด
ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน
การเลือกพันธุไมที่ใชในการจัดสวน ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการใชงาน ซึ่งจะแบงได
ดังนี้
1. ไมตน (Trees) เปนตนไมขนาดใหญที่มีอายุยืน มีเนื้อไม ความสูงตั้งแต 3 เมตรขึ้นไป
ใชเปนตนไมหลักในการจัดสวน มีหลายรูปแบบ มีหลายระดับ ทั้งใชใบประดับและใชดอกประดับ
เพื่อใชเปนไมใหรมเงา เปนแนวและขอบเขต ความเปนสัดสวน สงางาม เปนเสนนําสายตา สราง
ความรูสึกในทางสูงตัดกับความรูสึก
แบนราบของพื้นดิน ปองกันฝุน
ละออง เปนฉากหลังและเปน
จุดสนใจในที่โลง เชน กามปู
ชมพูพันธุทิพย แคแสด ราชพฤกษ
นนทรี ศรีตรัง ประดู หางนกยูงฝรั่ง
หรืออาจจะเปนไมผล เชน ขนุน
ชมพู มะมวง สาเก
ในการจัดสวน ไมตนมักใช
เปนไมหลักหรือเปนไมประธาน
ในการจัดสวน นิยมใชจํานวนคี่ใน
การจัดวางหรือการปลูก เชน 1, 3, 5
หรือ 7 ตน ทั้งนี้เพื่อไมใหดูตั้งใจหรือ ภาพที่ 4-4 ตนชมพูพันธุทิพย
หรือสมดุลจนเกินไปแตก็สามารถ ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,4 เมษายน 2553.
ปลูกเปนจํานวนคูไดเพราะนอกจาก
จะมีไมตนเปนจุดเดนแลว มักจะตองมีองคประกอบรองคือไมพุมหรือไมตนขนาดเตี้ย รวมถึง
กอนหิน ไมคลุมดิน เพื่อดึงสายตาจากบนลงลางและจากลางขึ้นบนโดยทั่วไป ไมตนจะมีการจัดวาง
อยูสองลักษณะ คือ เปนแนวเรียงแถวหนากระดานและเปนกลุมไมนิยมปลูกตนเดียวเพราะจะทําให
11
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ดูโดดเดี่ยว ในการเลือกพันธุไมตนมาปลูกจะตองคํานึงถึงความเปนเอกภาพและความสอดคลอง
กลมกลืน หมายความวาเราจะตองใชไมชนิดเดียวกันในกลุมนั้น ๆ หรือการใชไมตนคนละขนาดที่มี
ทั้งตนที่สูงและตนที่สูงรองลงมาเพื่อเปนจุดเดนรอง
2. ไมพุม (Shrubs) เปนตนไมที่มีลําตนตั้งตรงเปนอิสระ อาจมีเนื้อไมมักแตกกิ่งกานออกมา
ในระดับต่ําไมสูงจากพื้นมากนัก
รูปทรงเปนพุมตรงหรือสามารถ
ตัดแตงเปนพุมตาง ๆได เปนตนไม
รองจากไมตนในการจัดสวน มีความ
สูงหลายขนาดแตไมเกิน 3 เมตร เชน
ไมพุมเตี้ย ไมพุมกลางและไมพุมสูง
ใชปลูกเปนแปลง เปนแถวเพื่อนํา
สายตากําหนดขอบเขต เชน เข็มญี่ปุน
เทียนทอง หูปลาชอน ใชปลูกเปน
ฉากหลังในการจัดสวนขนาดเล็ก
เชน ยี่โถ ยี่เขง โมก ใชปลูกเปน ภาพที่ 4-5 ตนยี่โถ
ไมตัดแตงตามจุดตาง ๆ เชน ขอย ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ, 1 มกราคม 2553.
ไทรยอดทอง มะขามเทศดาง สน
ชาฮกเกี้ยน มักปลูกเปนแนวและมีความตอเนื่องกัน มีปริมาณมากกวาไมตน
3. ไมเถาเลื้อย (Vines) เปน
ตนไมที่เจริญเติบโตไดทุกทิศทาง
ไมสามารถทรงตัวอยูไดดวยตัวเอง
มีลักษณะเดนคือ ใหความออนชอย
บางชนิดมีใบสวยงามบางชนิดมีดอก
ที่มีรูปรางสีสันสวยงาม ดอกบาง
ชนิดจะตั้งขึ้น บางชนิดเปนชอหอย
ลง ทําใหบรรยากาศของสวนมีเสนห
ไมเลื้อยนิยมใชเปนรั้ว ทําซุมตนไม
ใหรมเงา เชน การเวก ชมนาด
บานบุรีเลื้อย พวงชมพู ภาพที่ 4-6 ตนพวงชมพู
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ, 3 พฤษภาคม 2553.
12
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
4. ไมคลุมดิน (Ground Covers) เปนตนไมที่มีตนเตี้ย มีคุณสมบัติเจริญเติบโตคลุมพื้นที่ได
รวดเร็ว มีความสูงจากพื้นดินไมเกิน 0.3 เมตร ใชประกอบไมชนิดอื่นเพื่อใหครบลักษณะ สูง กลาง
ต่ํา ใชแทนหญา ใชปกปดผิวหนาดินปดบังสวนโคนตนของไมพุมหรือไมตนใชปลูกเปนขอบ ปลูก
ตามที่ลาดชัน เพื่อปองกันการพังทลายของดิน เชน หญาตาง ๆ กระดุมทองเลื้อย แพรเซียงไฮ
ผักเปดเขียว ผักเปดแดง ฟาประดิษฐ
5. ไมน้ํา (Aquatic Plants) เปนไมที่สามารถเจริญเติบโตอยูในน้ําไดดี มีหลายชนิด เชนไมน้ํา
ที่รากหยั่งถึงดิน เชน กกธูป กกญี่ปุน บัว ไมน้ําที่รากลอยน้ํา เชน ผักบุง จอก ผักกระเฉด ผักตบชวา
แหน
ภาพที่ 4-7 ตนแพรเซียงไฮ ภาพที่ 4-8 ตนบัวผัน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,3 พฤษภาคม 2553.
การเลือกใชพันธุไมตาง ๆ ตามที่กลาวมาจะตองพิจารณาเลือกใหเหมาะสมกับสถานที่
ที่ตองการจัดสวน ถาเลือกไดถูกตอง จะทําใหการจัด ตกแตง ตลอดจนการดูแลรักษาสวน ทําไดงาย
สวนจะมีลักษณะสวยงามและอํานวยประโยชนในการใชสอยใหกับเจาของไดอยางดียิ่ง
การจัดตนไมใหเปนสวน
การจัดตนไมใหเปนสวนจะตองคํานึงถึงขอมูลหลายอยาง ทั้งความสวยงาม องคประกอบ
ตาง ๆ ภายในสวนและการจัดวางอยางมีศิลปะ
1. การจัดตนไมเปนพวกตามลักษณะการเจริญเติบโตของพันธุไม กลาวคือ ควรจัดตนไม
ที่ปลูกแลวสามารถเจริญเติบโตในสถานที่ที่เหมือนกัน เชน สวนที่อยูในที่รมควรจัดหาตนไมที่ปลูก
ในที่รมมาปลูกในสวน
2. การจัดตนไมที่มีลักษณะของผิวเหมือนกัน หรือแตกตางกันเพื่อเนนจุดเดนในสวน
3. การจัดตนไม ควรใหมีจังหวะเหลื่อมล้ํากันตามความเหมาะสมมีทั้งสูงกลางและต่ํา ไมควร
ใหมีระดับสูงเทากันทั้งหมด ตนไมทรงเตี้ยควรจะอยูดานหนา ตนไมทรงสูงควรจะอยูดานหลัง
13
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
4. การจัดตนไมไมควรปลูกโดดเดี่ยว เมื่อปลูกตนไมที่เปนไมประธานแลวควรจะปลูก
ไมพุม 2 หรือ 3 ตนและไมคลุมดิน เพื่อเปนเครื่องสงเสริมใหตนไมตนแรกมีความสําคัญหรือเดน
ยิ่งขึ้น การปลูกตนไมมักจะใชหลักการจัดเปนรูปสามเหลี่ยม
ภาพที่ 4-9 การวางไมประธาน 1 ตน ภาพที่ 4-10 การวางไมประธาน 3 ตน
ที่มา : จัดตนไมใหเปนสวน ของอรุณี วงศพนาสินและคณะ, 2546.
5. การปลูกตนไมตองคํานึงถึงความเกี่ยวเนื่องหรือเชื่อมโยงของตนไมตนหนึ่งหรือกลุม
หนึ่งไปยังอีกกลุมหนึ่ง สิ่งที่เชื่อมโยงหรือเกี่ยวเนื่องนี้อาจจะเปนเสนของลําธาร กรวด หลักไม เสนของ
ขอบหญาหรือเสนของไมพุมทรงเตี้ยหรือไมคลุมดินก็ได
6. การจัดตนไม ควรจัดใหมีหิน กรวด ตอไม กิ่งไมหรือวัสดุอื่น ๆ ประกอบเพื่อเพิ่ม
ความสวยงาม
14
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ภาพที่ 4-11 การจัดกลุมตนไมโดยใชหินและแผน ภาพที่ 4-12 การจัดตนไมมีจังหวะเหลื่อมล้ํา
ทางเดินเชื่อมกลุมตนไม สูงกลางและต่ํา มีหินประกอบสวน
ที่มา : จัดตนไมใหเปนสวน ของอรุณี วงศพนาสินและคณะ, 2546.
ตัวอยางการจัดกลุมของตนไมที่ปลูกรวมกันได
ไมประธาน ไมพุม ไมคลุมดิน
จันทนผา
(ตองการแสงแดด)
ลิ้นมังกร พลับพลึงตีนเปด
เข็มสามสี ไทรทอง โกสน
เทียนทอง การะเกดหนู
ดาดตะกั่ว ผกากรอง
เฟนใบมะขาม ผักโขมแดง
เฟองฟาตอ
(ตองการแสงแดด)
เทียนทอง กําแพงเงิน
พยับหมอก ผักโขมแดง
ผกากรอง วานสี่ทิศ แอหนัง
ฟาประดิษฐ ดาดตะกั่ว
เข็มพิษณุโลก
ขอยดัด ตะโกดัด
(ตองการแสงแดด)
ชาฮกเกี้ยนตัดพุมกลม
เทียนทอง ขาวตอกพระรวง
ลิ้นกระบือ วานสี่ทิศ
เข็มพิษณุโลก ฟาประดิษฐ
ดาดทับทิม กามปูหลุด
บุษบาฮาวาย
สนมังกร
(ตองการแสงแดด)
เทียนทอง ชาฮกเกี้ยน พัดโบก
เอื้องทอง ไทรเลื้อยใบกลม
สนสามรอยยอด เข็มเชียงใหม
ลิ้นกระบือ
ผกากรองขาวเหลือง แอหนัง
หลิวไตหวัน วานสี่ทิศดาง
ผักโขมแดง กําแพงเงิน
บานเชาสีนวล เข็มพิษณุโลก
เวอรบีนา
15
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ไมประธาน ไมพุม ไมคลุมดิน
หมากแดง
(ตองการแสงแดดถึงแดดรําไร)
หมากผูหมากเมีย จั๋งไทย
คลามาลาย คลากาเหวาลาย
คลาเสนหขุนแผน กลวยดาง
ซุมกระตาย เศรษฐีไซงอน
ดาดตะกั่ว เฟนบอสตัน
เฟนกางปลา กามปูหลุด
พุดจีบ
(ตองการแสงแดดถึงแดดรําไร)
เดหลีใบกลวย ลิ้นกระบือ
สังกรณี เหลืองคีรีบูน หลิวใบ
คลามาลาย
หลิวไตหวัน ดาดตะกั่ว
เศรษฐีเรือนนอก
หนวดปลาดุกแคระ
โมก
(ตองการแสงแดดถึงแดดรําไร)
ชองนาง พุดซอนแคระ
พุดตะแคง ประยงค สังกรณี
หมากผูหมากเมีย สับปะรดสี
เหลืองคีรีบูน ลิ้นกระบือ
เฟนบอสตัน ดาดตะกั่ว
เวอรบีนา หลิวไตหวัน
กําแพงเงิน เศรษฐีเรือนนอก
ผีเสื้อราตรี
สรอยกัทลี
(ตองการแสงแดดรําไร)
กามกุง หมากผูหมากเมีย
กามกุงแคระ แดงซีลอน คลา
มะเดหวี ขิงดาง เดหลีใบกลวย
ดาดตะกั่ว กาบหอยแครง
กามปูหลุด ออมเงิน ออมทอง
หลิวใบ หลิวไตหวัน
วาสนา
(ตองการแสงแดดรําไร)
หมากผูหมากเมีย เดหลีใบมัน
สังกรณี ไผฟลิปปนสดาง
ฟโลทอง พลับพลึงดาง
มรกตแดง สรอยระยา
เฟนใบมะขาม พลับพลึงหนู
เศรษฐีเรือนนอก พลูดาง
เศรษฐีเรือนใน พลูทอง
หมากเขียว
(ตองการแสงแดดรําไร)
หนวดปลาหมึกแคระ เข็มมวง
จั๋งไทย ลิ้นกระบือ สังกรณี
หมากผูหมากเมีย เอื้องหมายนา
กาบหอยแครงแคระ ดาดตะกั่ว
บุษบาฮาวาย การะเกดหนู
ผักโขมแดง หลิวไตหวัน
ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม
สิ่งที่ทําใหราคาตนไมมีการเปลี่ยนแปลงในการซื้อขาย สามารถแบงไดงาย ๆดังนี้
1. จํานวนตนที่ซื้อในแตละครั้ง ถาซื้อครั้งละมาก ๆ ก็จะไดราคาถูก โดยเฉพาะลูกคาประจํา
ก็จะไดในราคาพิเศษ
2. ภาชนะปลูก ถาปลูกในถุงดําราคาจะถูกกวากระถาง ขนาดของกระถางและชนิดของ
กระถางจะสงผลใหราคาของตนไมนั้น ๆ ตางกัน
3. ขนาดของตนไมตนไมที่มีขนาดใหญแข็งแรงยอมขายไดในราคาที่แพงกวาตนที่มีขนาด
เล็ก หรือไมบางชนิด ความสูงของตนก็จะเปนตัวกําหนดราคา
16
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
4. ฤดูกาลและเทศกาลโดยเฉพาะในชวงฤดูฝนและเทศกาลปใหมราคาของตนไมจะสูงกวา
ปกติเล็กนอย เนื่องจากเปนชวงที่ตองการไมในการประดับตกแตง
วัสดุตกแตงสวน
วัสดุที่ใชประกอบการตกแตงสวนนั้นมีมากมายหลายอยาง อาจเปนวัสดุตามธรรมชาติหรือ
เปนวัสดุที่มนุษยสรางขึ้น นิยมใช หิน ตอไม ไฟในสวน รูปปนตาง ๆ กระถาง อางบัวรวมถึง
ทางเดิน รั้ว ศาลาและเฟอรนิเจอรสนาม เปนตน เพราะเมื่อนํามาประกอบสวนแลวทําใหสวน
มีความสวยงามทําใหบริเวณสวนดูนาสนใจมากกวาเดิมแตการเลือกใชนั้นตองพิจารณาประกอบกับ
พันธุไมที่เลือกปลูกใหเขากันดวย เชน หิน เหมาะกับไมดัด อากาเว จันทนผา ปรง สน ปาลม สวน
ตอไมเหมาะกับเฟน กลวยไม บรอมมีเลียดหรือสับปะรดสี
1. หิน เปนวัสดุที่นิยมนํามาใชในการจัดสวน เพราะทําใหสวนดูสนุกมีเรื่องราวและจัดวาง
พันธุไมไดงาย การใชหินประกอบการจัดสวนนั้นมีหลักการงาย ๆ เพื่อใหจัดไดอยางถูกตองดังนี้คือ
1) เลือกหินชนิดเดียวกัน สีเดียวกันในสวน
2) ควรฝงหินลงในดิน 1/3 เพราะจะทํา ใหมองดูเปนธรรมชาติ
3) อยาตกแตงหินดวยการตอเติมทําลายหรือทาสี
การใชหินในการจัดสวนนิยมใชหินอยางนอย 3 กอน ในสวนหนึ่ง ๆ จึงจะมองดูสวยงาม
และ 3 กอนนี้ตองมีขนาดโตที่สุดไมตํ่ากวา 1.00 เมตร เพราะเมื่อวางและปลูกพันธุไมหรือหญาแลว
ขนาดก็จะลดลง เมื่อพันธุไมเติบโตขึ้นก็จะบังกอนหินไปมาก เพราะฉะนั้นขนาดของกอนหินจึงตอง
ใหญพอสมควร จึงจะมองดูสวยงามไมหลอกตา เมื่อมองภาพรวมของสวน
ลักษณะของการเลือกหิน 3 กอนในการจัดสวนคือ
เพื่อที่จะวางในแนวตั้งเปนประธานของกลุม
หินรูปทรงเอนเพื่อวางเปนระดับที่2
หินรูปทรงแบนเพื่อวางเปนระดับที่3
ภาพที่ 4-13 แสดงการวางหินแบบตางๆ
ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540.
17
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ในการเลือกซื้อหินควรพิจารณาใหไดรูปทรงตามที่ตองการ เลือกหินใหมีลักษณะโคงเวาไป
มาจะดีกวาหินที่มีแนวเสนตรงเยอะ ๆ เพราะจะทําใหจัดรวมกับหินอื่นไดลําบาก
ภาพที่ 4-14 ลักษณะหินที่ควรเลือกซื้อ
ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540.
ภาพที่ 4-15 ตัวอยางการจัดหิน
ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540.
วิธีการวางหิน
การวางหินจัดสวนนั้นตองมีหลักเกณฑพอสมควร มิฉะนั้นหินที่วางจะดูกระจัดกระจาย
ไมรับกันกับตนไมหรือกลุมหินดวยกันเอง ซึ่งการวางหินนั้นจะดูตรงตําแหนงเปนสําคัญกอน
ตําแหนงนั้นตองเปนจุดเดนรวมกับกลุมไมประธาน ถามีหินอีกกลุมหนึ่งก็จะรวมกับไมรองประธาน
และระหวาง 2 กลุม อาจมีกอนหินบางประปราย แลวแตความเหมาะสม การวางหินจริง ๆ แลว
จะตองมองดู 3 สวน คือ
18
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
สวนที่ 1 ดูที่แปลนของหิน 1 เมื่อนําหิน 2 หรือ 3 กอนมาประกบกันตองใหเสนรอบนอก
ของหิน 2 กอน รับกันโดยที่เราจะตองหมุนหามุมที่รับกันใหได ถามุมไมรับกันจะมองดูเหมือน
กระจัดกระจายตางคนตางอยู หรือเกิดความขัดแยงในเรื่องของเสน มีลักษณะที่เสนทิ่มแทงกันเอง
ไมสัมพันธกัน
ภาพที่ 4-16ตัวอยางการวางหิน
ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540.
สวนที่ 2 ดูแนวเสนพลังของหินซึ่งอยูที่สันของหัวกอนหินเมื่อนําหิน 2 กอน หรือ 3 กอนมา
จัดรวมกัน ตองใหแนวเสนพลังตอเนื่องกันดวยจึงจะดูงดงามเมื่อมองจากดานขาง
ภาพที่ 4-17 แนวเสนพลังของกอนหิน
ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540.
เมื่อจัดหินเปนกลุม 3 กอน 5 กอน 7 กอนหรือ 9 กอนก็ตาม ตองใหแนวเสนพลังของกลุม
หินเหลานี้ตอเนื่องกัน ถามีจังหวะเวนก็ตองไมหางเกินไป จนหาความสัมพันธกันไมได
2
19
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ภาพที่ 4-18 ตัวอยางการจัดหินเปนกลุม
ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540.
การจัดหิน 3 กอนไมควรจัดหินในลักษณะเปนสามเหลี่ยมดานเทาเพราะจะมองดูเทากัน
สมํ่าเสมอเกินไป ควรจะใหกอนหินที่ 1 ลงมาที่กอนที่ 2 และกอนที่ 2 ลงมาที่กอนที่ 3 โดยให 2 หาง
จาก 1 พอสมควร 3 ควรอยูใกล 2 มากกวา สวนระยะจาก 1 ไป 2 นอยกวา 2 ไป 3
กลุมหิน 5 กอนนั้น จัดโดยใชหิน 3 กอน
และ 2 กอน โดยใหหิน 2 กอน หางจากหิน 3 กอน
เล็กนอย ใหมีจังหวะการสงตอจาก 3 ไป 4 และ 5
ในลักษณะซิกแซก จึงจะสวยงามมากกวาเปนแนวตรง
ภาพที่ 4-19 ตัวอยางการวางหิน5 กอน
ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน
ของอลิศรา มีนะกนิษฐ,2540.
20
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ภาพที่ 4-20 การใชหินเปนวัสดุตกแตงสวน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
2. แผนทางเทา สวนหลาย ๆ แหงจําเปนตองมีทางเทาประกอบเพื่อใหคนเขามาใชสวน
ไมเดินเหยียบย่ําสนามหญาอันจะทําใหหญาตายได วัสดุที่นํามาใชทําแผนทางเทามีหลายอยางแต
ควรเลือกวัสดุที่มีสีและพื้นผิวดูเปนธรรมชาติ เชน อิฐมอญ ศิลาแลง หินกาบ หินทราย ใหเหมาะ
กับสวนแตไมควรมีมากจนดูรก สวนการวางแผนทางเทา ควรวางยกระดับจากสนามหญาประมาณ
2-3 เซนติเมตร เพื่อปองกันน้ําทวมขังและหญาเลื้อยมาปกคลุม
ภาพที่ 4-21การวางแผนทางเทา
ที่มา : จัดตนไมใหเปนสวน ของอรุณี วงศพนาสินและคณะ, 2546.
21
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ภาพที่ 4-22 การใชแผนทางเทาเปนวัสดุตกแตงสวน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
3. ตอไม ตอไมหรือซากไมแหงที่ใชประกอบในการจัดสวนนั้นควรใชตอไมเนื้อแข็ง
เพราะจะไมผุเปอยไดงายตอไมที่นิยมใชจะมี2 ลักษณะ คือ
1) รากไม
2) ตนไมเนื้อแข็งทั้งตนที่ถูกตัดมาเพื่อตั้งวางและใชตนไมประดับ
ตนไมที่นิยมใชประดับตอไม สวนใหญจะเปน กลวยไม เฟน บรอมมีเลียด ซึ่งตําแหนง
ตอไมเหลานี้ควรจะไดรับแสงสวาง 30-50% ในชวงเชาก็พอ มิฉะนั้นตนไมดังกลาวจะอาศัยอยูบน
ตอไมไมไดเพราะรอนเกินไป ตองรดนํ้าและใหปุยสมํ่าเสมอจึงจะสวยงาม
ภาพที่ 4-23 การใชตอไมเปนวัสดุตกแตงสวน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,5 ธันวาคม 2552.
22
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
4. ตะเกียงหิน ตะเกียงหินสําเร็จรูปมีขายหลายแบบที่สําคัญคือ เลือกขนาดใหพอเหมาะกับ
ขนาดของสวนและใหมีลักษณะเขากันได สวนตําแหนงที่วางตะเกียงหินนั้นจะวางดานหนาสวน
คอนไปทางซายหรือขวาโดยรวมอยูกับกลุมตนไมรองประธานอยาวางโดด ๆ อยูกลางสนามหญา
เพราะจะมองดูขัดตาไมรวมกับจุดอื่น ๆ ลักษณะของตะเกียงหินควรใหรับกับรูปแบบของตนไมและ
สวนดวย
5. ไฟในสวน ไฟบริเวณสวนนั้นนิยมใชไฟเตี้ยมากกวาสูงเพราะจะไดไมบังสายตาและนิยม
วางดานหนาของสวนหยอมบางครั้งตะเกียงหินก็จะใสไฟเขาไปขางในทําใหไมตองใชไฟแบบทั่ว ๆ
ไป การติดตั้งไฟในสวนนั้นมีจุดหมายเพื่อ
1) เพิ่มเวลาพักผอนภายในสวนใหมากขึ้น
2) เพื่อใหความปลอดภัยและอบอุนใจในการใชสวนในเวลากลางคืน
3) เพื่อใหเกิดผลเปนพิเศษ เชน ใหแสงสี แสงเงาของตนไมและบาน
ภาพที่ 4-24 การใชไฟในสวนเปนวัสดุตกแตงสวน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
6. รูปปน ที่ใชในสวนควรเลือกใหเขากับสวนอาจทําดวยไมแกะสลักจะมองดูกลมกลืน
กับสวน ถาเปนรูปปนแบบปูนปนสีขาว ก็รับกับสวนแบบประดิษฐไดดี รูปปนไม เชน รูปสัตว
รูปคน ก็วางประกอบสวนไดโดยไมตองทาสี ใหมีลักษณะเนื้อไมแบบธรรมชาติ จะสวยงามกวา
ทาแลคเกอรสีตาง ๆ รูปปนที่เปนเซรามิคหรือหินทรายก็นํามาประกอบสวนไดสวยงาม
23
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ภาพที่ 4-25 การใชรูปปนเปนวัสดุตกแตงสวน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
7. เฟอรนิเจอรสนาม ที่ใชในสวนมีทั้งเกาอี้ โตะ ถังขยะและเครื่องเลนสําหรับเด็ก เปนตน
มีใหเลือกหลายอยาง หลายแบบทั้งที่เคลื่อนที่ไดและเคลื่อนที่ไมได ขึ้นอยูกับความตองการของ
เจาของสวน การเลือกใชใหเหมาะกับแบบสวนและงบประมาณ
ภาพที่ 4-26 เฟอรนิเจอรสนามเปนวัสดุตกแตงสวน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
24
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ภาพที่ 4-27 วัสดุตกแตงสวน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
ตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน
1. ไมตน (Trees) นิยมใชเปนไมประธานในการจัดสวน
กันเกรา กัลปพฤกษ แคแสด
ภาพที่ 4-28 พันธุไมตน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
25
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
จามจุรี จําป นนทรี
ตะแบก ตีนเปดน้ํา ประดูแดง
เลี่ยน ปบ ปบทอง
มะเดื่อ หางนกยูงฝรั่ง หูกระจง
ภาพที่ 4-29 พันธุไมตน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
26
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
รัตมา กระทิง สาละลังกา
กระถินณรงค อโศกน้ํา เหลืองปรีดีญาธร
แปรงลางขวด สุพรรณิการดอกซอน พญาสัตบรรณ
คูน สําโรง เตาราง
ภาพที่ 4-30 พันธุไมตน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
27
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
2. ไมพุม (Shrubs) นิยมใชเปนไมรองในการจัดสวน
กุหลาบ เข็มพิษณุโลก เข็มปตตาเวีย
เล็บครุฑใบดาง หูปลาชอน ทิวา
ชบา ชวนชม ชองนาง
โมก โกสน แกว
ภาพที่ 4-31 พันธุไมพุม
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
28
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ฟาประทานพร หมากผูหมากเมีย เทียนทอง
ชาฮกเกี้ยน ทานตะวัน รักแรกพบ
สาวนอยปะแปง จั๋ง สโนดรอป
ใบทอง ใบนาค มะขามเทศดาง
ภาพที่ 4-32 พันธุไมพุม
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
29
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
3. ไมคลุมดิน (Ground Covers) นิยมใชเปนไมที่อยูริมนอกสุดของแปลงในการจัดสวน
ผกากรองเลื้อย เศรษฐีเรือนนอก เศรษฐีเรือนใน
มหากาฬเลื้อย ผีเสื้อราตรี ดาดตะกั่ว
เวอรบีนา กระดุมทอง ดาหลเบิรกเดซี่
ริบบิ้นชาลี ริบบิ้นแดง ริบบิ้นเขียว
พรมออสเตรเลีย พรมกํามะหยี่ พรมลาย
ภาพที่ 4-33 พันธุไมคลุมดิน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
30
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
ฟาประดิษฐ กามปูหลุด บิโกเนีย
เฟนใบมะขาม เฟนสีทอง เฟนกนกนารี
เปปเปอรโรเมีย วานกาบหอย ลายนกกระทา
หูเสือ สับปะรดสี ลายเบญจรงค
วาสนาราชินี หนวดปลาดุกแคระ ชาลีเบบี้
ภาพที่ 4-34 พันธุไมคลุมดิน
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
31
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
4. ไมเลื้อย (Vines) นิยมใชเปนไมที่อยูดานหลังสวนหรือปลูกใหเลื้อยทําหลังคา
พวงคราม สรอยฟา หมวกจีน
มานบาหลี โฮยา โนรา
อัญชัน มังกรคาบแกว กระดังงา
มาลัยทอง หางกระรอกนอย หนวดพราหมณ
ภาพที่ 4-35 พันธุไมเลื้อย
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
32
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
เกล็ดอีแปะดาง บานบุรีสีมวง พวงแกวกุดั่น
สายหยุด ลิปสติก ชมนาด
พลูฉีก พลูฉลุ กระเทียมเถา
พลูดาง เดฟ มะลุลี
ภาพที่ 4-36 พันธุไมเลื้อย
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
33
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
5. ไมน้ํา (Aquatic Plants) นิยมใชในการจัดสวนน้ํา
แวนแกว บัวหลวง แหน
บัวกระดง บัวผัน จอก
เตย กก ลําเจียก
คลาน้ํา บัวบาดอกเหลือง อเมซอน
ภาพที่ 4-37 พันธุไมน้ํา
ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
34
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6
เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน
คําชี้แจง ใหนักเรียนจับคูความสัมพันธระหวางขอความใหถูกตอง โดยนําขอความที่กําหนดใหใส
ในชองวางหนาขอความ ขอ 1-10 จํานวน 10 ขอ จํานวนคะแนน 10 คะแนน
อุณหภูมิ น้ํา ความสูงของตนไม สี
ขนาดของทรงพุม ดิน ผิวสัมผัสของทรงพุม แสง
รูปทรงตามธรรมชาติ ไมน้ํา การเจริญเติบโต ไมพุมสูง
ไมเถาเลื้อย ไมพุมกลาง ไมตนขนาดเล็ก ไมพุมเตี้ย
ไมตนขนาดใหญ ไมคลุมดิน ไมตนขนาดกลาง
1. ..................................... ทําใหสวนมีเสนหและมีชีวิตชีวา
2. ..................................... อาณาเขตที่พุมใบของพันธุไมแผออก
3. ..................................... ใชสายตาเปนเครื่องกําหนดลักษณะของพันธุไม
4. ..................................... เดซี่ ดาดตะกั่ว ฟาประดิษฐ
5. ..................................... แวนแกว จิก อเมซอน
6. .................................... ชมนาด โนรา พวงชมพู
7. ..................................... พันธุไมสูงประมาณ 100 เซนติเมตร
8. ..................................... พันธุไมสูงประมาณ 6 เมตร
9. ..................................... การเปลี่ยนแปลงของพันธุไมเมื่อเวลาเปลี่ยนไป
10. ................................... ลักษณะของตนไมเมื่อโตเต็มที่สามารถบอกสัณฐาน ชื่อหรือตระกูล
กิจกรรมที่ 1
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat
Pulsawat

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
Plan2
Plan2Plan2
ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่Somnuek Chansetthee
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
ssuser21a057
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...Nattapon
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้Suhaiming Lotanyong
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
Saranda Nim
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
narinchoti
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
tanongsak thongyod
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพpeter dontoom
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556
Kapook Bank
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
Learning supervision 64.1
Learning supervision 64.1Learning supervision 64.1
Learning supervision 64.1
peter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
ชื่อโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
คอมคอม
คอมคอมคอมคอม
คอมคอม
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
Learning supervision 64.1
Learning supervision 64.1Learning supervision 64.1
Learning supervision 64.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 

Viewers also liked

001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
Duangnapa Inyayot
 
ขยายพันธุ์พืช
ขยายพันธุ์พืชขยายพันธุ์พืช
ขยายพันธุ์พืช
Krupoonsawat
 
ใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวดใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวด
พจน์ มูลถวิล
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5kessara61977
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7chunkidtid
 
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมkroojaja
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของkessara61977
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
Aopja
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (11)

001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
 
ขยายพันธุ์พืช
ขยายพันธุ์พืชขยายพันธุ์พืช
ขยายพันธุ์พืช
 
ใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวดใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวด
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 

Similar to Pulsawat

002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
sopa sangsuy
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
sopa sangsuy
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
sopa sangsuy
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
Aphitsada Phothiklang
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
sitharukkhiansiri
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22
P Jariya P Niyomphong
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา
jariya6 niyomphong
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 

Similar to Pulsawat (20)

002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
M4
M4M4
M4
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา22
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน จริยา
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 

More from Krupoonsawat

Asexual
AsexualAsexual
Asexual
Krupoonsawat
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 
การปลูกชวนชม
การปลูกชวนชมการปลูกชวนชม
การปลูกชวนชมKrupoonsawat
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
Krupoonsawat
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
Krupoonsawat
 
บทคัดย่อVd
บทคัดย่อVdบทคัดย่อVd
บทคัดย่อVd
Krupoonsawat
 

More from Krupoonsawat (6)

Asexual
AsexualAsexual
Asexual
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
การปลูกชวนชม
การปลูกชวนชมการปลูกชวนชม
การปลูกชวนชม
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
บทคัดย่อVd
บทคัดย่อVdบทคัดย่อVd
บทคัดย่อVd
 

Pulsawat

  • 1.
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240 การจัดสวน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เลมที่ 4 เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน โดย พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช ตําแหนงครู วิทยฐานะครูชํานาญการ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนบางลี่วิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต9
  • 3. ก เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30240 การจัดสวน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 กลุมสาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทําขึ้นใหสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และตามโครงสรางหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิตและรูเทาทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพและเทคโนโลยีมาใชประโยชน ในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรคและแขงขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ รักการทํางานและมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได อยางพอเพียงและมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30240 การจัดสวน ชุดนี้มีจํานวน 9 เลม ซึ่งเอกสาร ประกอบการเรียน เลมที่ 4 เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวนนี้ มีเนื้อหาประกอบดวย การเลือกพันธุไม ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน การจัด ตนไมใหเปนสวน ตัวอยางกลุมของตนไมที่เขากันได ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม วัสดุตกแตงสวน และตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน เอกสารประกอบการเรียนผูจัดทําไดนําเสนอตัวอยางพันธุไมที่ใชในการจัดสวนดวยรูปภาพ สวยงาม ชัดเจน เพื่อใหนักเรียนและผูที่สนใจไดรูจักและเขาใจลักษณะของพันธุไมมากยิ่งขึ้นและ ชี้ใหเห็นถึงการนําพันธุไมแตละพันธุไปใชประโยชนในการจัดสวน โดยมีกิจกรรมทบทวนความรู ใหนักเรียนไดฝกทํากิจกรรมในตอนทายเลม ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้จะอํานวยประโยชนแกนักเรียน ครูและผูที่สนใจศึกษาไดเปนอยางดี พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช คํานํา
  • 4. ข เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เรื่อง หนา คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ง คําชี้แจง ฉ คําแนะนําในการใชเอกสารประกอบการเรียน 1 ผลการเรียนรู 2 สาระการเรียนรู 2 แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 3 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 6 การเลือกพันธุไม 6 ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม 6 ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน 10 การจัดตนไมใหเปนสวน 12 ตัวอยางการจัดกลุมตนไมที่เขากันได 14 ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม 15 วัสดุตกแตงสวน 16 ตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน 24 กิจกรรมทบทวนความรู เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 34 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 37 บรรณานุกรม 40 ภาคผนวก 42 กระดาษคําตอบ เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 43 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 44 แนวคําตอบกิจกรรมทบทวนความรู เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 45 เกณฑการใหคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรู กิจกรรมที่2 49 เกณฑการใหคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรู กิจกรรมที่3 49 สารบัญ
  • 5. ค เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เรื่อง หนา เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 50 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรมประกอบเอกสารประกอบการเรียน 51 แบบบันทึกคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนเอกสารประกอบการเรียน 52 แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมประกอบเอกสารประกอบการเรียน 53 สารบัญ (ตอ)
  • 6. ง เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 ภาพ หนา ภาพที่ 4-1เปรียบเทียบความสูงของตนไม 7 ภาพที่ 4-2แสดงขนาดทรงพุมของตนไม 8 ภาพที่ 4-3แสดงลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุมตนไม 9 ภาพที่ 4-4ตนชมพูพันธุทิพย 10 ภาพที่ 4-5ตนยี่โถ 11 ภาพที่ 4-6ตนพวงชมพู 11 ภาพที่ 4-7ตนแพรเซียงไฮ 12 ภาพที่ 4-8ตนบัว 12 ภาพที่ 4-9การวางไมประธาน 1 ตน 13 ภาพที่ 4-10การวางไมประธาน 3 ตน 13 ภาพที่ 4-11การจัดกลุมตนไมโดยใชหินและแผนทางเดินเชื่อมกลุมตนไม 14 ภาพที่ 4-12การจัดตนไมมีจังหวะเหลื่อมล้ํา สูง กลางและต่ํา มีหินประกอบสวน 14 ภาพที่ 4-13แสดงการวางหินแบบตาง ๆ 16 ภาพที่ 4-14ลักษณะหินที่ควรเลือกซื้อ 17 ภาพที่ 4-15ตัวอยางการจัดหิน 17 ภาพที่ 4-16ตัวอยางการวางหิน 18 ภาพที่ 4-17แนวเสนพลังของกอนหิน 18 ภาพที่ 4-18ตัวอยางการจัดหินเปนกลุม 19 ภาพที่ 4-19ตัวอยางการวางหิน5 กอน 19 ภาพที่ 4-20การใชหินเปนวัสดุตกแตงสวน 20 ภาพที่ 4-21การวางแผนทางเทา 20 ภาพที่ 4-22การใชแผนทางเทาเปนวัสดุตกแตงสวน 21 ภาพที่ 4-23การใชตอไมเปนวัสดุตกแตงสวน 21 ภาพที่ 4-24การใชไฟในสวนเปนวัสดุตกแตงสวน 22 ภาพที่ 4-25การใชรูปปนเปนวัสดุตกแตงสวน 23 ภาพที่ 4-26เฟอรนิเจอรสนามเปนวัสดุตกแตงสวน 23 สารบัญภาพ
  • 7. จ เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 ภาพ หนา ภาพที่ 4-27วัสดุตกแตงสวน 24 ภาพที่ 4-28พันธุไมตน 24 ภาพที่ 4-29พันธุไมตน 25 ภาพที่ 4-30พันธุไมตน 26 ภาพที่ 4-31พันธุไมพุม 27 ภาพที่ 4-32พันธุไมพุม 27 ภาพที่ 4-33พันธุไมคลุมดิน 29 ภาพที่ 4-34พันธุไมคลุมดิน 30 ภาพที่ 4-35พันธุไมเลื้อย 31 ภาพที่ 4-36พันธุไมเลื้อย 32 ภาพที่ 4-37พันธุไมน้ํา 33 สารบัญภาพ (ตอ)
  • 8. ฉ เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30240 การจัดสวน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 กลุมสาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชุดนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักเรียน ครูและ ผูที่สนใจไดศึกษาหาความรู ทําความเขาใจเกี่ยวกับการจัดสวนและไดฝกทักษะในการจัดสวนเพราะ เอกสารประกอบการเรียนแตละเลมไดนําเสนอองคความรูอันเปนแนวทางในการจัดสวนอยางงาย ๆ โดยอธิบายวิธีการใชเอกสารประกอบการเรียนไวอยางชัดเจน ตามลําดับดังนี้ เอกสารประกอบการเรียน เลมที่1 เรื่อง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการจัดสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่2 เรื่อง การจําแนกประเภทของการจัดสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่3 เรื่อง หลักทั่วไปในการออกแบบจัดสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่4 เรื่อง การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่5 เรื่อง เครื่องมือและสัญลักษณในการออกแบบจัดสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่6 เรื่อง ขั้นตอนในการออกแบบจัดสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่7 เรื่อง การประเมินราคาจัดสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่8 เรื่อง ขั้นตอนการจัดสวน เอกสารประกอบการเรียน เลมที่9 เรื่อง การดูแลสวนใหม รักษาสวนเกา 2. เอกสารประกอบการเรียนแตละเลมประกอบดวย คําแนะนําในการใชเอกสาร ประกอบการเรียน ผลการเรียนรู สาระการเรียนรู แบบทดสอบกอนเรียน เนื้อหาในเอกสาร ประกอบการเรียน กิจกรรมทบทวนความรู แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรมและภาคผนวก ซึ่งประกอบดวยกระดาษคําตอบ เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน แนวคําตอบกิจกรรมทบทวนความรู เกณฑการใหคะแนน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม แบบบันทึกคะแนน กอนเรียนและหลังเรียนและแบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม กอนทําการศึกษานักเรียนควร อานคําชี้แจงในการใชเอกสารประกอบการเรียนแตละเลมใหเขาใจ 3. เมื่อนักเรียนรับเอกสารประกอบการเรียนจากครูแลว อานคําสั่งใหเขาใจ จากนั้นปฏิบัติ กิจกรรม ในแตละขั้นตอนอยางเครงครัดเปนรายบุคคล เมื่อทําเสร็จแลวใหเก็บรวบรวมคืนครู ทุกครั้งในแตละชั่วโมง คําชี้แจง
  • 9. 1 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เอกสารเลมนี้เปนเอกสารที่ใชประกอบการเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถใชศึกษาดวยตนเอง จากการอานคําแนะนําการใชและคําชี้แจงในกิจกรรม รายวิชา ง30240 การจัดสวน เรื่อง การเลือก พันธุไมและวัสดุตกแตงสวน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. อานผลการเรียนรูและสาระการเรียนรูใหเขาใจ 2. ทําแบบทดสอบกอนเรียนจํานวน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบ เพื่อวัดความรูพื้นฐาน 3. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240 การจัดสวน เรื่อง การเลือกพันธุไม และวัสดุตกแตงสวน 4. ทํากิจกรรมทบทวนความรูทายบทเรียน ลงในกระดาษคําตอบ 5. ตรวจคําตอบเพื่อวัดผลการเรียนรู 6. ถาตอบผิดควรกลับไปศึกษาเนื้อหาใหมอีกครั้ง 7. ทําแบบทดสอบหลังเรียนจํานวน10 ขอ 8. ตรวจคําตอบเพื่อวัดผลการเรียนรู 9. สรุปผลคะแนนที่ไดลงในกระดาษคําตอบ ในการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนและปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรูทายบทเรียน ขอความรวมมือใหนักเรียนทุกคนมีความซื่อสัตย รับผิดชอบตอตนเอง ศึกษาเอกสารประกอบการ เรียนและปฏิบัติกิจกรรมทบทวนความรูทายบทเรียนดวยตนเองและไมตรวจคําตอบกอนที่จะทํา กิจกรรมเสร็จ
  • 10. 2 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 1. อธิบายปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม 2. เลือกพันธุไมในการจัดสวน 3. เลือกวัสดุตกแตงสวน 1. การเลือกพันธุไม 1.1 ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม 1.2 ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน 1.3 การจัดตนไมใหเปนสวน 1.4 ตัวอยางการจัดกลุมของตนไมที่ปลูกรวมกันได 1.5 ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม 2. วัสดุตกแตงสวน 3. ตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน
  • 11. 3 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน คําชี้แจง : 1. แบบทดสอบมีจํานวน 10 ขอ จํานวนคะแนน 10 คะแนน ใชเวลา10 นาที 2. จงเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียวแลวเขียนอักษรหนาขอที่ถูกใสลงใน กระดาษคําตอบ 1. ขอใด ไมใช ปจจัยในการเลือกพันธุไมสําหรับใชในการจัดสวน ก. อุณหภูมิ น้ํา แสง ดิน ข. ความสูงของตนไม ขนาดทรงพุม ค. การเจริญเติบโตและรูปทรงของตนไม ง. ลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุม วิธีการขยายพันธุ 2. ขอใดกลาวถึงการเลือกพันธุไมเพื่อใชในการจัดสวนไมถูกตอง ก. ไมพุมสูงประมาณ 3.00 เมตร เชน โกสน ควรปลูกเปนแปลง ข. ไมเลื้อยสูงประมาณ 3.00 เมตร เชน พวงชมพูนิยมปลูกเปนรั้ว ค. ไมคลุมดินสูงไมเกิน 0.3 เมตร เชน ดาดตะกั่ว ควรปลูกไวดานหนา ง. ไมตนควรสูงมากกวา6.00 เมตร เชน ยี่โถ ควรปลูกเปนกลุม3 ตน 3. พันธุไมในขอใดนิยมปลูกริมน้ํา ก. หลิว แปรงลางขวด เพราะมีผิวสัมผัสละเอียด นุมนวล ข. หูกวาง ทองหลาง เพราะมีผิวสัมผัสละเอียด นุมนวล ค. หลิว แปรงลางขวด เพราะมีผิวสัมผัสหยาบ เขมแข็ง ง. หูกวาง ทองหลาง เพราะมีผิวสัมผัสหยาบ เขมแข็ง
  • 12. 4 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 4. พันธุไมในขอใดจัดเปนไมคลุมดินทั้งหมด ก. ชมพูพันธุทิพย ดาวเรือง หนวดปลาดุกแคระ ข. ฟาประดิษฐ ผกากรองเลื้อย กระดุมทอง ค. ฟาประทานพร เทียนทอง โนรา ง. ยี่เขง เข็ม แกว 5. จิราภรณเปนคนชอบปลูกตนไม ชอบความสดใสมีชีวิตชีวา ควรจะเลือกปลูกพันธุไมในขอใด ก. มะลิ ทิวา กระทิง ข. ดาวเรือง เดซี่ เทียนทอง ค. กุหลาบ บานชื่น เยอบีรา ง. พลูดาง เฟนใบมะขาม เศรษฐีเรือนนอก 6. บานสันติชัยแดดรอนทั้งวันจึงตองการปลูกไมตนเพื่อบังแดด ควรเลือกปลูกพันธุไมในขอใด ก. หมากแดง หูกวาง เฟองฟา ข. นนทรี คูน หางนกยูงฝรั่ง ค. กุหลาบ คูน ลีลาวดี ง. กุหลาบ ชวนชม จั๋ง 7. การปลูกตนไมตามหลักการจัดสวนนิยมจัดเปนรูปใดทางเลขาคณิต ก. รูปสามเหลี่ยม ข. รูปสี่เหลี่ยม ค. รูปหาเหลี่ยม ง. รูปวงกลม 8. พันธุไมในขอใดสามารถปลูกเขากันได ก. บัว วานสี่ทิศ หลิว ข. โมก การเวก ชมนาด ค. เล็บมือนาง แวนแกว พลูดาง ง. ขอยดัด ชาฮกเกี้ยน เข็มพิษณุโลก
  • 13. 5 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 9. ขอใดเปนประโยชนของวัสดุตกแตงสวน ก. ทําใหสวนมีขนาดใหญ ข. ทําใหสวนโดดเดนมีราคา ค. ทําใหสวนสวยงาม นาสนใจ ง. ทําใหสวนรมรื่น มีชีวิตชีวา 10. ใครเลือกใชหินในการจัดสวนไดถูกตอง ก. เอกภพเลือกหินกลม ๆ เปนเสนตรงใชในการจัดสวน ข. เอกราชเลือกหินชนิดเดียวกัน สีเดียวกันในการจัดสวน ค. เอกพลทาสีหินดวยสีสดใสเพื่อเพิ่มเสนหใหกับสวน ง. เอกชัยฝงหินกอนโตลงในสวนเพื่อความสวยงาม
  • 14. 6 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน การเลือกพันธุไม การจัดสวน พันธุไมเปนองคประกอบหลักที่สําคัญ การเลือกพันธุไมสําหรับการจัดสวน ไดถูกตองจะทําใหการจัดตกแตงและการดูแลรักษาสวนงายขึ้นซึ่งจะสงผลถึงความสวยงามของสวน การเลือกชนิดของพันธุไมเพื่อนํามาจัดสวนจะตองทราบถึงรายละเอียดทั่วไป ดังนี้ ปจจัยสําคัญในการเลือกพันธุไม 1. อุณหภูมิ (Temperature) พันธุไมแตละชนิดจะเจริญเติบโตไดดีในระดับอุณหภูมิที่แตกตางกัน ทําใหเราสามารถ แบงพันธุไมออกเปนพันธุไมเมืองหนาวและพันธุไมเมืองรอน ถาเราเลือกพันธุไมเมืองหนาวไปปลูก ในเมืองรอนจะทําใหพันธุไมนั้นไมเจริญเติบโต เนื่องจากอุณหภูมิที่ไมเหมาะสมพืชจะปรุงอาหาร ไดนอย 2. น้ํา (Water) น้ําเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งตอการดํารงชีวิตของพืช เนื่องจากน้ํามีหนาที่ชวยในการดูดอาหาร ละลายธาตุอาหารในดิน ชวยในการปรุงอาหาร ลําเลียงอาหารที่ปรุงแลวไปยังสวนตาง ๆ ของพืช ชวยลดอุณหภูมิและชวยในการเตงของเซลลพืช พันธุไมแตละชนิดมีความตองการปริมาณน้ํา ที่ตางกันขึ้นอยูกับชนิดของพันธุไม 3. แสง (Light) แสงเปนสิ่งที่จําเปนในการเจริญเติบโตของพืชทุกชนิด เพราะแสงทําใหเกิดขบวน การสังเคราะหแสงทําใหไดอาหารสําหรับพืชที่จะนําไปใชสรางความเจริญเติบโต สรางตน ราก ใบ ดอกและผล ถาเราปลูกตนไมในบริเวณที่มีแสงสวางนอยไมเพียงพอกับความตองการของพันธุไม นั้น ๆ พันธุไม ก็จะปรุงอาหารไดนอย ทําใหไมเจริญงอกงาม ในธรรมชาติมีพันธุไมหลายชนิดที่มีความตองการแสงที่แตกตางกัน บางชนิดตองการ แสงมาก บางชนิดตองการแสงนอยและบางชนิดตองการแสงปานกลาง ในการจัดสวนจึงตอง พิจารณาเลือกพันธุไมใหเหมาะสมกับสถานที่ที่มีปริมาณแสงแตกตางกัน
  • 15. 7 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 4. ดิน (Soil) ดินเปนวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จากการผุพัง สลายตัวของหินและแรตาง ๆ ผสม คลุกเคลาเปนเนื้อเดียวกันกับอินทรียวัตถุที่เกิดจากการเนาเปอยของซากพืชหรือซากสัตวหรือ ซากจุลินทรียในดิน รวมทั้งจุลินทรียที่ยังมีชีวิตและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ รวมกับน้ําและอากาศในสัดสวน ที่ไมแนนอน แตกตางกันไปตามวัตถุตนกําเนิดดินทําใหเกิดเปนดินประเภทตาง ๆ เชน ดินรวน ดินเหนียวและดินทราย ซึ่งพันธุไมสามารถนํามาใชในการเจริญเติบโตไดแตกตางกันตามชนิดของ พันธุไม นอกจากนี้ดินยังชวยพยุงลําตนของพืชใหตั้งตรงเพื่อรับแสงอีกดวย สรุปไดวาดินที่เหมาะ ตอการปลูกพันธุไมทั่ว ๆ ไป คือ ดินที่มีลักษณะรวนซุย ถายเทอากาศไดดี ระบายน้ําดี อุดมดวย อินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืช 5. ความสูงของตนไม (Height) เปนความสูงของตนไมเมื่อโตเต็มที่ตามธรรมชาติในสภาพแวดลอมปกติ ซึ่งจะมีความ แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของพันธุไมอันมีผลตอการนําไปใชประโยชน สามารถแบงได ดังนี้ - ไมคลุมดินสูงไมเกิน 0.3 เมตร - ไมพุมเตี้ยสูงประมาณ 1.00 เมตร - ไมพุมกลางสูงประมาณ 1.80 เมตร - ไมพุมสูงสูงประมาณ 3.00 เมตร - ไมยืนตนขนาดเล็กสูงประมาณ 6.00 เมตร - ไมยืนตนขนาดกลางสูงประมาณ 15.00 เมตร - ไมยืนตนขนาดใหญสูงเกิน 15 เมตรขึ้นไป - ไมเลื้อยทั่วไปสูงประมาณ 3.00 เมตร ภาพที่ 4-1 เปรียบเทียบความสูงของตนไม ที่มา : ดัดแปลงจาก ภูมิทัศนพื้นฐาน ของศศิยา ศิริพานิช,2554.
  • 16. 8 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 6. ขนาดของทรงพุม (Spacing) เปนอาณาเขตที่พุมใบแผออก ทําใหตนไมแตละตนตองการเนื้อที่ที่เหมาะสมใน การเจริญเติบโตแตกตางกัน การกําหนดตําแหนงที่ปลูกตนไมไดถูกตองจะทําใหตนไมไมเบียดแนน เมื่อตนไมโตเต็มที่ ภาพที่ 4-2 แสดงขนาดของทรงพุมตนไม ที่มา : ดัดแปลงจากหลักการจัดสวนเบื้องตนของเอื้อมพร วีสมหมาย, 2527. 7. การเจริญเติบโต (Rate of Growth) ขนาดของตนไมและการเจริญเติบโตจะแสดงใหเห็นถึงลักษณะของตนไมซึ่งเปน สิ่งมีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ และการเปลี่ยนแปลงนี้ขึ้นอยูกับที่อยูอาศัย ซึ่งจําเปนตองทราบ ในการเลือกและจัดตนไมโดยคิดถึงสภาพตนไมเหลานี้ในระยะ 1 ป 5 ปหรือ 10 ปขางหนา ก็เหมือนกับการปลูกไมดอกที่เราคาดไววาจะใหดอกอีกกี่เดือนขางหนา แตไมตนและไมพุมนั้น กวาจะใหลักษณะทรงพุมที่สมบูรณเต็มที่ก็ใชเวลานานนับป ดังนั้นการวางแปลนสําหรับตนไมจึง จําตองคิดถึงการเจริญเติบโตของตนไมดวยวาโตชา ปานกลางหรือเร็ว เพื่อจัดวางใหพอเหมาะและ เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงแปลนภายหลัง การใชตนไมในการจัดสวนที่มีขนาดโตมาก ๆ จะใชงบประมาณสูงจึงควรเลือกปลูก ไมเล็กจะดีกวาเพราะจะเจริญเติบโตเร็วในเวลาไมกี่ป อีกทั้งไมชะงักการเจริญเติบโต เนื่องจาก การเคลื่อนยายและการปลูก
  • 17. 9 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 8. รูปทรงตามธรรมชาติ (Natural Form) เปนลักษณะรูปทรงพุมของตนไมเมื่อโตเต็มที่ตามธรรมชาติจะแตกตางกันไปตามชนิด ของพันธุไม เชน ตนไทรมีรูปทรงพุมสี่เหลี่ยมผืนผา ตนจําปมีรูปทรงพุมกลมรี ตนสนแผงมี รูปทรงพุมสามเหลี่ยม แตถาตนไมมีการตัดแตงหรือดัดแปลงอาจทําใหรูปทรงเปลี่ยนไปได ดังนั้น รูปทรงตนไมอาจขึ้นอยูกับปจจัย 2 อยางคือ ลักษณะตามธรรมชาติของตนไมและลักษณะที่ปรับตัว เนื่องจากสภาพแวดลอม ถาจะกลาวถึงลักษณะของตนไมจริง ๆ แลวตองทราบถึงตําแหนงที่ปลูก และสภาพแวดลอมเพราะถึงแมตนไมจะเปนชนิดเดียวกันก็ตามลักษณะก็อาจจะแตกตางกัน 9. ลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุม(Texture of Foliage) การเลือกลักษณะทรงพุมของตนไมแตละชนิดตองดูเรื่องความหยาบ ความละเอียดของ ทรงพุม โดยการแบงแยกเรื่องผิวสัมผัสของพันธุไมจะใชสายตาเปนเครื่องกําหนด โดยดูจาก สวนรวมของพุมใบ ถาใบฝอยเล็กก็ถือเปนผิวสัมผัสละเอียด เชน หญาญี่ปุน ถาใบใหญกวางก็ถือ เปนผิวสัมผัสหยาบ เชน หูกวาง ทองหลาง เชน บริเวณริมน้ําตองการใหมีผิวสัมผัสละเอียดนุมนวล ควรเลือกพันธุไมที่มีใบเล็กฝอยหรือยาว เชน หลิว นนทรี แปรงลางขวด บางครั้งตองการผิวสัมผัส ที่หยาบเพื่อตัดกับตัวอาคารก็ควรเลือกพรรณไมที่มีใบหยาบ ใหญ เชน หูกวาง ทองหลาง ภาพที่ 4-3 แสดงลักษณะผิวสัมผัสของทรงพุมตนไม ที่มา : ดัดแปลงจากหลักการจัดสวนเบื้องตนของเอื้อมพร วีสมหมาย, 2527.
  • 18. 10 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 10. สี (Color) เรื่องของสีมีความจําเปนในการจัดแตงสวนเพื่อใหสวนมีเสนหและมีชีวิตชีวา เชน สีของใบ สีของดอก ควรเลือกสีเปนกลุม ๆ เชน สีรอน ไดแก แดง เหลือง สมหรือ สีเย็นไดแก มวง คราม น้ําเงิน เปนตน ใชพันธุไมที่มีใบหรือดอกที่มีสีนั้น จุดที่ตองการความเดน สะดุดตาอาจใชสีสด ๆ ทามกลางสีเย็นหรือสีเขียวของใบไม แตอยาทําจุดเดนใหมากเกินไป เพราะจะทําใหแขงกันในแตละจุด ประเภทของพันธุไมที่ใชในการจัดสวน การเลือกพันธุไมที่ใชในการจัดสวน ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการใชงาน ซึ่งจะแบงได ดังนี้ 1. ไมตน (Trees) เปนตนไมขนาดใหญที่มีอายุยืน มีเนื้อไม ความสูงตั้งแต 3 เมตรขึ้นไป ใชเปนตนไมหลักในการจัดสวน มีหลายรูปแบบ มีหลายระดับ ทั้งใชใบประดับและใชดอกประดับ เพื่อใชเปนไมใหรมเงา เปนแนวและขอบเขต ความเปนสัดสวน สงางาม เปนเสนนําสายตา สราง ความรูสึกในทางสูงตัดกับความรูสึก แบนราบของพื้นดิน ปองกันฝุน ละออง เปนฉากหลังและเปน จุดสนใจในที่โลง เชน กามปู ชมพูพันธุทิพย แคแสด ราชพฤกษ นนทรี ศรีตรัง ประดู หางนกยูงฝรั่ง หรืออาจจะเปนไมผล เชน ขนุน ชมพู มะมวง สาเก ในการจัดสวน ไมตนมักใช เปนไมหลักหรือเปนไมประธาน ในการจัดสวน นิยมใชจํานวนคี่ใน การจัดวางหรือการปลูก เชน 1, 3, 5 หรือ 7 ตน ทั้งนี้เพื่อไมใหดูตั้งใจหรือ ภาพที่ 4-4 ตนชมพูพันธุทิพย หรือสมดุลจนเกินไปแตก็สามารถ ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,4 เมษายน 2553. ปลูกเปนจํานวนคูไดเพราะนอกจาก จะมีไมตนเปนจุดเดนแลว มักจะตองมีองคประกอบรองคือไมพุมหรือไมตนขนาดเตี้ย รวมถึง กอนหิน ไมคลุมดิน เพื่อดึงสายตาจากบนลงลางและจากลางขึ้นบนโดยทั่วไป ไมตนจะมีการจัดวาง อยูสองลักษณะ คือ เปนแนวเรียงแถวหนากระดานและเปนกลุมไมนิยมปลูกตนเดียวเพราะจะทําให
  • 19. 11 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ดูโดดเดี่ยว ในการเลือกพันธุไมตนมาปลูกจะตองคํานึงถึงความเปนเอกภาพและความสอดคลอง กลมกลืน หมายความวาเราจะตองใชไมชนิดเดียวกันในกลุมนั้น ๆ หรือการใชไมตนคนละขนาดที่มี ทั้งตนที่สูงและตนที่สูงรองลงมาเพื่อเปนจุดเดนรอง 2. ไมพุม (Shrubs) เปนตนไมที่มีลําตนตั้งตรงเปนอิสระ อาจมีเนื้อไมมักแตกกิ่งกานออกมา ในระดับต่ําไมสูงจากพื้นมากนัก รูปทรงเปนพุมตรงหรือสามารถ ตัดแตงเปนพุมตาง ๆได เปนตนไม รองจากไมตนในการจัดสวน มีความ สูงหลายขนาดแตไมเกิน 3 เมตร เชน ไมพุมเตี้ย ไมพุมกลางและไมพุมสูง ใชปลูกเปนแปลง เปนแถวเพื่อนํา สายตากําหนดขอบเขต เชน เข็มญี่ปุน เทียนทอง หูปลาชอน ใชปลูกเปน ฉากหลังในการจัดสวนขนาดเล็ก เชน ยี่โถ ยี่เขง โมก ใชปลูกเปน ภาพที่ 4-5 ตนยี่โถ ไมตัดแตงตามจุดตาง ๆ เชน ขอย ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ, 1 มกราคม 2553. ไทรยอดทอง มะขามเทศดาง สน ชาฮกเกี้ยน มักปลูกเปนแนวและมีความตอเนื่องกัน มีปริมาณมากกวาไมตน 3. ไมเถาเลื้อย (Vines) เปน ตนไมที่เจริญเติบโตไดทุกทิศทาง ไมสามารถทรงตัวอยูไดดวยตัวเอง มีลักษณะเดนคือ ใหความออนชอย บางชนิดมีใบสวยงามบางชนิดมีดอก ที่มีรูปรางสีสันสวยงาม ดอกบาง ชนิดจะตั้งขึ้น บางชนิดเปนชอหอย ลง ทําใหบรรยากาศของสวนมีเสนห ไมเลื้อยนิยมใชเปนรั้ว ทําซุมตนไม ใหรมเงา เชน การเวก ชมนาด บานบุรีเลื้อย พวงชมพู ภาพที่ 4-6 ตนพวงชมพู ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ, 3 พฤษภาคม 2553.
  • 20. 12 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 4. ไมคลุมดิน (Ground Covers) เปนตนไมที่มีตนเตี้ย มีคุณสมบัติเจริญเติบโตคลุมพื้นที่ได รวดเร็ว มีความสูงจากพื้นดินไมเกิน 0.3 เมตร ใชประกอบไมชนิดอื่นเพื่อใหครบลักษณะ สูง กลาง ต่ํา ใชแทนหญา ใชปกปดผิวหนาดินปดบังสวนโคนตนของไมพุมหรือไมตนใชปลูกเปนขอบ ปลูก ตามที่ลาดชัน เพื่อปองกันการพังทลายของดิน เชน หญาตาง ๆ กระดุมทองเลื้อย แพรเซียงไฮ ผักเปดเขียว ผักเปดแดง ฟาประดิษฐ 5. ไมน้ํา (Aquatic Plants) เปนไมที่สามารถเจริญเติบโตอยูในน้ําไดดี มีหลายชนิด เชนไมน้ํา ที่รากหยั่งถึงดิน เชน กกธูป กกญี่ปุน บัว ไมน้ําที่รากลอยน้ํา เชน ผักบุง จอก ผักกระเฉด ผักตบชวา แหน ภาพที่ 4-7 ตนแพรเซียงไฮ ภาพที่ 4-8 ตนบัวผัน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,3 พฤษภาคม 2553. การเลือกใชพันธุไมตาง ๆ ตามที่กลาวมาจะตองพิจารณาเลือกใหเหมาะสมกับสถานที่ ที่ตองการจัดสวน ถาเลือกไดถูกตอง จะทําใหการจัด ตกแตง ตลอดจนการดูแลรักษาสวน ทําไดงาย สวนจะมีลักษณะสวยงามและอํานวยประโยชนในการใชสอยใหกับเจาของไดอยางดียิ่ง การจัดตนไมใหเปนสวน การจัดตนไมใหเปนสวนจะตองคํานึงถึงขอมูลหลายอยาง ทั้งความสวยงาม องคประกอบ ตาง ๆ ภายในสวนและการจัดวางอยางมีศิลปะ 1. การจัดตนไมเปนพวกตามลักษณะการเจริญเติบโตของพันธุไม กลาวคือ ควรจัดตนไม ที่ปลูกแลวสามารถเจริญเติบโตในสถานที่ที่เหมือนกัน เชน สวนที่อยูในที่รมควรจัดหาตนไมที่ปลูก ในที่รมมาปลูกในสวน 2. การจัดตนไมที่มีลักษณะของผิวเหมือนกัน หรือแตกตางกันเพื่อเนนจุดเดนในสวน 3. การจัดตนไม ควรใหมีจังหวะเหลื่อมล้ํากันตามความเหมาะสมมีทั้งสูงกลางและต่ํา ไมควร ใหมีระดับสูงเทากันทั้งหมด ตนไมทรงเตี้ยควรจะอยูดานหนา ตนไมทรงสูงควรจะอยูดานหลัง
  • 21. 13 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 4. การจัดตนไมไมควรปลูกโดดเดี่ยว เมื่อปลูกตนไมที่เปนไมประธานแลวควรจะปลูก ไมพุม 2 หรือ 3 ตนและไมคลุมดิน เพื่อเปนเครื่องสงเสริมใหตนไมตนแรกมีความสําคัญหรือเดน ยิ่งขึ้น การปลูกตนไมมักจะใชหลักการจัดเปนรูปสามเหลี่ยม ภาพที่ 4-9 การวางไมประธาน 1 ตน ภาพที่ 4-10 การวางไมประธาน 3 ตน ที่มา : จัดตนไมใหเปนสวน ของอรุณี วงศพนาสินและคณะ, 2546. 5. การปลูกตนไมตองคํานึงถึงความเกี่ยวเนื่องหรือเชื่อมโยงของตนไมตนหนึ่งหรือกลุม หนึ่งไปยังอีกกลุมหนึ่ง สิ่งที่เชื่อมโยงหรือเกี่ยวเนื่องนี้อาจจะเปนเสนของลําธาร กรวด หลักไม เสนของ ขอบหญาหรือเสนของไมพุมทรงเตี้ยหรือไมคลุมดินก็ได 6. การจัดตนไม ควรจัดใหมีหิน กรวด ตอไม กิ่งไมหรือวัสดุอื่น ๆ ประกอบเพื่อเพิ่ม ความสวยงาม
  • 22. 14 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ภาพที่ 4-11 การจัดกลุมตนไมโดยใชหินและแผน ภาพที่ 4-12 การจัดตนไมมีจังหวะเหลื่อมล้ํา ทางเดินเชื่อมกลุมตนไม สูงกลางและต่ํา มีหินประกอบสวน ที่มา : จัดตนไมใหเปนสวน ของอรุณี วงศพนาสินและคณะ, 2546. ตัวอยางการจัดกลุมของตนไมที่ปลูกรวมกันได ไมประธาน ไมพุม ไมคลุมดิน จันทนผา (ตองการแสงแดด) ลิ้นมังกร พลับพลึงตีนเปด เข็มสามสี ไทรทอง โกสน เทียนทอง การะเกดหนู ดาดตะกั่ว ผกากรอง เฟนใบมะขาม ผักโขมแดง เฟองฟาตอ (ตองการแสงแดด) เทียนทอง กําแพงเงิน พยับหมอก ผักโขมแดง ผกากรอง วานสี่ทิศ แอหนัง ฟาประดิษฐ ดาดตะกั่ว เข็มพิษณุโลก ขอยดัด ตะโกดัด (ตองการแสงแดด) ชาฮกเกี้ยนตัดพุมกลม เทียนทอง ขาวตอกพระรวง ลิ้นกระบือ วานสี่ทิศ เข็มพิษณุโลก ฟาประดิษฐ ดาดทับทิม กามปูหลุด บุษบาฮาวาย สนมังกร (ตองการแสงแดด) เทียนทอง ชาฮกเกี้ยน พัดโบก เอื้องทอง ไทรเลื้อยใบกลม สนสามรอยยอด เข็มเชียงใหม ลิ้นกระบือ ผกากรองขาวเหลือง แอหนัง หลิวไตหวัน วานสี่ทิศดาง ผักโขมแดง กําแพงเงิน บานเชาสีนวล เข็มพิษณุโลก เวอรบีนา
  • 23. 15 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ไมประธาน ไมพุม ไมคลุมดิน หมากแดง (ตองการแสงแดดถึงแดดรําไร) หมากผูหมากเมีย จั๋งไทย คลามาลาย คลากาเหวาลาย คลาเสนหขุนแผน กลวยดาง ซุมกระตาย เศรษฐีไซงอน ดาดตะกั่ว เฟนบอสตัน เฟนกางปลา กามปูหลุด พุดจีบ (ตองการแสงแดดถึงแดดรําไร) เดหลีใบกลวย ลิ้นกระบือ สังกรณี เหลืองคีรีบูน หลิวใบ คลามาลาย หลิวไตหวัน ดาดตะกั่ว เศรษฐีเรือนนอก หนวดปลาดุกแคระ โมก (ตองการแสงแดดถึงแดดรําไร) ชองนาง พุดซอนแคระ พุดตะแคง ประยงค สังกรณี หมากผูหมากเมีย สับปะรดสี เหลืองคีรีบูน ลิ้นกระบือ เฟนบอสตัน ดาดตะกั่ว เวอรบีนา หลิวไตหวัน กําแพงเงิน เศรษฐีเรือนนอก ผีเสื้อราตรี สรอยกัทลี (ตองการแสงแดดรําไร) กามกุง หมากผูหมากเมีย กามกุงแคระ แดงซีลอน คลา มะเดหวี ขิงดาง เดหลีใบกลวย ดาดตะกั่ว กาบหอยแครง กามปูหลุด ออมเงิน ออมทอง หลิวใบ หลิวไตหวัน วาสนา (ตองการแสงแดดรําไร) หมากผูหมากเมีย เดหลีใบมัน สังกรณี ไผฟลิปปนสดาง ฟโลทอง พลับพลึงดาง มรกตแดง สรอยระยา เฟนใบมะขาม พลับพลึงหนู เศรษฐีเรือนนอก พลูดาง เศรษฐีเรือนใน พลูทอง หมากเขียว (ตองการแสงแดดรําไร) หนวดปลาหมึกแคระ เข็มมวง จั๋งไทย ลิ้นกระบือ สังกรณี หมากผูหมากเมีย เอื้องหมายนา กาบหอยแครงแคระ ดาดตะกั่ว บุษบาฮาวาย การะเกดหนู ผักโขมแดง หลิวไตหวัน ปจจัยที่มีผลตอราคาตนไม สิ่งที่ทําใหราคาตนไมมีการเปลี่ยนแปลงในการซื้อขาย สามารถแบงไดงาย ๆดังนี้ 1. จํานวนตนที่ซื้อในแตละครั้ง ถาซื้อครั้งละมาก ๆ ก็จะไดราคาถูก โดยเฉพาะลูกคาประจํา ก็จะไดในราคาพิเศษ 2. ภาชนะปลูก ถาปลูกในถุงดําราคาจะถูกกวากระถาง ขนาดของกระถางและชนิดของ กระถางจะสงผลใหราคาของตนไมนั้น ๆ ตางกัน 3. ขนาดของตนไมตนไมที่มีขนาดใหญแข็งแรงยอมขายไดในราคาที่แพงกวาตนที่มีขนาด เล็ก หรือไมบางชนิด ความสูงของตนก็จะเปนตัวกําหนดราคา
  • 24. 16 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 4. ฤดูกาลและเทศกาลโดยเฉพาะในชวงฤดูฝนและเทศกาลปใหมราคาของตนไมจะสูงกวา ปกติเล็กนอย เนื่องจากเปนชวงที่ตองการไมในการประดับตกแตง วัสดุตกแตงสวน วัสดุที่ใชประกอบการตกแตงสวนนั้นมีมากมายหลายอยาง อาจเปนวัสดุตามธรรมชาติหรือ เปนวัสดุที่มนุษยสรางขึ้น นิยมใช หิน ตอไม ไฟในสวน รูปปนตาง ๆ กระถาง อางบัวรวมถึง ทางเดิน รั้ว ศาลาและเฟอรนิเจอรสนาม เปนตน เพราะเมื่อนํามาประกอบสวนแลวทําใหสวน มีความสวยงามทําใหบริเวณสวนดูนาสนใจมากกวาเดิมแตการเลือกใชนั้นตองพิจารณาประกอบกับ พันธุไมที่เลือกปลูกใหเขากันดวย เชน หิน เหมาะกับไมดัด อากาเว จันทนผา ปรง สน ปาลม สวน ตอไมเหมาะกับเฟน กลวยไม บรอมมีเลียดหรือสับปะรดสี 1. หิน เปนวัสดุที่นิยมนํามาใชในการจัดสวน เพราะทําใหสวนดูสนุกมีเรื่องราวและจัดวาง พันธุไมไดงาย การใชหินประกอบการจัดสวนนั้นมีหลักการงาย ๆ เพื่อใหจัดไดอยางถูกตองดังนี้คือ 1) เลือกหินชนิดเดียวกัน สีเดียวกันในสวน 2) ควรฝงหินลงในดิน 1/3 เพราะจะทํา ใหมองดูเปนธรรมชาติ 3) อยาตกแตงหินดวยการตอเติมทําลายหรือทาสี การใชหินในการจัดสวนนิยมใชหินอยางนอย 3 กอน ในสวนหนึ่ง ๆ จึงจะมองดูสวยงาม และ 3 กอนนี้ตองมีขนาดโตที่สุดไมตํ่ากวา 1.00 เมตร เพราะเมื่อวางและปลูกพันธุไมหรือหญาแลว ขนาดก็จะลดลง เมื่อพันธุไมเติบโตขึ้นก็จะบังกอนหินไปมาก เพราะฉะนั้นขนาดของกอนหินจึงตอง ใหญพอสมควร จึงจะมองดูสวยงามไมหลอกตา เมื่อมองภาพรวมของสวน ลักษณะของการเลือกหิน 3 กอนในการจัดสวนคือ เพื่อที่จะวางในแนวตั้งเปนประธานของกลุม หินรูปทรงเอนเพื่อวางเปนระดับที่2 หินรูปทรงแบนเพื่อวางเปนระดับที่3 ภาพที่ 4-13 แสดงการวางหินแบบตางๆ ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540.
  • 25. 17 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ในการเลือกซื้อหินควรพิจารณาใหไดรูปทรงตามที่ตองการ เลือกหินใหมีลักษณะโคงเวาไป มาจะดีกวาหินที่มีแนวเสนตรงเยอะ ๆ เพราะจะทําใหจัดรวมกับหินอื่นไดลําบาก ภาพที่ 4-14 ลักษณะหินที่ควรเลือกซื้อ ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540. ภาพที่ 4-15 ตัวอยางการจัดหิน ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540. วิธีการวางหิน การวางหินจัดสวนนั้นตองมีหลักเกณฑพอสมควร มิฉะนั้นหินที่วางจะดูกระจัดกระจาย ไมรับกันกับตนไมหรือกลุมหินดวยกันเอง ซึ่งการวางหินนั้นจะดูตรงตําแหนงเปนสําคัญกอน ตําแหนงนั้นตองเปนจุดเดนรวมกับกลุมไมประธาน ถามีหินอีกกลุมหนึ่งก็จะรวมกับไมรองประธาน และระหวาง 2 กลุม อาจมีกอนหินบางประปราย แลวแตความเหมาะสม การวางหินจริง ๆ แลว จะตองมองดู 3 สวน คือ
  • 26. 18 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน สวนที่ 1 ดูที่แปลนของหิน 1 เมื่อนําหิน 2 หรือ 3 กอนมาประกบกันตองใหเสนรอบนอก ของหิน 2 กอน รับกันโดยที่เราจะตองหมุนหามุมที่รับกันใหได ถามุมไมรับกันจะมองดูเหมือน กระจัดกระจายตางคนตางอยู หรือเกิดความขัดแยงในเรื่องของเสน มีลักษณะที่เสนทิ่มแทงกันเอง ไมสัมพันธกัน ภาพที่ 4-16ตัวอยางการวางหิน ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540. สวนที่ 2 ดูแนวเสนพลังของหินซึ่งอยูที่สันของหัวกอนหินเมื่อนําหิน 2 กอน หรือ 3 กอนมา จัดรวมกัน ตองใหแนวเสนพลังตอเนื่องกันดวยจึงจะดูงดงามเมื่อมองจากดานขาง ภาพที่ 4-17 แนวเสนพลังของกอนหิน ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540. เมื่อจัดหินเปนกลุม 3 กอน 5 กอน 7 กอนหรือ 9 กอนก็ตาม ตองใหแนวเสนพลังของกลุม หินเหลานี้ตอเนื่องกัน ถามีจังหวะเวนก็ตองไมหางเกินไป จนหาความสัมพันธกันไมได 2
  • 27. 19 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ภาพที่ 4-18 ตัวอยางการจัดหินเปนกลุม ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ, 2540. การจัดหิน 3 กอนไมควรจัดหินในลักษณะเปนสามเหลี่ยมดานเทาเพราะจะมองดูเทากัน สมํ่าเสมอเกินไป ควรจะใหกอนหินที่ 1 ลงมาที่กอนที่ 2 และกอนที่ 2 ลงมาที่กอนที่ 3 โดยให 2 หาง จาก 1 พอสมควร 3 ควรอยูใกล 2 มากกวา สวนระยะจาก 1 ไป 2 นอยกวา 2 ไป 3 กลุมหิน 5 กอนนั้น จัดโดยใชหิน 3 กอน และ 2 กอน โดยใหหิน 2 กอน หางจากหิน 3 กอน เล็กนอย ใหมีจังหวะการสงตอจาก 3 ไป 4 และ 5 ในลักษณะซิกแซก จึงจะสวยงามมากกวาเปนแนวตรง ภาพที่ 4-19 ตัวอยางการวางหิน5 กอน ที่มา : ดัดแปลงจาก การใชตนไมสําหรับสวนในบาน ของอลิศรา มีนะกนิษฐ,2540.
  • 28. 20 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ภาพที่ 4-20 การใชหินเปนวัสดุตกแตงสวน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552. 2. แผนทางเทา สวนหลาย ๆ แหงจําเปนตองมีทางเทาประกอบเพื่อใหคนเขามาใชสวน ไมเดินเหยียบย่ําสนามหญาอันจะทําใหหญาตายได วัสดุที่นํามาใชทําแผนทางเทามีหลายอยางแต ควรเลือกวัสดุที่มีสีและพื้นผิวดูเปนธรรมชาติ เชน อิฐมอญ ศิลาแลง หินกาบ หินทราย ใหเหมาะ กับสวนแตไมควรมีมากจนดูรก สวนการวางแผนทางเทา ควรวางยกระดับจากสนามหญาประมาณ 2-3 เซนติเมตร เพื่อปองกันน้ําทวมขังและหญาเลื้อยมาปกคลุม ภาพที่ 4-21การวางแผนทางเทา ที่มา : จัดตนไมใหเปนสวน ของอรุณี วงศพนาสินและคณะ, 2546.
  • 29. 21 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ภาพที่ 4-22 การใชแผนทางเทาเปนวัสดุตกแตงสวน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552. 3. ตอไม ตอไมหรือซากไมแหงที่ใชประกอบในการจัดสวนนั้นควรใชตอไมเนื้อแข็ง เพราะจะไมผุเปอยไดงายตอไมที่นิยมใชจะมี2 ลักษณะ คือ 1) รากไม 2) ตนไมเนื้อแข็งทั้งตนที่ถูกตัดมาเพื่อตั้งวางและใชตนไมประดับ ตนไมที่นิยมใชประดับตอไม สวนใหญจะเปน กลวยไม เฟน บรอมมีเลียด ซึ่งตําแหนง ตอไมเหลานี้ควรจะไดรับแสงสวาง 30-50% ในชวงเชาก็พอ มิฉะนั้นตนไมดังกลาวจะอาศัยอยูบน ตอไมไมไดเพราะรอนเกินไป ตองรดนํ้าและใหปุยสมํ่าเสมอจึงจะสวยงาม ภาพที่ 4-23 การใชตอไมเปนวัสดุตกแตงสวน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,5 ธันวาคม 2552.
  • 30. 22 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 4. ตะเกียงหิน ตะเกียงหินสําเร็จรูปมีขายหลายแบบที่สําคัญคือ เลือกขนาดใหพอเหมาะกับ ขนาดของสวนและใหมีลักษณะเขากันได สวนตําแหนงที่วางตะเกียงหินนั้นจะวางดานหนาสวน คอนไปทางซายหรือขวาโดยรวมอยูกับกลุมตนไมรองประธานอยาวางโดด ๆ อยูกลางสนามหญา เพราะจะมองดูขัดตาไมรวมกับจุดอื่น ๆ ลักษณะของตะเกียงหินควรใหรับกับรูปแบบของตนไมและ สวนดวย 5. ไฟในสวน ไฟบริเวณสวนนั้นนิยมใชไฟเตี้ยมากกวาสูงเพราะจะไดไมบังสายตาและนิยม วางดานหนาของสวนหยอมบางครั้งตะเกียงหินก็จะใสไฟเขาไปขางในทําใหไมตองใชไฟแบบทั่ว ๆ ไป การติดตั้งไฟในสวนนั้นมีจุดหมายเพื่อ 1) เพิ่มเวลาพักผอนภายในสวนใหมากขึ้น 2) เพื่อใหความปลอดภัยและอบอุนใจในการใชสวนในเวลากลางคืน 3) เพื่อใหเกิดผลเปนพิเศษ เชน ใหแสงสี แสงเงาของตนไมและบาน ภาพที่ 4-24 การใชไฟในสวนเปนวัสดุตกแตงสวน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552. 6. รูปปน ที่ใชในสวนควรเลือกใหเขากับสวนอาจทําดวยไมแกะสลักจะมองดูกลมกลืน กับสวน ถาเปนรูปปนแบบปูนปนสีขาว ก็รับกับสวนแบบประดิษฐไดดี รูปปนไม เชน รูปสัตว รูปคน ก็วางประกอบสวนไดโดยไมตองทาสี ใหมีลักษณะเนื้อไมแบบธรรมชาติ จะสวยงามกวา ทาแลคเกอรสีตาง ๆ รูปปนที่เปนเซรามิคหรือหินทรายก็นํามาประกอบสวนไดสวยงาม
  • 31. 23 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ภาพที่ 4-25 การใชรูปปนเปนวัสดุตกแตงสวน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552. 7. เฟอรนิเจอรสนาม ที่ใชในสวนมีทั้งเกาอี้ โตะ ถังขยะและเครื่องเลนสําหรับเด็ก เปนตน มีใหเลือกหลายอยาง หลายแบบทั้งที่เคลื่อนที่ไดและเคลื่อนที่ไมได ขึ้นอยูกับความตองการของ เจาของสวน การเลือกใชใหเหมาะกับแบบสวนและงบประมาณ ภาพที่ 4-26 เฟอรนิเจอรสนามเปนวัสดุตกแตงสวน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 32. 24 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ภาพที่ 4-27 วัสดุตกแตงสวน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552. ตัวอยางพันธุไมที่นิยมใชในการจัดสวน 1. ไมตน (Trees) นิยมใชเปนไมประธานในการจัดสวน กันเกรา กัลปพฤกษ แคแสด ภาพที่ 4-28 พันธุไมตน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 33. 25 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน จามจุรี จําป นนทรี ตะแบก ตีนเปดน้ํา ประดูแดง เลี่ยน ปบ ปบทอง มะเดื่อ หางนกยูงฝรั่ง หูกระจง ภาพที่ 4-29 พันธุไมตน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 34. 26 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน รัตมา กระทิง สาละลังกา กระถินณรงค อโศกน้ํา เหลืองปรีดีญาธร แปรงลางขวด สุพรรณิการดอกซอน พญาสัตบรรณ คูน สําโรง เตาราง ภาพที่ 4-30 พันธุไมตน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 35. 27 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 2. ไมพุม (Shrubs) นิยมใชเปนไมรองในการจัดสวน กุหลาบ เข็มพิษณุโลก เข็มปตตาเวีย เล็บครุฑใบดาง หูปลาชอน ทิวา ชบา ชวนชม ชองนาง โมก โกสน แกว ภาพที่ 4-31 พันธุไมพุม ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 36. 28 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ฟาประทานพร หมากผูหมากเมีย เทียนทอง ชาฮกเกี้ยน ทานตะวัน รักแรกพบ สาวนอยปะแปง จั๋ง สโนดรอป ใบทอง ใบนาค มะขามเทศดาง ภาพที่ 4-32 พันธุไมพุม ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 37. 29 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 3. ไมคลุมดิน (Ground Covers) นิยมใชเปนไมที่อยูริมนอกสุดของแปลงในการจัดสวน ผกากรองเลื้อย เศรษฐีเรือนนอก เศรษฐีเรือนใน มหากาฬเลื้อย ผีเสื้อราตรี ดาดตะกั่ว เวอรบีนา กระดุมทอง ดาหลเบิรกเดซี่ ริบบิ้นชาลี ริบบิ้นแดง ริบบิ้นเขียว พรมออสเตรเลีย พรมกํามะหยี่ พรมลาย ภาพที่ 4-33 พันธุไมคลุมดิน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 38. 30 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน ฟาประดิษฐ กามปูหลุด บิโกเนีย เฟนใบมะขาม เฟนสีทอง เฟนกนกนารี เปปเปอรโรเมีย วานกาบหอย ลายนกกระทา หูเสือ สับปะรดสี ลายเบญจรงค วาสนาราชินี หนวดปลาดุกแคระ ชาลีเบบี้ ภาพที่ 4-34 พันธุไมคลุมดิน ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 39. 31 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 4. ไมเลื้อย (Vines) นิยมใชเปนไมที่อยูดานหลังสวนหรือปลูกใหเลื้อยทําหลังคา พวงคราม สรอยฟา หมวกจีน มานบาหลี โฮยา โนรา อัญชัน มังกรคาบแกว กระดังงา มาลัยทอง หางกระรอกนอย หนวดพราหมณ ภาพที่ 4-35 พันธุไมเลื้อย ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 40. 32 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน เกล็ดอีแปะดาง บานบุรีสีมวง พวงแกวกุดั่น สายหยุด ลิปสติก ชมนาด พลูฉีก พลูฉลุ กระเทียมเถา พลูดาง เดฟ มะลุลี ภาพที่ 4-36 พันธุไมเลื้อย ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 41. 33 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน 5. ไมน้ํา (Aquatic Plants) นิยมใชในการจัดสวนน้ํา แวนแกว บัวหลวง แหน บัวกระดง บัวผัน จอก เตย กก ลําเจียก คลาน้ํา บัวบาดอกเหลือง อเมซอน ภาพที่ 4-37 พันธุไมน้ํา ที่มา : พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช. ถายภาพ,12 ธันวาคม 2552.
  • 42. 34 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ง30240การจัดสวน ชั้น ม.6 เลมที่ 4 การเลือกพันธุไมและวัสดุตกแตงสวน คําชี้แจง ใหนักเรียนจับคูความสัมพันธระหวางขอความใหถูกตอง โดยนําขอความที่กําหนดใหใส ในชองวางหนาขอความ ขอ 1-10 จํานวน 10 ขอ จํานวนคะแนน 10 คะแนน อุณหภูมิ น้ํา ความสูงของตนไม สี ขนาดของทรงพุม ดิน ผิวสัมผัสของทรงพุม แสง รูปทรงตามธรรมชาติ ไมน้ํา การเจริญเติบโต ไมพุมสูง ไมเถาเลื้อย ไมพุมกลาง ไมตนขนาดเล็ก ไมพุมเตี้ย ไมตนขนาดใหญ ไมคลุมดิน ไมตนขนาดกลาง 1. ..................................... ทําใหสวนมีเสนหและมีชีวิตชีวา 2. ..................................... อาณาเขตที่พุมใบของพันธุไมแผออก 3. ..................................... ใชสายตาเปนเครื่องกําหนดลักษณะของพันธุไม 4. ..................................... เดซี่ ดาดตะกั่ว ฟาประดิษฐ 5. ..................................... แวนแกว จิก อเมซอน 6. .................................... ชมนาด โนรา พวงชมพู 7. ..................................... พันธุไมสูงประมาณ 100 เซนติเมตร 8. ..................................... พันธุไมสูงประมาณ 6 เมตร 9. ..................................... การเปลี่ยนแปลงของพันธุไมเมื่อเวลาเปลี่ยนไป 10. ................................... ลักษณะของตนไมเมื่อโตเต็มที่สามารถบอกสัณฐาน ชื่อหรือตระกูล กิจกรรมที่ 1