SlideShare a Scribd company logo
คานา
ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดยโรงเรียนนนทรีวิทยา ได้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนนทรีวิทยา พุทธศักราช 2552 ขึ้น ตลอดจน
โรงเรียนนนทรีวิทยา เป็นโรงเรียนผู้นาการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการกระจายอานาจ มุ่งพัฒนา สู่ห้องเรียน
คุณภาพ และสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล
ข้าพเจ้า นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ข้าราชการครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงได้จัดทาการ
วิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชา โครงสร้างวิชา การกาหนดเป้าหมายขอ งหน่วยการเรียนรู้
การกาหนดภาระงานและการออกแบบการเรียนรู้ ของรายวิชา ว 21102 วิทยาศาสตร์ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย
ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง “แรงและการเคลื่อนที่ ” นี้ขึ้น โดยยึดแนวทางตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วย การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น
ฐาน (Problem-Based Learning) ตามขั้นตอนของ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
พัฒนาสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และการออกแบบโดยยึดผลปลายทางเป็นหลัก ที่เรียกว่าBackward Design ที่มีการ
ประเมินผลการเรียนรู้โดยการกาหนดเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้แบบRUBRIC
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นอกจากที่ข้าพเจ้าจะได้นาแผนการจัดการเรียนรู้นี้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว
ยังจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนท่านอื่นๆ และผู้ที่สนใจเพื่อนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ตลอดจน
เป็นผลงานทางวิชาการของข้าพเจ้า เพื่อการประเมินในโอกาสต่างๆต่อไป
สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณ ท่านผู้อานวยการเชิดศักดิ์ ศุภโสภณท่านรองผู้อานวยการ สาคร กฤษดารัตน์ คุณ
ครูณัฐพงศ์ เลิศชีวะ และคณะครูกลุ่มสาร ะการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกท่าน ที่ได้ ให้คาปรึกษาและ มีส่วนในการ
สนับสนุนและช่วยเหลือ ให้สาเร็จลงด้วยดี
หากมีข้อผิดพลาดหรือบกพร่องประการใด ขอกราบขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย
นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
ผู้จัดทา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนนนทรีวิทยา พุทธศักราช 2552
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คุณลักษณะพึงประสงค์
8 ประการ
สมรรถนะสาคัญของ
ผู้เรียน 5 สมรรถนะ
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร, สาระที่ 5 งานและพลังงาน
สาระที่ 6 โลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
อยู่อย่าง
พอเพียง
รักความ
เป็นไทย
มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทางาน
ซื่อสัตย์สุจริต
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
การใช้ทักษะชีวิต
การใช้เทคโนโลยี
การคิด
การแก้ปัญหา
การสื่อสาร
มีจิต
สาธารณะ
หลักสูตร
มาตรฐานสากล
คุณลักษณะ
พึงประสงค์
5 ประการ
ร่วมกันรับผิดชอบ
ต่อสังคมโลก
ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ล้าหน้าความคิด
สื่อสาร2 ภาษา
เป็นเลิศวิชาการ
สาระการเรียนรู้
ทฤษฎีความรู้
(TOK)
รูปแบบการ
จัดการเรียนรู้
เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
พัฒนาเต็ม
ตามศักยภาพ
ใช้รูปแบบการ
สอนที่หลากหลาย
การจัดการ
ความรู้ : KM
ใช้ภาษา อังกฤษ
เป็นสื่อ
บูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
แบบผู้สอนคนเดียว
บูรณาการ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
บูรณาการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ICT และ Social Media
กระบวนการวิจัย
ชุมชนและท้องถิ่นนโยบาย 3D
คณิตศาสตร์
ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
แผนผังการจัดการเรียนรู้
รายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2553
ผู้สอน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การวิจัยในชั้นเรียน
Classroom Action
Research
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นโยบาย“นนทรีวิทยา2553ปีแห่งมาตรฐานสากลและคุณธรรมนาปัญญา”
การจัดการเรียนรู้บูรณาการ
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ เพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชา ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1
ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word)
เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ทดลองและจาแนกสารเป็น
กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาด
อนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบาย
สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม
ว 3.1 ม.1/1
- การจาแนกสารเป็น
กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือ
ขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์
และสมบัติของสารในแต่
ละกลุ่ม
- ทดลอง
- จาแนก
- อธิบาย
ใฝ่เรียนรู้
2. อธิบายสมบัติและการ
เปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้
แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาค
ของสาร ว 3.1 ม.1/2
- สมบัติและการเปลี่ยน
สถานะของสาร โดยใช้
แบบจาลองการจัดเรียง
อนุภาคของสาร
- อธิบาย ใฝ่เรียนรู้
3. ทดลองและอธิบายสมบัติ
ความเป็นกรด-เบสของสาระ
ละลาย ว 3.1 ม.1/3
- สมบัติความเป็นกรด-
เบสของสารละลาย
- ทดลอง
- อธิบาย
มุ่งมั่นในการทางาน
4. ตรวจสอบค่า pH ของสาระ
ละลายและนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์ ว 3.1 ม.1/4
- ค่าpH ของสาระ
ละลายและนาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
- สังเกต
- อภิปราย
มุ่งมั่นในการทางาน
5. ทดลองและอธิบายวิธี
เตรียมสารละลายที่มีความ
เข้มข้นเป็นร้อยละ และ
อภิปรายการนาความรู้เกี่ยวกับ
สารละลายไปใช้ประโยชน์
ว 3.2 ม.1/1
- วิธีเตรียมสารละลายที่
มีความเข้มข้นเป็นร้อย
ละ และการนาความรู้
เกี่ยวกับสารละลายไปใช้
ประโยชน์
- อธิบาย
- อภิปราย
ใฝ่เรียนรู้
6. ทดลองและอธิบายการ
เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ
พลังงานของสาร เมื่อสาร
เปลี่ยนสถานะและเกิดการ
ละลาย ว 3.2 ม.1/2
- การเปลี่ยนแปลง
สมบัติ มวล และพลังงาน
ของสาร เมื่อสารเปลี่ยน
สถานะและเกิดการ
ละลาย
- ทดลอง
- อธิบาย
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word)
เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่
มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและ
การละลายของสาร ว 3.2
ม.1/3
- ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนสถานะและการ
ละลายของสาร
- ทดลอง
- อธิบาย
ใฝ่เรียนรู้
8. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ
และการวัดอุณหภูมิ
ว 5.1 ม.1/1
- อุณหภูมิและการวัด
อุณหภูมิ
- ทดลอง
- อธิบาย
มุ่งมั่นในการทางาน
9. สังเกตและอธิบายการถ่าย
โอนความร้อน และนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/2
- การถ่ายโอนความร้อน
และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- สังเกต
- อธิบาย
ใฝ่เรียนรู้
10. อธิบายการดูดกลืน การ
คายความร้อน โดยการแผ่รังสี
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 5.1 ม.1/3
- การดูดกลืน การคาย
ความร้อน โดยการแผ่
รังสีและนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- อธิบาย ใฝ่เรียนรู้
11. อธิบายสมดุลความร้อน
และผลของความร้อนต่อการ
ขยายตัวของสารและนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/4
- สมดุลความร้อนและผล
ของความร้อนต่อการ
ขยายตัวของสารและนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
- อธิบาย ใฝ่เรียนรู้
12. สืบค้นและอธิบาย
องค์ประกอบและการแบ่งชั้น
บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก
ว 6.1 ม.1/1
- องค์ประกอบและการ
แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปก
คลุมผิวโลก
- สืบค้น
- อธิบาย
ใฝ่เรียนรู้
13. ทดลองและอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ
ความชื้นและความกดอากาศที่
มีผลต่อปรากฏทางลมฟ้า
อากาศ ว 6.1 ม.1/2
- ความสัมพันธ์ระหว่าง
อุณหภูมิ ความชื้นและ
ความกดอากาศที่มีผลต่อ
ปรากฏทางลมฟ้าอากาศ
- ทดลอง
- อธิบาย
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word)
เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์
14. ตั้งคาถามที่กาหนด
ประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญ
ในการสารวจตรวจสอบ หรือ
ศึกษาค้นคว้า เรื่องที่สนใจได้
อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
ว8.1ม.1/1
- - ตั้งคาถาม
- ศึกษาค้นคว้า
ซื่อสัตย์สุจริต
15. สร้างสมมติฐานที่สามารถ
ตรวจสอบได้และวางแผน
การสารวจตรวจสอบหลายๆ
วิธี ว8.1ม.1/2
- สร้างสมมติฐาน
- สารวจตรวจสอบ
ซื่อสัตย์สุจริต
16. เลือกเทคนิควิธีการสารวจ
ตรวจสอบ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วัสดุและ
เครื่องมือที่เหมาะสมว8.1ม.1/3
- - สารวจตรวจสอบ
- การใช้เครื่องมือ
ซื่อสัตย์สุจริต
17. รวบรวมข้อมูล จัดกระทา
ข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ
ว 8.1 ม.1/4
- - สารวจตรวจสอบ
- การจัดกระทาข้อมูล
มุ่งมั่นในการทางาน
18. วิเคราะห์และประเมินความ
สอดคล้องของประจักษ์พยาน
กับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือ
ขัดแย้งกับสมมติฐานและความ
ผิดปกติของข้อมูลจากการ
สารวจตรวจสอบ ว8.1ม.1/5
- - สารวจตรวจสอบ
- วิเคราะห์
มุ่งมั่นในการทางาน
19. สร้างแบบจาลอง หรือ
รูปแบบที่อธิบายผลหรือ
แสดงผลของการสารวจ
ตรวจสอบ ว 8.1 ม.1/6
- - สารวจตรวจสอบ
- สร้างแบบจาลอง
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word)
เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์
20. สร้างคาถามที่นาไปสู่การ
สารวจตรวจสอบในเรื่องที่
เกี่ยวข้องและนาความรู้ที่ได้ไปใช้
ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบาย
เกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและ
ผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้
ผู้อื่นเข้าใจ ว8.1 ม.1/7
- - สารวจตรวจสอบ
- อธิบาย
ใฝ่เรียนรู้
21. บันทึกและอธิบายผลการ
สังเกต การสารวจตรวจสอบ
ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่ง
ความรู้ต่างๆ ให้ได้ข้อมูลที่
เชื่อถือได้และยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ความรู้ที่
ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น
หรือโต้แย้งจากเดิม ว8.1 ม.1/8
- - บันทึก
- อธิบาย
- สังเกต
- สารวจตรวจสอบ
ใฝ่เรียนรู้
22. จัดแสดงผลงาน เขียน
รายงานและ/หรืออธิบายเกี่ยวกับ
แนวคิด กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรือชิ้นงานให้
ผู้อื่นเข้าใจ ว8.1ม.1/9
- - อธิบาย
- ปฏิบัติ
มุ่งมั่นในการทางาน
คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง
ศึกษาวิเคราะห์การจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และสมบัติของสาร
ในแต่ละกลุ่ม สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสารสม บัติความ
เป็นกรด-เบสของสาระละลาย ค่า pH ของสาระละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิธีเตรียมสารละลายที่มี
ความเข้มข้นเป็นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ
พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของ
สาร อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่ายโอนความร้อน การดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุล
ความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของสารและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ องค์ประกอบและการแบ่ง
ชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลกความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศที่มีผลต่อปรากฏทาง
ลมฟ้าอากาศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสาม ารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 3.1 ม.1/1 , ว 3.1 ม.1/2 , ว 3.1 ม.1/3 , ว 3.1 ม.1/4
ว 3.2 ม.1/1 , ว 3.2 ม.1/2 , ว 3.2 ม.1/3
ว 5.1 ม.1/1 , ว 5.1 ม.1/2 , ว 5.1 ม.1/3 , ว 5.1 ม.1/4
ว 6.1 ม.1/1 , ว 6.1 ม.1/2
ว8.1ม.1/1 , ว8.1ม.1/2 , ว8.1ม.1/3 , ว 8.1 ม.1/4 , ว8.1ม.1/5 , ว 8.1 ม.1/6 , ว8.1 ม.1/7 , ว8.1 ม.1/8
ว8.1ม.1/9
รวม 22 ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1
รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 1.5 หน่วยกิต
ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 100 คะแนน
ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
(Key Concept)
ชื่อหน่วยการ
เรียนรู้
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
1 ว8.1ม.1/1 ,
ว8.1ม.1/2 ,
ว8.1ม.1/3 ,
ว 8.1 ม.1/4 ,
ว8.1ม.1/5 ,
ว 8.1 ม.1/6 ,
ว8.1 ม.1/7 ,
ว8.1 ม.1/8 ,
ว8.1ม.1/9
การแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์
ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบ
เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing)
สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบายแสดง
ความคิดเห็นต่าง ๆรู้จักหาทางออกใน
การแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด
สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบ
วิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับ
สาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้
(Ways of Knowing ) จานวน 4
วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างค วามรู้จาก
การสัมผัสรับรู้ (Sense Perception)
สร้างความรู้จากการใช้ภาษา
(Language) สร้างความรู้จากการให้
เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้
จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion)
(บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎี
ความรู้ : Theory of Knowledge ตาม
หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล)
ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์
ได้มาอย่างไร
12 10
2 ว 3.2 ม.1/1 ,
ว 3.2 ม.1/2 ,
ว 3.2 ม.1/3
ว.8.1 ม.1/1
การจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อ
สารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ และ
สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม สมบัติ
และการเปลี่ยนสถานะของสาร โดย
ใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของ
สาร
สารรอบตัว 12 15
ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
(Key Concept)
ชื่อหน่วยการ
เรียนรู้
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
3 ว 3.2 ม.1/1 ,
ว 3.2 ม.1/2 ,
ว 3.2 ม.1/3
วิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น
เป็นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับ
สารละลายไปใช้ประโยชน์
การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ
พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยน
สถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มี
ผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการ
ละลายของสาร
สารละลาย 12 15
4 สรุปทบทวนภาพรวม(สอบกลางภาค) - 1 15
5 ว 3.1 ม.1/3 ,
ว 3.1 ม.1/4
สมบัติความเป็นกรด-เบสของสาระ
ละลาย ค่า pH ของสาระละลายและ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สารละลาย
กรด-เบส
10 10
6 ว 5.1 ม.1/1
ว 5.1 ม.1/2
ว 5.1 ม.1/3
ว 5.1 ม.1/4
อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่าย
โอนความร้อน การดูดกลืน การคาย
ความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุล
ความร้อนและผลของความร้อนต่อ
การขยายตัวของสารและนาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
พลังงานความ
ร้อน
12 15
7 สรุปทบทวนภาพรวม
(สอบปลายภาค)
- 1 20
รวม 60 100
การกาหนดเป้ าหมายของหน่วยการเรียนรู้
เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร
(บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge
ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล)
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร
(บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล)
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 10 ชั่วโมง
โรงเรียนนนทรีวิทยา
*****************************************************************************
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 8.1 :ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหารู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด
1. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่
สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ (ว8.1ม.1/1)
2. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี(ว8.1ม.1/2)
3. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย
โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม (ว8.1ม.1/3)
4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ(ว8.1ม.1/4)
5. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/5)
6. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/6)
7. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว8.1ม.1/7)
8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้
ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น
หรือโต้แย้งจากเดิม(ว8.1ม.1/8)
9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1ม.1/9)
สาระสาคัญ
การแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing)
สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบายแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด
สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Waysof
Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการ
ใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion)
สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. เชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้
(Ways of Knowing )
2. ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา (Understanding knowledge issues)
3. ความคิดเห็นของผู้เรียน (Knower Perspective) และ การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้
(Treatment of Knowledge issues)
4. ลักษณะของประเด็นความรู้(Identification of Knowledge issues)
5. การเขียนรายงานผลการศึกษาค้นคว้า
ทักษะ/กระบวนการ
1. ตั้งคาถาม
2. ศึกษาค้นคว้า
3. สร้างสมมติฐาน
4. สารวจตรวจสอบ
5. การใช้เครื่องมือ
6. การจัดกระทาข้อมูล
7. วิเคราะห์
8. สร้างแบบจาลอง
9. อธิบาย
10. บันทึก
11. สังเกต
12. ปฏิบัติ
คุณลักษณะพึงประสงค์
คุณลักษณะพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. รักความเป็นไทย
2. มีจิตสาธารณะ
3. อยู่อย่างพอเพียง
4. มีวินัย
5. ใฝ่เรียนรู้
6. ซื่อสัตย์สุจริต
7. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
8. มุ่งมั่นในการทางาน
คุณลักษณะพึงประสงค์หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
1. เป็นเลิศวิชาการ
2. สื่อสาร 2 ภาษา
3. ล้าหน้าความคิด
4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
ภาระงาน/ชิ้นงาน
เอกสารประกอบการเรียนสาระทฤษฏีความรู้
- งานเขียน(Essay)
- งานนาเสนอ (Oral)
การประเมินผล
เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร
(บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge
ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล)
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้(Theory of Knowledge ) การประเมินผลงาน
ข้อเขียนภาพรวมใช้เกณฑ์4 C ได้แก่ Content Creativity Critical Thinking และ Clarity ซึ่งมีความหมาย
โดยสังเขป ดังนี้
Content : Think: Knowledge Issue เนื้อหาคิด เกี่ยวกับประเด็นความรู้
Creativity : Think: Personal Thoughtความคิดสร้างสรรค์ คิด ความคิดส่วนตัว
CriticalThinking: Think: Argumentsการคิดวิเคราะห์ คิด การโต้แย้งคัดค้านและสนับสนุน
Clarity : Think: Well Structure Essay ความชัดเจนคิด การเรียบเรียงถูกต้อง
และในการประเมินเนื้อหาที่เป็นรายละเอียดจะจาแนกเกณฑ์ออกเป็น2 แบบ คือ
ตอนที่ 1 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินผลงานข้อเขียน
ตอนที่ 2 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินการสอบปากเปล่า( Oral )
ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน (Essay) การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง (relevant)
ของผลงานกับหัวข้อ/ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ(Depthofunderstanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้
อย่างกว้างขวาง(Broadthofunderstanding) แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และ
วิธีรับรู้
ก. ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา (Understandingknowledge issues)
ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด
0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1
1 – 2 ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาน้อยมาก มีการแสดงความเข้าใจประเด็นปัญหาน้อยเพียงแต่
กล่าวถึงสาขาวิชาเท่านั้น
3 – 4 ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาบ้าง มีการแสดงความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับประเด็นปัญหามีการ
เชื่อมโยงอย่างกว้าง ๆ กับสาขาวิชาและวิธีการรับรู้
5 – 6 ผลงานส่วนใหญ่พูดถึงประเด็นปัญหา มีการแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นปัญหาหลาย
ประการ มีการเชื่อมโยงอย่างจริงจังระหว่างสาขาวิชาต่างๆ กับวิธีการรับรู้
7 -8 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ได้อย่างลึกซึ้งมีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่าง
สาขาวิชาและวิธีการรับรู้อย่างแท้จริงผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้เป็นอย่างดี
9 -10 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ ได้อย่างลึกซึ้ง มีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่าง
สาขาวิชาและวิธีการรับรู้ได้อย่างสละสลวย ผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้อย่าง
ลึกซึ้ง
ข. ความคิดเห็นของผู้เรียน(Knower Perspective)
ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด
0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1
1 - 2 ผลงานไม่มีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเกี่ยวกับประเด็นความรู้มีความคิดเห็นส่วนตัวจากัด
มาก ไม่สะท้อนความพยายามของการค้นคว้าข้อมูลต่างๆไม่มีตัวอย่างที่เหมาะสม
3 – 4 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเล็กน้อยมีความคิดเห็นส่วนตัวบ้างมีการพูดถึงความ
คิดเห็นต่างๆแต่ไม่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมมีตัวอย่างที่เหมาะสมอยู่บ้างเป็นบางครั้ง
5 - 6 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระบ้างผู้เรียนเรียบเรียงผลงานในลักษณะแสดงความ
คิดเห็นของตนเองไปพร้อมๆกับการพูดถึงประเด็นความรู้มีการแสดงความตระหนักผ่านการ
แสดงความคิดเห็น ต่างๆ มีความพยายามที่จะแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่างๆ คัดเลือก
ตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม แม้ว่าจะมาจากแหล่งความรู้ที่มีความหลากหลายน้อย
7 -8 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเพียงพอผู้เรียนเรียบเรียงผลงานที่แสดงให้เห็นการคิด
อย่างถี่ถ้วน มีความคิดเห็นที่เป็นของตนเองมีความตระหนักรู้ในฐานะผู้รู้มีการยอมรับความ
คิดเห็นต่าง ๆ สะท้อนความพยายามที่จะค้นคว้าความรู้มีตัวอย่างที่เป็นจริงและหลากหลาย
9 -10 ผลงานมีหลักฐานแสดงความคิดที่เป็นอิสระมาก ผลงานมีความคิดอิสระ การค้นคว้าอย่างมี
วิจารณญาณมีความตระหนักในประเด็นความรู้มีความตระหนักในตนเองมีการพิจารณา
ความคิดเห็นต่างๆ อย่างจริงจัง ตัวอย่างที่เลือกมามีหลากหลายและมีการใช้อย่างจริงจัง
ค. คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ (Quality of analysis of knowledge issues)
ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด
0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1
1 – 2 ไม่มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้มีเพียงคาบรรยายไม่สะท้อนความพยายามที่จะแสดงเหตุผล
เกี่ยวกับประเด็นสาคัญมีหลักฐานเพียงเล็กน้อยที่ยืนยัน ความตระหนักรู้ในประเด็นความรู้
3 – 4 มีการวิเคราะห์บางประเด็นความรู้แต่บรรยายอย่างกว้างๆสะท้อนความพยายามที่จะแสดง
เหตุผล ในประเด็นสาคัญ มีข้อโต้แย้งที่เกี่ยวข้องไม่แสดงประเด็นขัดแย้งอย่างชัดเจน
5 – 6 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ประเด็นส่วนใหญ่มีการให้เหตุผล และข้อโต้แย้ง มีความ
ต่อเนื่อง
7 -8 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้งมีรายละเอียดของความรู้อย่างสอดคล้องและประเด็น
หรือเกือบจะทั้งหมดมีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้องและมีความต่อเนื่อง
9 -10 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้งมากมีรายละเอียดของความรู้ ประเด็นทั้งหมดทุก
ประเด็นมีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้อง มีความต่อเนื่องตามข้อบังคับในต่าง ๆ
ทุกประเด็น ได้มีการค้นคว้าให้เหตุผลทุกประเด็น
ง. การเรียบเรียงความคิด( Organization of ideas )
ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด
0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1
1-2 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเป็นไปตามรูปแบบใดบ้างน้อยมาก เข้าใจความตั้งใจของ
ผู้เขียนได้ยากมาก ข้อมูลนี้เป็นข้อเท็จจริงมีข้อผิดพลาดที่ชัดเจน ไม่มีการค้นคว้าไม่อ้างอิง
แหล่งค้นคว้า
3-4 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างน้อยบางครั้งเข้า
ใจความตั้งใจของผู้เขียนได้ยากมากมีความพยายามที่จะอธิบายความหมายของข้อความต่างๆ
แต่อธิบายได้ไม่ชัดเจน ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงไม่น่าเชื่อถือ(มีข้อผิดพลาดบ้างเล็กน้อย เช่น
การอ้างอิงแหล่งข้อมูล ไม่น่าเชื่อถือ) มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและความคิดเห็นการสืบค้น
และการอ้างอิงไม่สมบูรณ์
5-6 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาอยู่ในระดับเป็นที่น่าพอใจ การยึดรูปแบบ
โครงสร้าง มีการอธิบายประเด็นปัญหาอย่างเหมาะสมข้อมูลที่ใช้ในการยืนยัน สนับสนุน
ส่วนใหญ่มีความคิดถูกต้องมีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและอ้างอิงความคิดที่สามารถสืบทราบ
แหล่งที่มา แม้บางครั้งจะขาดความชัดเจนบ้างการใช้คาอยู่ในจานวนที่กาหนดในการเรียบ
เรียง
7-8 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาตามรูปแบบโครงสร้างได้ดี มีการอธิบายประเด็น
ปัญหาสาคัญอย่างชัดเจน มีการให้คาอธิบายขยายความประเด็นต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้องมีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้า และ
อ้างอิง ซึ่งการอ้างอิงส่วนใหญ่สามารถสืบทราบแหล่งที่มาได้มีการใช้คา การใช้คาในการ
เรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด
9-10 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างดีมากมีการอธิบาย
ประเด็นความรู้ ปัญหาอย่างชัดเจนและเหมาะสมพร้อมให้คาอธิบายประกอบอย่างละเอียด
ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้องบอกแหล่งค้นคว้าอ้างอิงที่สามารถ
สืบทราบแหล่งที่มาได้ การใช้คาในการเรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด
ตอนที่2การประเมินงานนาเสนอ(Oral)
ก. ลักษณะของประเด็นความรู้ (Identification of Knowledge issues)
ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด
0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1
1-2 การนาเสนอพูดถึงความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า
3-4 การนาเสนอพูดถึงความรู้บางประการที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า
5 อย่างชัดเจนและกระจ่าง
ข. การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้(Treatment of Knowledge issues)
ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด
0 ไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1
1-2 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้บางส่วน
3-4 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้พอสมควร
5 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้เป็นอย่างดี
ค. ความคิดเห็นของผู้เขียน (Answer’sperspective)
ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด
0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1
1-2 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นที่เป็นของตนอยู่ในขีดจากัด
ไม่ให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่อง
3-4 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนบางประการมีข้อมูล
ข้อคิดเห็นสนับสนุนให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องพอสมควร
5 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนอย่างเด่นชัดมีข้อมูล
ข้อคิดเห็นที่เป็นความคิดของตนเองให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องอย่างสมบูรณ์
แบบประเมินผล
เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร
(บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge
ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล)
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge )
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้(Theory of Knowledge ) จาแนกการประเมิน
ออกเป็น 2 ส่วน คือ
ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน(Essay)การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง(relevant) ของผลงาน
กับหัวข้อ/ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ(Depthofunderstanding)ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้ อย่างกว้างขวาง(Broadth
ofunderstanding)แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และวิธีรับรู้
ลาดับที่ หัวข้อประเมิน ระดับผลสัมฤทธิ์(เต็ม10คะแนน)
1 ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา (Understanding
knowledge issues)
2 ความคิดเห็นของผู้เรียน (Knower Perspective)
3 คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ (Quality of analysis of knowledge
issues)
4 การเรียบเรียงความคิด ( Organization of ideas )
รวมคะแนน (40 คะแนน)
ตอนที่2การประเมินงานนาเสนอ (Oral)
ลาดับที่ หัวข้อประเมิน ระดับผลสัมฤทธิ์(เต็ม5คะแนน)
1 ลักษณะของประเด็นความรู้(Identification of Knowledge issues)
2 การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้ (Treatment of Knowledge
issues)
3 ความคิดเห็นของผู้เขียน (Answer’s perspective)
รวมคะแนน (15 คะแนน)
คะแนนรวม ตอนที่ 1 + ตอนที่ 2 = 55 คะแนน คะแนนที่ได้ คือ ..............................................................
เกณฑ์การประเมินผล
51 – 55 คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม เกรด A
46 – 50 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก เกรด B
41 - 45 คะแนน อยู่ในระดับ ดี เกรด C
35 - 40 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้ เกรด D
ต่ากว่า 34 คะแนน อยู่ในระดับ ควรปรับปรุง เกรด F
ลงชื่อ..............................................................ครูที่ปรึกษา ลงชื่อ ......................................................................... ครูผู้สอน
(......................................................................) (......................................................................)
ระดับผลการเรียนรู้ที่ได้
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร
(บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge
ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล)
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
แผนการจัดการเรียนรู้
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไรเวลาทั้งหมด10 ชั่วโมง
เรื่อง เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้ เวลา10 ชั่วโมง
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 8.1 :ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหารู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด
1. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่
สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ (ว8.1ม.1/1)
2. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี(ว8.1ม.1/2)
3. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย
โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม (ว8.1ม.1/3)
4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ(ว8.1ม.1/4)
5. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/5)
6. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/6)
7. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว8.1ม.1/7)
8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้
ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ
โต้แย้งจากเดิม(ว8.1ม.1/8)
9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1ม.1/9)
สาระสาคัญ
วิชาทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) เป็นสาระการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องประเด็นความรู้ต่าง
ๆ (Knowledge Issues) องค์ความรู้ (Body of Knowledge) และทฤษฎีความรู้ (Theory of knowledge) ของสาระ
การเรียนรู้พื้นฐานทั้งหมด (Interdisciplinary) ในเชิงบูรณาการ ในเชิงปฏิบัติ ร่วมกันกาหนดเนื้อหา โดยวิธีการ
ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น การระดมสมอง การใช้แบบสอบถาม เกี่ยวกับประเด็นร้อนของสังคม เหตุการณ์
ปัจจุบันสภาพปัจจุบันและปัญหา ที่สังคมกาลังเผชิญหรือหัวข้อที่ผู้เรียน สนใจ เป็นต้น จากนั้นรวบรวมรายชื่อ
หัวข้อเรื่อง (Topic) อย่างเป็นระบบ โดยจัดเป็นเอกสารลักษณะรูปเล่ม (Directory) มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้
สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) สามารถ
ตั้งคาถามให้คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถ
เชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Ways of
Knowing )
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับ ทฤษฎีความรู้ได้
2. สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้
(Knowing)
3. สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหา
4. สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆและวิธีการรับ
ความรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1 เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้
1. ครูแนะนาและอธิบายเกี่ยวกับการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้
2. ครูนานักเรียนอภิปรายถึงจุดประสงค์ของการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้
3. นานักเรียนอภิปรายต่อไปถึงวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing )
4. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามสิ่งที่สงสัยและสนใจ
ชั่วโมงที่ 2-3 เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้
1. ครูอธิบายเกี่ยวกับการเรียนรู้ในสาระทฤษฎีความรู้ ซึ่งมีวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing )
จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่ วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา
(Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion)
2. นานักเรียนอภิปรายทากิจกรรมวิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้าง
ความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็น
อารมณ์ (Emotion)
3. นักเรียนและครูร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการรับรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
4. ครูชี้แจงและอธิบาย หน้าที่ ความรับผิดชอบของนักเรียน ในกิจกรรมการเรียนการสอนสาระทฤษฎี
ความรู้
5. ครูชี้แจงและอธิบาย เกณฑ์การวัดและประเมินผลสาระทฤษฎีความรู้ให้นักเรียนเข้าใจ
ชั่วโมงที่ 4 มาสนุกกับวิชาทฤษฎีความรู้กันดีกว่า
1. ครูนานักเรียนอภิปรายถึงความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องของวิชาทฤษฎีความรู้กับวิชาวิทยาศาสตร์
2. นานักเรียนอภิปรายต่อไป ถึงความหมายของคาต่อไปนี้
- องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- วิธีการทางวิทยาศาสตร์
3. ครูสุ่มนักเรียนเพื่อตอบคาถามและเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น
ชั่วโมงที่ 5 กาหนดและเลือกประเด็นความรู้
1. นักเรียนและครูร่วมกันกาหนดประเด็นความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์ดังนี้
2. นักเรียนลงทะเบียนเลือกประเด็นความรู้ที่สนใจลงในใบลงทะเบียนประเด็นความรู้ สาระTOK เสนอ
ให้ครูที่ปรึกษาและครูผู้สอนลงนามโดยครูอธิบายสิ่งที่เป็นประเด็นปัญหาของหัวข้อที่ผู้เรียนเลือก
3. ครูชี้แจงและแนะนาแผนการทางานของนักเรียนตามที่กาหนดไว้และร่วมกันกาหนดเวลาส่งงาน
ประเด็นความรู้ /หัวข้อ/ปัญหาของสาระ TOK สาหรับให้ผู้เรียนเลือก
1. อภิปรายวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นจากการสะสมข้อเท็จจริงเช่นเดียวกับศาสตร์สาขาอื่นๆ
(กล่าวถึงสาระการเรียนรู้อื่นๆ อย่างน้อย 3 สาระ)
2. อภิปรายแนวคิด“การปฎิบัติตามหลักการและความเชื่อทางพุทธศาสนามีความสอดคล้องกับ
หลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์”
3. อธิบายความหมายและบทบาทของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่างความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่สนใจ
พร้อมอธิบายที่มาของความรู้และรายละเอียดของความรู้นั้นๆ
ชั่วโมงที่ 6 วางแผนศึกษาค้นคว้า
1. นักเรียนวางแผนในการศึกษาค้นคว้าตามประเด็นความรู้ที่สนใจและได้เลือกไว้โดยวางแผนในหัวข้อดังนี้
- กาหนดประเด็นและหัวข้อที่สนใจในการศึกษาค้นคว้า
- กาหนดวิธีการที่นักเรียนใช้ในการศึกษาค้นคว้า
- กาหนดแหล่งข้อมูลที่นักเรียนใช้ในการศึกษาค้นคว้า
2. นักเรียนศึกษาหาข้อมูลตามประเด็นที่นักเรียนเลือกไว้โดยบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการสืบค้น
ข้อมูลตามหัวข้อที่กาหนดพร้อมอ้างอิงแหล่งที่มาให้ถูกต้อง ชัดเจน โดยครูชี้แนะชี้นาวิธีการวิเคราะห์ว่าอะไร
เป็นสาระของประเด็นปัญหา
ชั่วโมงที่ 7-8 การเขียนบทความวิชาการ
1. ครูอธิบายให้ความรู้และยกตัวอย่าง การเขียนบทความทางวิชาการ
2. ครูช่วยให้ผู้เรียนค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่มเติมนาเสนอความคิดเห็นในหลากหลายมุมมองเกี่ยวกับ
ประเด็นปัญหาและช่วยเหลือชี้แนะให้ผู้เรียนรู้จักการค้นคว้าแสวงหาความรู้และการรวบรวมข้อมูลจากการค้นคว้า
3. นักเรียนแต่ละคน เขียนบทความวิชาการสาระทฤษฎีความรู้ โดยเรียบเรียงความคิดเป็น
เอกสารรายงานผลการค้นคว้าความยาว1,200 – 1,600 คาโดยครูให้คาปรึกษาในการเรียบเรียงเป็นงานเขียน
ซึ่งผลงานจะต้องสะท้อนให้เห็นสิ่งต่อไปนี้
- ความเข้าใจลึกซึ้งในประเด็นปัญหา(Insight and Depth)
- อภิปรายตรงประเด็น(Main Point Justified )
- มีการโต้แย้งสนับสนุนและคัดค้าน(Argument)
- มีการตั้งสมมติฐานและผลการค้นคว้าหรือข้อค้นพบ(Assumptions and Implications)
ชั่วโมงที่ 9 ปรับปรุงและแก้ไขรายงานการค้นคว้า
1. นักเรียนส่งผลงานการค้นคว้า(ฉบับร่าง) ต่อครูผู้สอน
2. นักเรียนปรับแก้ไขผลงานตามคาแนะนาของครูที่ปรึกษาโดยครูติดตามความก้าวหน้าของการเขียน
งาน TOK ของผู้เรียนเป็นระยะ ๆ ตามที่ผู้เรียนกาหนดไว้ในแผนการปฏิบัติกิจกรรมของตนเอง
3. นักเรียนจัดทารายงานการค้นคว้าฉบับจริง
4. นักเรียนส่งผลงานฉบับจริงและนัดสอบปากเปล่า( Oral )
ชั่วโมงที่ 10 การประเมินผล
1. สอบปากเปล่า
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปประเด็นความรู้ที่นักเรียนศึกษาค้นคว้า วิพากษ์การเขียนรายงาน
การค้นคว้าและการสอบปากเปล่าของนักเรียน
3. วัดและประเมินผล
สื่อการเรียนรู้และ
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนนนทรีวิทยา
2. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แหล่งการเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. อินเตอร์เน็ต
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้(Theory of Knowledge ) ซึ่งจาแนกการประเมิน
ออกเป็น 2 ส่วน คือ
ตอนที่1การประเมินงานเขียน(Essay)การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง(relevant)
ของผลงานกับหัวข้อ/ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ(Depthofunderstanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้
อย่างกว้างขวาง(Broadthofunderstanding) แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และ
วิธีรับรู้
ตอนที่2การประเมินงานนาเสนอ(Oral)

More Related Content

What's hot

การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนSuchanan Papan
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
krupeem
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลาแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
Nontaporn Pilawut
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Ta Lattapol
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
Nontaporn Pilawut
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
Khunnawang Khunnawang
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นPratuan Kumjudpai
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Pinutchaya Nakchumroon
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
Ta Lattapol
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
Nontaporn Pilawut
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
Padvee Academy
 

What's hot (20)

การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลาแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน รองนนทพร รอบ ๒ ตุลา
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่น
 
ใบลาป่วยลากิจ
ใบลาป่วยลากิจใบลาป่วยลากิจ
ใบลาป่วยลากิจ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริย

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2krupornpana55
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
salinkarn sampim
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
Totsaporn Inthanin
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
JiruttiPommeChuaikho
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
wanitchaya001
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
poppai041507094142
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
teerayut123
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
nattapong147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริย (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
1
11
1
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Kobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 

แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริย

  • 1.
  • 2. คานา ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยโรงเรียนนนทรีวิทยา ได้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนนทรีวิทยา พุทธศักราช 2552 ขึ้น ตลอดจน โรงเรียนนนทรีวิทยา เป็นโรงเรียนผู้นาการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการกระจายอานาจ มุ่งพัฒนา สู่ห้องเรียน คุณภาพ และสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล ข้าพเจ้า นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ข้าราชการครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงได้จัดทาการ วิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชา โครงสร้างวิชา การกาหนดเป้าหมายขอ งหน่วยการเรียนรู้ การกาหนดภาระงานและการออกแบบการเรียนรู้ ของรายวิชา ว 21102 วิทยาศาสตร์ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง “แรงและการเคลื่อนที่ ” นี้ขึ้น โดยยึดแนวทางตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วย การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ฐาน (Problem-Based Learning) ตามขั้นตอนของ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พัฒนาสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และการออกแบบโดยยึดผลปลายทางเป็นหลัก ที่เรียกว่าBackward Design ที่มีการ ประเมินผลการเรียนรู้โดยการกาหนดเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้แบบRUBRIC หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นอกจากที่ข้าพเจ้าจะได้นาแผนการจัดการเรียนรู้นี้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว ยังจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนท่านอื่นๆ และผู้ที่สนใจเพื่อนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ตลอดจน เป็นผลงานทางวิชาการของข้าพเจ้า เพื่อการประเมินในโอกาสต่างๆต่อไป สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณ ท่านผู้อานวยการเชิดศักดิ์ ศุภโสภณท่านรองผู้อานวยการ สาคร กฤษดารัตน์ คุณ ครูณัฐพงศ์ เลิศชีวะ และคณะครูกลุ่มสาร ะการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกท่าน ที่ได้ ให้คาปรึกษาและ มีส่วนในการ สนับสนุนและช่วยเหลือ ให้สาเร็จลงด้วยดี หากมีข้อผิดพลาดหรือบกพร่องประการใด ขอกราบขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ผู้จัดทา
  • 3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนนนทรีวิทยา พุทธศักราช 2552 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คุณลักษณะพึงประสงค์ 8 ประการ สมรรถนะสาคัญของ ผู้เรียน 5 สมรรถนะ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร, สาระที่ 5 งานและพลังงาน สาระที่ 6 โลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก อยู่อย่าง พอเพียง รักความ เป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน ซื่อสัตย์สุจริต รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี การคิด การแก้ปัญหา การสื่อสาร มีจิต สาธารณะ หลักสูตร มาตรฐานสากล คุณลักษณะ พึงประสงค์ 5 ประการ ร่วมกันรับผิดชอบ ต่อสังคมโลก ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ล้าหน้าความคิด สื่อสาร2 ภาษา เป็นเลิศวิชาการ สาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้ (TOK) รูปแบบการ จัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ พัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ ใช้รูปแบบการ สอนที่หลากหลาย การจัดการ ความรู้ : KM ใช้ภาษา อังกฤษ เป็นสื่อ บูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ แบบผู้สอนคนเดียว บูรณาการ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ICT และ Social Media กระบวนการวิจัย ชุมชนและท้องถิ่นนโยบาย 3D คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ แผนผังการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2553 ผู้สอน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ การวิจัยในชั้นเรียน Classroom Action Research ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นโยบาย“นนทรีวิทยา2553ปีแห่งมาตรฐานสากลและคุณธรรมนาปัญญา” การจัดการเรียนรู้บูรณาการ
  • 4. แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ เพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชา ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1 ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word) เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ทดลองและจาแนกสารเป็น กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาด อนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบาย สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม ว 3.1 ม.1/1 - การจาแนกสารเป็น กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือ ขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ และสมบัติของสารในแต่ ละกลุ่ม - ทดลอง - จาแนก - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 2. อธิบายสมบัติและการ เปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้ แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาค ของสาร ว 3.1 ม.1/2 - สมบัติและการเปลี่ยน สถานะของสาร โดยใช้ แบบจาลองการจัดเรียง อนุภาคของสาร - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 3. ทดลองและอธิบายสมบัติ ความเป็นกรด-เบสของสาระ ละลาย ว 3.1 ม.1/3 - สมบัติความเป็นกรด- เบสของสารละลาย - ทดลอง - อธิบาย มุ่งมั่นในการทางาน 4. ตรวจสอบค่า pH ของสาระ ละลายและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 3.1 ม.1/4 - ค่าpH ของสาระ ละลายและนาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ - สังเกต - อภิปราย มุ่งมั่นในการทางาน 5. ทดลองและอธิบายวิธี เตรียมสารละลายที่มีความ เข้มข้นเป็นร้อยละ และ อภิปรายการนาความรู้เกี่ยวกับ สารละลายไปใช้ประโยชน์ ว 3.2 ม.1/1 - วิธีเตรียมสารละลายที่ มีความเข้มข้นเป็นร้อย ละ และการนาความรู้ เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ ประโยชน์ - อธิบาย - อภิปราย ใฝ่เรียนรู้ 6. ทดลองและอธิบายการ เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ พลังงานของสาร เมื่อสาร เปลี่ยนสถานะและเกิดการ ละลาย ว 3.2 ม.1/2 - การเปลี่ยนแปลง สมบัติ มวล และพลังงาน ของสาร เมื่อสารเปลี่ยน สถานะและเกิดการ ละลาย - ทดลอง - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้
  • 5. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word) เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่ มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและ การละลายของสาร ว 3.2 ม.1/3 - ปัจจัยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนสถานะและการ ละลายของสาร - ทดลอง - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 8. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ และการวัดอุณหภูมิ ว 5.1 ม.1/1 - อุณหภูมิและการวัด อุณหภูมิ - ทดลอง - อธิบาย มุ่งมั่นในการทางาน 9. สังเกตและอธิบายการถ่าย โอนความร้อน และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/2 - การถ่ายโอนความร้อน และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - สังเกต - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 10. อธิบายการดูดกลืน การ คายความร้อน โดยการแผ่รังสี และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/3 - การดูดกลืน การคาย ความร้อน โดยการแผ่ รังสีและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 11. อธิบายสมดุลความร้อน และผลของความร้อนต่อการ ขยายตัวของสารและนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/4 - สมดุลความร้อนและผล ของความร้อนต่อการ ขยายตัวของสารและนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 12. สืบค้นและอธิบาย องค์ประกอบและการแบ่งชั้น บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก ว 6.1 ม.1/1 - องค์ประกอบและการ แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปก คลุมผิวโลก - สืบค้น - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 13. ทดลองและอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศที่ มีผลต่อปรากฏทางลมฟ้า อากาศ ว 6.1 ม.1/2 - ความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ ความชื้นและ ความกดอากาศที่มีผลต่อ ปรากฏทางลมฟ้าอากาศ - ทดลอง - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้
  • 6. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word) เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 14. ตั้งคาถามที่กาหนด ประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญ ในการสารวจตรวจสอบ หรือ ศึกษาค้นคว้า เรื่องที่สนใจได้ อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว8.1ม.1/1 - - ตั้งคาถาม - ศึกษาค้นคว้า ซื่อสัตย์สุจริต 15. สร้างสมมติฐานที่สามารถ ตรวจสอบได้และวางแผน การสารวจตรวจสอบหลายๆ วิธี ว8.1ม.1/2 - สร้างสมมติฐาน - สารวจตรวจสอบ ซื่อสัตย์สุจริต 16. เลือกเทคนิควิธีการสารวจ ตรวจสอบ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย โดยใช้วัสดุและ เครื่องมือที่เหมาะสมว8.1ม.1/3 - - สารวจตรวจสอบ - การใช้เครื่องมือ ซื่อสัตย์สุจริต 17. รวบรวมข้อมูล จัดกระทา ข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ ว 8.1 ม.1/4 - - สารวจตรวจสอบ - การจัดกระทาข้อมูล มุ่งมั่นในการทางาน 18. วิเคราะห์และประเมินความ สอดคล้องของประจักษ์พยาน กับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือ ขัดแย้งกับสมมติฐานและความ ผิดปกติของข้อมูลจากการ สารวจตรวจสอบ ว8.1ม.1/5 - - สารวจตรวจสอบ - วิเคราะห์ มุ่งมั่นในการทางาน 19. สร้างแบบจาลอง หรือ รูปแบบที่อธิบายผลหรือ แสดงผลของการสารวจ ตรวจสอบ ว 8.1 ม.1/6 - - สารวจตรวจสอบ - สร้างแบบจาลอง ใฝ่เรียนรู้
  • 7. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Key word) เนื้อหา/ความรู้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 20. สร้างคาถามที่นาไปสู่การ สารวจตรวจสอบในเรื่องที่ เกี่ยวข้องและนาความรู้ที่ได้ไปใช้ ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบาย เกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและ ผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ ผู้อื่นเข้าใจ ว8.1 ม.1/7 - - สารวจตรวจสอบ - อธิบาย ใฝ่เรียนรู้ 21. บันทึกและอธิบายผลการ สังเกต การสารวจตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่ง ความรู้ต่างๆ ให้ได้ข้อมูลที่ เชื่อถือได้และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ความรู้ที่ ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรือโต้แย้งจากเดิม ว8.1 ม.1/8 - - บันทึก - อธิบาย - สังเกต - สารวจตรวจสอบ ใฝ่เรียนรู้ 22. จัดแสดงผลงาน เขียน รายงานและ/หรืออธิบายเกี่ยวกับ แนวคิด กระบวนการ และผล ของโครงงานหรือชิ้นงานให้ ผู้อื่นเข้าใจ ว8.1ม.1/9 - - อธิบาย - ปฏิบัติ มุ่งมั่นในการทางาน
  • 8. คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์การจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และสมบัติของสาร ในแต่ละกลุ่ม สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสารสม บัติความ เป็นกรด-เบสของสาระละลาย ค่า pH ของสาระละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิธีเตรียมสารละลายที่มี ความเข้มข้นเป็นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของ สาร อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่ายโอนความร้อน การดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุล ความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของสารและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ องค์ประกอบและการแบ่ง ชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลกความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศที่มีผลต่อปรากฏทาง ลมฟ้าอากาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสาม ารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 3.1 ม.1/1 , ว 3.1 ม.1/2 , ว 3.1 ม.1/3 , ว 3.1 ม.1/4 ว 3.2 ม.1/1 , ว 3.2 ม.1/2 , ว 3.2 ม.1/3 ว 5.1 ม.1/1 , ว 5.1 ม.1/2 , ว 5.1 ม.1/3 , ว 5.1 ม.1/4 ว 6.1 ม.1/1 , ว 6.1 ม.1/2 ว8.1ม.1/1 , ว8.1ม.1/2 , ว8.1ม.1/3 , ว 8.1 ม.1/4 , ว8.1ม.1/5 , ว 8.1 ม.1/6 , ว8.1 ม.1/7 , ว8.1 ม.1/8 ว8.1ม.1/9 รวม 22 ตัวชี้วัด
  • 9. โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 100 คะแนน ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ (Key Concept) ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 ว8.1ม.1/1 , ว8.1ม.1/2 , ว8.1ม.1/3 , ว 8.1 ม.1/4 , ว8.1ม.1/5 , ว 8.1 ม.1/6 , ว8.1 ม.1/7 , ว8.1 ม.1/8 , ว8.1ม.1/9 การแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบ เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบายแสดง ความคิดเห็นต่าง ๆรู้จักหาทางออกใน การแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบ วิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับ สาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างค วามรู้จาก การสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้ เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้ จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion) (บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎี ความรู้ : Theory of Knowledge ตาม หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล) ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ได้มาอย่างไร 12 10 2 ว 3.2 ม.1/1 , ว 3.2 ม.1/2 , ว 3.2 ม.1/3 ว.8.1 ม.1/1 การจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อ สารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ และ สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม สมบัติ และการเปลี่ยนสถานะของสาร โดย ใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของ สาร สารรอบตัว 12 15
  • 10. ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ (Key Concept) ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 3 ว 3.2 ม.1/1 , ว 3.2 ม.1/2 , ว 3.2 ม.1/3 วิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น เป็นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับ สารละลายไปใช้ประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยน สถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มี ผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการ ละลายของสาร สารละลาย 12 15 4 สรุปทบทวนภาพรวม(สอบกลางภาค) - 1 15 5 ว 3.1 ม.1/3 , ว 3.1 ม.1/4 สมบัติความเป็นกรด-เบสของสาระ ละลาย ค่า pH ของสาระละลายและ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สารละลาย กรด-เบส 10 10 6 ว 5.1 ม.1/1 ว 5.1 ม.1/2 ว 5.1 ม.1/3 ว 5.1 ม.1/4 อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่าย โอนความร้อน การดูดกลืน การคาย ความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุล ความร้อนและผลของความร้อนต่อ การขยายตัวของสารและนาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ พลังงานความ ร้อน 12 15 7 สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายภาค) - 1 20 รวม 60 100
  • 11. การกาหนดเป้ าหมายของหน่วยการเรียนรู้ เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร (บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล) รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
  • 12. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร (บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล) รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 10 ชั่วโมง โรงเรียนนนทรีวิทยา ***************************************************************************** มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 8.1 :ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหารู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด 1. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ (ว8.1ม.1/1) 2. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี(ว8.1ม.1/2) 3. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม (ว8.1ม.1/3) 4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ(ว8.1ม.1/4) 5. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/5) 6. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/6) 7. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว8.1ม.1/7) 8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรือโต้แย้งจากเดิม(ว8.1ม.1/8) 9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1ม.1/9)
  • 13. สาระสาคัญ การแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบายแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Waysof Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการ ใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion) สาระการเรียนรู้ ความรู้ 1. เชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing ) 2. ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา (Understanding knowledge issues) 3. ความคิดเห็นของผู้เรียน (Knower Perspective) และ การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้ (Treatment of Knowledge issues) 4. ลักษณะของประเด็นความรู้(Identification of Knowledge issues) 5. การเขียนรายงานผลการศึกษาค้นคว้า ทักษะ/กระบวนการ 1. ตั้งคาถาม 2. ศึกษาค้นคว้า 3. สร้างสมมติฐาน 4. สารวจตรวจสอบ 5. การใช้เครื่องมือ 6. การจัดกระทาข้อมูล 7. วิเคราะห์ 8. สร้างแบบจาลอง 9. อธิบาย 10. บันทึก 11. สังเกต 12. ปฏิบัติ
  • 14. คุณลักษณะพึงประสงค์ คุณลักษณะพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. รักความเป็นไทย 2. มีจิตสาธารณะ 3. อยู่อย่างพอเพียง 4. มีวินัย 5. ใฝ่เรียนรู้ 6. ซื่อสัตย์สุจริต 7. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 8. มุ่งมั่นในการทางาน คุณลักษณะพึงประสงค์หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสาร 2 ภาษา 3. ล้าหน้าความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก ภาระงาน/ชิ้นงาน เอกสารประกอบการเรียนสาระทฤษฏีความรู้ - งานเขียน(Essay) - งานนาเสนอ (Oral)
  • 15. การประเมินผล เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร (บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล) รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
  • 16. ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้(Theory of Knowledge ) การประเมินผลงาน ข้อเขียนภาพรวมใช้เกณฑ์4 C ได้แก่ Content Creativity Critical Thinking และ Clarity ซึ่งมีความหมาย โดยสังเขป ดังนี้ Content : Think: Knowledge Issue เนื้อหาคิด เกี่ยวกับประเด็นความรู้ Creativity : Think: Personal Thoughtความคิดสร้างสรรค์ คิด ความคิดส่วนตัว CriticalThinking: Think: Argumentsการคิดวิเคราะห์ คิด การโต้แย้งคัดค้านและสนับสนุน Clarity : Think: Well Structure Essay ความชัดเจนคิด การเรียบเรียงถูกต้อง และในการประเมินเนื้อหาที่เป็นรายละเอียดจะจาแนกเกณฑ์ออกเป็น2 แบบ คือ ตอนที่ 1 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินผลงานข้อเขียน ตอนที่ 2 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินการสอบปากเปล่า( Oral ) ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน (Essay) การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง (relevant) ของผลงานกับหัวข้อ/ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ(Depthofunderstanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้ อย่างกว้างขวาง(Broadthofunderstanding) แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และ วิธีรับรู้ ก. ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา (Understandingknowledge issues) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1 1 – 2 ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาน้อยมาก มีการแสดงความเข้าใจประเด็นปัญหาน้อยเพียงแต่ กล่าวถึงสาขาวิชาเท่านั้น 3 – 4 ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาบ้าง มีการแสดงความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับประเด็นปัญหามีการ เชื่อมโยงอย่างกว้าง ๆ กับสาขาวิชาและวิธีการรับรู้ 5 – 6 ผลงานส่วนใหญ่พูดถึงประเด็นปัญหา มีการแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นปัญหาหลาย ประการ มีการเชื่อมโยงอย่างจริงจังระหว่างสาขาวิชาต่างๆ กับวิธีการรับรู้ 7 -8 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ได้อย่างลึกซึ้งมีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่าง สาขาวิชาและวิธีการรับรู้อย่างแท้จริงผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้เป็นอย่างดี 9 -10 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ ได้อย่างลึกซึ้ง มีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่าง สาขาวิชาและวิธีการรับรู้ได้อย่างสละสลวย ผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้อย่าง ลึกซึ้ง
  • 17. ข. ความคิดเห็นของผู้เรียน(Knower Perspective) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1 1 - 2 ผลงานไม่มีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเกี่ยวกับประเด็นความรู้มีความคิดเห็นส่วนตัวจากัด มาก ไม่สะท้อนความพยายามของการค้นคว้าข้อมูลต่างๆไม่มีตัวอย่างที่เหมาะสม 3 – 4 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเล็กน้อยมีความคิดเห็นส่วนตัวบ้างมีการพูดถึงความ คิดเห็นต่างๆแต่ไม่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมมีตัวอย่างที่เหมาะสมอยู่บ้างเป็นบางครั้ง 5 - 6 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระบ้างผู้เรียนเรียบเรียงผลงานในลักษณะแสดงความ คิดเห็นของตนเองไปพร้อมๆกับการพูดถึงประเด็นความรู้มีการแสดงความตระหนักผ่านการ แสดงความคิดเห็น ต่างๆ มีความพยายามที่จะแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่างๆ คัดเลือก ตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม แม้ว่าจะมาจากแหล่งความรู้ที่มีความหลากหลายน้อย 7 -8 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเพียงพอผู้เรียนเรียบเรียงผลงานที่แสดงให้เห็นการคิด อย่างถี่ถ้วน มีความคิดเห็นที่เป็นของตนเองมีความตระหนักรู้ในฐานะผู้รู้มีการยอมรับความ คิดเห็นต่าง ๆ สะท้อนความพยายามที่จะค้นคว้าความรู้มีตัวอย่างที่เป็นจริงและหลากหลาย 9 -10 ผลงานมีหลักฐานแสดงความคิดที่เป็นอิสระมาก ผลงานมีความคิดอิสระ การค้นคว้าอย่างมี วิจารณญาณมีความตระหนักในประเด็นความรู้มีความตระหนักในตนเองมีการพิจารณา ความคิดเห็นต่างๆ อย่างจริงจัง ตัวอย่างที่เลือกมามีหลากหลายและมีการใช้อย่างจริงจัง ค. คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ (Quality of analysis of knowledge issues) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1 1 – 2 ไม่มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้มีเพียงคาบรรยายไม่สะท้อนความพยายามที่จะแสดงเหตุผล เกี่ยวกับประเด็นสาคัญมีหลักฐานเพียงเล็กน้อยที่ยืนยัน ความตระหนักรู้ในประเด็นความรู้ 3 – 4 มีการวิเคราะห์บางประเด็นความรู้แต่บรรยายอย่างกว้างๆสะท้อนความพยายามที่จะแสดง เหตุผล ในประเด็นสาคัญ มีข้อโต้แย้งที่เกี่ยวข้องไม่แสดงประเด็นขัดแย้งอย่างชัดเจน 5 – 6 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ประเด็นส่วนใหญ่มีการให้เหตุผล และข้อโต้แย้ง มีความ ต่อเนื่อง 7 -8 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้งมีรายละเอียดของความรู้อย่างสอดคล้องและประเด็น หรือเกือบจะทั้งหมดมีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้องและมีความต่อเนื่อง 9 -10 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้งมากมีรายละเอียดของความรู้ ประเด็นทั้งหมดทุก ประเด็นมีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้อง มีความต่อเนื่องตามข้อบังคับในต่าง ๆ ทุกประเด็น ได้มีการค้นคว้าให้เหตุผลทุกประเด็น
  • 18. ง. การเรียบเรียงความคิด( Organization of ideas ) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1 1-2 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเป็นไปตามรูปแบบใดบ้างน้อยมาก เข้าใจความตั้งใจของ ผู้เขียนได้ยากมาก ข้อมูลนี้เป็นข้อเท็จจริงมีข้อผิดพลาดที่ชัดเจน ไม่มีการค้นคว้าไม่อ้างอิง แหล่งค้นคว้า 3-4 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างน้อยบางครั้งเข้า ใจความตั้งใจของผู้เขียนได้ยากมากมีความพยายามที่จะอธิบายความหมายของข้อความต่างๆ แต่อธิบายได้ไม่ชัดเจน ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงไม่น่าเชื่อถือ(มีข้อผิดพลาดบ้างเล็กน้อย เช่น การอ้างอิงแหล่งข้อมูล ไม่น่าเชื่อถือ) มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและความคิดเห็นการสืบค้น และการอ้างอิงไม่สมบูรณ์ 5-6 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาอยู่ในระดับเป็นที่น่าพอใจ การยึดรูปแบบ โครงสร้าง มีการอธิบายประเด็นปัญหาอย่างเหมาะสมข้อมูลที่ใช้ในการยืนยัน สนับสนุน ส่วนใหญ่มีความคิดถูกต้องมีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและอ้างอิงความคิดที่สามารถสืบทราบ แหล่งที่มา แม้บางครั้งจะขาดความชัดเจนบ้างการใช้คาอยู่ในจานวนที่กาหนดในการเรียบ เรียง 7-8 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาตามรูปแบบโครงสร้างได้ดี มีการอธิบายประเด็น ปัญหาสาคัญอย่างชัดเจน มีการให้คาอธิบายขยายความประเด็นต่างๆได้อย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้องมีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้า และ อ้างอิง ซึ่งการอ้างอิงส่วนใหญ่สามารถสืบทราบแหล่งที่มาได้มีการใช้คา การใช้คาในการ เรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด 9-10 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างดีมากมีการอธิบาย ประเด็นความรู้ ปัญหาอย่างชัดเจนและเหมาะสมพร้อมให้คาอธิบายประกอบอย่างละเอียด ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้องบอกแหล่งค้นคว้าอ้างอิงที่สามารถ สืบทราบแหล่งที่มาได้ การใช้คาในการเรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด
  • 19. ตอนที่2การประเมินงานนาเสนอ(Oral) ก. ลักษณะของประเด็นความรู้ (Identification of Knowledge issues) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1 1-2 การนาเสนอพูดถึงความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า 3-4 การนาเสนอพูดถึงความรู้บางประการที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า 5 อย่างชัดเจนและกระจ่าง ข. การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้(Treatment of Knowledge issues) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1 1-2 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้บางส่วน 3-4 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้พอสมควร 5 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้เป็นอย่างดี ค. ความคิดเห็นของผู้เขียน (Answer’sperspective) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ1 1-2 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นที่เป็นของตนอยู่ในขีดจากัด ไม่ให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่อง 3-4 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนบางประการมีข้อมูล ข้อคิดเห็นสนับสนุนให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องพอสมควร 5 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนอย่างเด่นชัดมีข้อมูล ข้อคิดเห็นที่เป็นความคิดของตนเองให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องอย่างสมบูรณ์
  • 20. แบบประเมินผล เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร (บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล) รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
  • 21. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge ) ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้(Theory of Knowledge ) จาแนกการประเมิน ออกเป็น 2 ส่วน คือ ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน(Essay)การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง(relevant) ของผลงาน กับหัวข้อ/ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ(Depthofunderstanding)ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้ อย่างกว้างขวาง(Broadth ofunderstanding)แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และวิธีรับรู้ ลาดับที่ หัวข้อประเมิน ระดับผลสัมฤทธิ์(เต็ม10คะแนน) 1 ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา (Understanding knowledge issues) 2 ความคิดเห็นของผู้เรียน (Knower Perspective) 3 คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ (Quality of analysis of knowledge issues) 4 การเรียบเรียงความคิด ( Organization of ideas ) รวมคะแนน (40 คะแนน) ตอนที่2การประเมินงานนาเสนอ (Oral) ลาดับที่ หัวข้อประเมิน ระดับผลสัมฤทธิ์(เต็ม5คะแนน) 1 ลักษณะของประเด็นความรู้(Identification of Knowledge issues) 2 การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้ (Treatment of Knowledge issues) 3 ความคิดเห็นของผู้เขียน (Answer’s perspective) รวมคะแนน (15 คะแนน) คะแนนรวม ตอนที่ 1 + ตอนที่ 2 = 55 คะแนน คะแนนที่ได้ คือ .............................................................. เกณฑ์การประเมินผล 51 – 55 คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม เกรด A 46 – 50 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก เกรด B 41 - 45 คะแนน อยู่ในระดับ ดี เกรด C 35 - 40 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้ เกรด D ต่ากว่า 34 คะแนน อยู่ในระดับ ควรปรับปรุง เกรด F ลงชื่อ..............................................................ครูที่ปรึกษา ลงชื่อ ......................................................................... ครูผู้สอน (......................................................................) (......................................................................) ระดับผลการเรียนรู้ที่ได้
  • 22. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร (บูรณาการสาระการเรียนรู้ ทฤษฎีความรู้: Theory of Knowledge ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล) รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
  • 23. แผนการจัดการเรียนรู้ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไรเวลาทั้งหมด10 ชั่วโมง เรื่อง เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้ เวลา10 ชั่วโมง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 8.1 :ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหารู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด 1. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ (ว8.1ม.1/1) 2. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี(ว8.1ม.1/2) 3. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม (ว8.1ม.1/3) 4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ(ว8.1ม.1/4) 5. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/5) 6. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ(ว8.1ม.1/6) 7. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว8.1ม.1/7) 8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ โต้แย้งจากเดิม(ว8.1ม.1/8) 9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1ม.1/9)
  • 24. สาระสาคัญ วิชาทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) เป็นสาระการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องประเด็นความรู้ต่าง ๆ (Knowledge Issues) องค์ความรู้ (Body of Knowledge) และทฤษฎีความรู้ (Theory of knowledge) ของสาระ การเรียนรู้พื้นฐานทั้งหมด (Interdisciplinary) ในเชิงบูรณาการ ในเชิงปฏิบัติ ร่วมกันกาหนดเนื้อหา โดยวิธีการ ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น การระดมสมอง การใช้แบบสอบถาม เกี่ยวกับประเด็นร้อนของสังคม เหตุการณ์ ปัจจุบันสภาพปัจจุบันและปัญหา ที่สังคมกาลังเผชิญหรือหัวข้อที่ผู้เรียน สนใจ เป็นต้น จากนั้นรวบรวมรายชื่อ หัวข้อเรื่อง (Topic) อย่างเป็นระบบ โดยจัดเป็นเอกสารลักษณะรูปเล่ม (Directory) มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) สามารถ ตั้งคาถามให้คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถ เชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing ) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับ ทฤษฎีความรู้ได้ 2. สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) 3. สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหา 4. สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆและวิธีการรับ ความรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้ 1. ครูแนะนาและอธิบายเกี่ยวกับการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้ 2. ครูนานักเรียนอภิปรายถึงจุดประสงค์ของการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้ 3. นานักเรียนอภิปรายต่อไปถึงวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing ) 4. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามสิ่งที่สงสัยและสนใจ ชั่วโมงที่ 2-3 เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้ 1. ครูอธิบายเกี่ยวกับการเรียนรู้ในสาระทฤษฎีความรู้ ซึ่งมีวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่ วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion)
  • 25. 2. นานักเรียนอภิปรายทากิจกรรมวิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้าง ความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็น อารมณ์ (Emotion) 3. นักเรียนและครูร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการรับรู้ด้วยวิธีการต่างๆ 4. ครูชี้แจงและอธิบาย หน้าที่ ความรับผิดชอบของนักเรียน ในกิจกรรมการเรียนการสอนสาระทฤษฎี ความรู้ 5. ครูชี้แจงและอธิบาย เกณฑ์การวัดและประเมินผลสาระทฤษฎีความรู้ให้นักเรียนเข้าใจ ชั่วโมงที่ 4 มาสนุกกับวิชาทฤษฎีความรู้กันดีกว่า 1. ครูนานักเรียนอภิปรายถึงความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องของวิชาทฤษฎีความรู้กับวิชาวิทยาศาสตร์ 2. นานักเรียนอภิปรายต่อไป ถึงความหมายของคาต่อไปนี้ - องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. ครูสุ่มนักเรียนเพื่อตอบคาถามและเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น ชั่วโมงที่ 5 กาหนดและเลือกประเด็นความรู้ 1. นักเรียนและครูร่วมกันกาหนดประเด็นความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์ดังนี้ 2. นักเรียนลงทะเบียนเลือกประเด็นความรู้ที่สนใจลงในใบลงทะเบียนประเด็นความรู้ สาระTOK เสนอ ให้ครูที่ปรึกษาและครูผู้สอนลงนามโดยครูอธิบายสิ่งที่เป็นประเด็นปัญหาของหัวข้อที่ผู้เรียนเลือก 3. ครูชี้แจงและแนะนาแผนการทางานของนักเรียนตามที่กาหนดไว้และร่วมกันกาหนดเวลาส่งงาน ประเด็นความรู้ /หัวข้อ/ปัญหาของสาระ TOK สาหรับให้ผู้เรียนเลือก 1. อภิปรายวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นจากการสะสมข้อเท็จจริงเช่นเดียวกับศาสตร์สาขาอื่นๆ (กล่าวถึงสาระการเรียนรู้อื่นๆ อย่างน้อย 3 สาระ) 2. อภิปรายแนวคิด“การปฎิบัติตามหลักการและความเชื่อทางพุทธศาสนามีความสอดคล้องกับ หลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์” 3. อธิบายความหมายและบทบาทของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่างความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่สนใจ พร้อมอธิบายที่มาของความรู้และรายละเอียดของความรู้นั้นๆ
  • 26. ชั่วโมงที่ 6 วางแผนศึกษาค้นคว้า 1. นักเรียนวางแผนในการศึกษาค้นคว้าตามประเด็นความรู้ที่สนใจและได้เลือกไว้โดยวางแผนในหัวข้อดังนี้ - กาหนดประเด็นและหัวข้อที่สนใจในการศึกษาค้นคว้า - กาหนดวิธีการที่นักเรียนใช้ในการศึกษาค้นคว้า - กาหนดแหล่งข้อมูลที่นักเรียนใช้ในการศึกษาค้นคว้า 2. นักเรียนศึกษาหาข้อมูลตามประเด็นที่นักเรียนเลือกไว้โดยบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการสืบค้น ข้อมูลตามหัวข้อที่กาหนดพร้อมอ้างอิงแหล่งที่มาให้ถูกต้อง ชัดเจน โดยครูชี้แนะชี้นาวิธีการวิเคราะห์ว่าอะไร เป็นสาระของประเด็นปัญหา ชั่วโมงที่ 7-8 การเขียนบทความวิชาการ 1. ครูอธิบายให้ความรู้และยกตัวอย่าง การเขียนบทความทางวิชาการ 2. ครูช่วยให้ผู้เรียนค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่มเติมนาเสนอความคิดเห็นในหลากหลายมุมมองเกี่ยวกับ ประเด็นปัญหาและช่วยเหลือชี้แนะให้ผู้เรียนรู้จักการค้นคว้าแสวงหาความรู้และการรวบรวมข้อมูลจากการค้นคว้า 3. นักเรียนแต่ละคน เขียนบทความวิชาการสาระทฤษฎีความรู้ โดยเรียบเรียงความคิดเป็น เอกสารรายงานผลการค้นคว้าความยาว1,200 – 1,600 คาโดยครูให้คาปรึกษาในการเรียบเรียงเป็นงานเขียน ซึ่งผลงานจะต้องสะท้อนให้เห็นสิ่งต่อไปนี้ - ความเข้าใจลึกซึ้งในประเด็นปัญหา(Insight and Depth) - อภิปรายตรงประเด็น(Main Point Justified ) - มีการโต้แย้งสนับสนุนและคัดค้าน(Argument) - มีการตั้งสมมติฐานและผลการค้นคว้าหรือข้อค้นพบ(Assumptions and Implications) ชั่วโมงที่ 9 ปรับปรุงและแก้ไขรายงานการค้นคว้า 1. นักเรียนส่งผลงานการค้นคว้า(ฉบับร่าง) ต่อครูผู้สอน 2. นักเรียนปรับแก้ไขผลงานตามคาแนะนาของครูที่ปรึกษาโดยครูติดตามความก้าวหน้าของการเขียน งาน TOK ของผู้เรียนเป็นระยะ ๆ ตามที่ผู้เรียนกาหนดไว้ในแผนการปฏิบัติกิจกรรมของตนเอง 3. นักเรียนจัดทารายงานการค้นคว้าฉบับจริง 4. นักเรียนส่งผลงานฉบับจริงและนัดสอบปากเปล่า( Oral ) ชั่วโมงที่ 10 การประเมินผล 1. สอบปากเปล่า 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปประเด็นความรู้ที่นักเรียนศึกษาค้นคว้า วิพากษ์การเขียนรายงาน การค้นคว้าและการสอบปากเปล่าของนักเรียน 3. วัดและประเมินผล
  • 27. สื่อการเรียนรู้และ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนนนทรีวิทยา 2. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. อินเตอร์เน็ต การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้(Theory of Knowledge ) ซึ่งจาแนกการประเมิน ออกเป็น 2 ส่วน คือ ตอนที่1การประเมินงานเขียน(Essay)การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง(relevant) ของผลงานกับหัวข้อ/ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ(Depthofunderstanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้ อย่างกว้างขวาง(Broadthofunderstanding) แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และ วิธีรับรู้ ตอนที่2การประเมินงานนาเสนอ(Oral)