SlideShare a Scribd company logo
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โภชนาการเพื่อสุขภาพในแต่ละวัน
ผู้ทาโครงงาน
นางสาวพิชญาภรณ์ เงินคาคง เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา62
โรงเรียนยพุราชวิทยาลัย จังหววัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวพิชญาภรณ์ เงินคาคง เลขที่ 25
คาชี้แจงให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โภชนาการเพื่อสุขภาพในแต่ละวัน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Daily nutrition for health
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อสุขภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชญาภรณ์ เงินคาคง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงทที่มาแนวคิดและเหตุผลของการทาโครงงาน)
โครงงานเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพนี้จัดทาขึ้นเพราะเนื่องจากปัจจุบันคนไทยส่วนใหญ่รับประทาน
อาหารที่ไม่มีประโยชน์และไม่ครบ 5 หมู่ตามที่ธงโภชนาการได้กาหนดไว้ และต้องการศึกษาเรื่องที่ทาเป็น
เรื่องใหม่และน่าสนใจอย่างยิ่ง จากปัญหาทั่วโลกจากประเทศต่างๆในการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องเกิด
ความเสียงต่อการเป็นโรคต่างๆ เช่นโรคมะเร็งลาไส้ โรคเบาหวาน โรคอ้วน โดยเฉพาะในแถบยุโรปที่
บริโภคอาหารจาพวกแป้งเป็นส่วนใหญ่ด้วยเหตุนี้เองจึงเป็นแนวคิดและที่มาเพื่อที่จะศึกษา และจากตัวอย่าง
ที่ได้เห็นมาในประชากรประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง กินแต่
ของหวานเกินไป เค็มเกินไป ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพ โรคที่คนส่วนใหญ่ในประเทศไทยเป็นคือ โรค
เบาหวาน โรคอ้วน เป็นจานวนมากซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ดีเลย จึงได้จัดทาโครงงานเรื่องนี้ขึ้นมาเพื่อใช้เป็น
ประโยชน์แก่คนทั่ว เพื่อให้คนทุกคนได้นาไปปฏิบัติบริโภคอย่างถูกวิธี ส่งเสริมสุขภาพทุกคนให้แข็งแรง
และสมบูรณ์และจะส่งผมที่ดีต่อสุขภาพจิตด้วย ปัจจุบันอาหารเพื่อสุขภาพ ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลาย
ทั้งในด้านการวิจัยและเชิงพาณิชย์ ซึ่งเป็นมูลค่ามาก ทั้งนี้เนื่องจากผู้บริโภคหันมาให้ความสาคัญกับอาหาร
และสุขภาพมากขึ้นจึงทาให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ เช่น การเสริมวิตามิน,เส้นใยและ
กรดไขมันที่จาเป็นต่อร่างกายด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในโครงงานนี้ ระบุเป็นข้อ)
1.ต้องการให้คนไทยมีสุขภาพที่แข็งแรง
2.ส่งเสริมสุขภาพของคนไทยให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการหรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การที่คนเราจะมีสุขภาพดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ อย่าง ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ภายใต้การ
ควบคุมของตัวเอง ส่วนที่นอกเหนือการควบคุมมีน้อย เช่น กรรมพันธุ์ ดังนั้นถ้าเราควบคุมปัจจัยต่างๆ ได้
เช่น การเลี้ยงดูตั้งแต่เด็ก การดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง คนส่วนใหญ่ช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม ในครอบครัวมี
ความสงบสุขดีคือมีสุขภาพจิตดี และสิ่งที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การเอาใจใส่เรื่องโภชนาการ ถ้าสามารถ
ควบคุมสิ่งเหล่านี้ได้หมด สุขภาพดีถ้วนหน้าก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
โภชนาการ หมายถึง อาหารที่เรารับประทานเข้าไป แล้วร่างกายนาเอาไปใช้เพื่อการทาหน้าที่อย่าง
สม่าเสมอของอวัยวะที่สาคัญ เช่น หัวใจ ปอด เป็นต้น นอกจากนี้ยังนาไปใช้เพื่อสร้างความเจริญเติบโตของ
ร่างกาย การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย เราสามารถแบ่งอาหารออกเป็นประเภท โดยอาศัยหลักทาง
โภชนาการ ได้เป็นโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และน้า ซึ่งมีส่วนสาคัญต่อการทางานของ
ร่างกายไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันโดยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน เมื่อรับประทานเข้าไปร่างกายจะเผา
ผลาญทาให้เกิดพลังงานได้ส่วนพวกวิตามิน เกลือแร่ และน้า จะเป็นองค์ประกอบที่มีความสาคัญในการทา
ให้วงจรการทางานต่างๆ ของร่างกาย ดาเนินต่อไปได้เป็นปกติ ดังนั้นเราทุกคนถ้าหวังที่จะให้ร่างกายมี
สุขภาพที่ดี ควรจะต้องสนใจที่จะเรียนรู้ และปฏิบัติตามวิธีการรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ ไม่มี
ใครมาช่วยท่านได้ถ้าท่านไม่ลงมือปฏิบัติเอง นอกจากนี้ควรรักษาน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ทุกคนควร
ชั่งน้าหนักตนเองอย่างน้อยเดือนละครั้ง ถ้าผอมไปก็กินอาหารที่มีประโยชน์ น้าหนักจะได้เพิ่ม ถ้าอ้วนไปก็
กินให้น้อยลง ร่วมกับการออกกาลังกายให้มากขึ้น ไม่ละเลยตนเองถึงขั้นเกิดภาวะแทรกซ้อนจากอ้วน หรือ
ผอมแล้ว
ความสาคัญของอาหารกับสุขภาพ
กิจกรรมของมนุษย์ในแต่ละวันจาเป็นต้องใช้พลังงาน และสารอาหารที่ร่างกายได้รับจากการรับประทาน
อาหารในแต่ละมื้อ การรู้จักเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย จะช่วยให้
ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่สมบูรณ์ และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง โภชนาการเป็นการศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ และการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
หากสภาพร่างกายได้รับอาหารที่มีสารอาหารครบ และเพียงพอต่อความต้องการ ร่างกายสามารถนา
สารอาหารเหล่านั้นไปใช้ได้อย่างเต็มที่ เรียกว่าภาวะโภชนาการที่ดี แต่ถ้าร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่
ครบถ้วน และไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะเรียกว่าภาวะโภชนาการที่ไม่ดี หรือทุพโภชนาการ
ภาวะโภชนาการต่า เป็นสภาวะของร่างกายที่ขาดอาหาร ได้รับสารอาหารต่ากว่าที่ร่างกายต้องการ หรือ
รับประทานอาหารไม่ได้เนื่องจากสาเหตุต่างๆ ทาให้เกิดโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกิน เป็นสภาวะ
ของร่างกายที่ได้อาหาร และสารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ทาให้เกิดการสะสมจนเกิดโทษแก่
ร่างกาย
ผลทางร่างกายของภาวะโภชนาการ
ขนาดของร่างกาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อขนาดของร่างกาย ได้แก่ พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม พันธุกรรมเป็น
สิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้แต่สภาพแวดล้อม เช่น การรับประทานอาหาร เราสามารถปรับปรุงได้โดย
เลือกรับประทานอาหารให้เพียงพอ และเหมาะสมต่อความต้องการของร่างกาย ก็จะทาให้การเจริญเติบโต
ของร่างกายเป็นปกติ
ภูมิต้านทานโรค
ผู้ที่ได้รับสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย จะทาให้ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ต่างๆ ได้หรือหากได้รับเชื้อโรค ก็สามารถฟื้นตัวได้เร็ว ไม่แก่ก่อนวัย และอายุยืน เมื่อร่างกายมีภูมิคุ้มกัน
โรค ความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควรก็ลดน้อยลง
ผลต่อสติปัญญา และอารมณ์
การรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ มีส่วนให้เกิดพัฒนาการทางด้านสมอง มีสติปัญญาที่เฉลียว
ฉลาด อารมณ์แจ่มใส กระตือรือร้น ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ง่าย ผิดกับผู้ที่รับประทานอาหารไม่มีประโยชน์
จะทาให้ร่างกายอ่อนแอ พัฒนาการทางด้านสติปัญญาลดน้อยลง อารมณ์หดหู่ ไม่แจ่มใส จนบางครั้งอาจไม่
สามารถดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน ไม่รับประทานอาหารที่ซ้าซาก ควรรับประทานอาหารที่หลากหลาย
เพื่อให้ได้สารอาหารครบตามที่ต้องการ รับประทานอาหารที่สะอาดและปลอดภัย เพื่อป้องกันการปนเปื้อน
ของสิ่งที่เป็นพิษที่มีอยู่ในอาหาร ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้บริโภค อาหารปนเปื้อนได้จากหลายสาเหตุ
คือ จากเชื้อโรค และพยาธิต่างๆ สารเคมีที่เป็นพิษหรือสารปนเปื้อน หรือโลหะหนักที่เป็นอันตราย ทั้งนี้อาจ
เกิดจากกระบวนการผลิต ปรุง ประกอบ และจาหน่ายอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ หรือสิ่งแวดล้อมที่ไม่
เหมาะสม เช่น แผงลอยริมบาทวิถี การใช้สารปรุงแต่งอาหารไม่ได้มาตรฐาน การใช้สารเคมีในการถนอม
อาหาร การใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชในปริมาณมาก เป็นต้น
หลักการในการเลือกกินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้อน ควรเลือกกินอาหารที่สด สะอาด ผลิตจาก
แหล่งที่เชื่อถือได้มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ มีกลิ่น รส และสีสันตามธรรมชาติ ในการปรุงอาหารใน
ครัวเรือน ควรเลือกซื้ออาหารที่สด สะอาด มาปรุง ล้างทาความสะอาด ก่อนนาไปปรุงประกอบ ใช้ภาชนะ
อุปกรณ์ที่สะอาดปลอดภัย ล้างเก็บถูกสุขลักษณะ มีพฤติกรรมบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ คือ ล้างมือก่อน
บริโภค ใช้ช้อนกลาง
การเลือกซื้ออาหารปรุงสาเร็จ อาหารถุง ควรเลือกซื้อจากร้านจาหน่ายอาหาร หรือแผงลอยที่ถูกสุขลักษณะ
ปรุงสุกใหม่ มีการปกปิดป้องกันแมลงวัน บรรจุในภาชนะที่สะอาดปลอดภัยมีการใช้อุปกรณ์หยิบจับ หรือ
ตักอาหารแทนการใช้มือ
รับประทานอาหารไขมันพอเหมาะ เพื่อป้องกันการสะสมไขมันมากเกินไป รับประทานอาหารที่มีเส้นใย
อาหารอย่างสม่าเสมอ เพื่อช่วยระบบการขับถ่าย และลดไขมันในเลือด ควรกินใยอาหารอย่างสม่าเสมอ ใย
อาหารทาให้การขับถ่ายอุจจาระเป็นไปตามปกติ และป้องกันโรคหลายชนิดด้วย ระมัดระวังการรับประทาน
อาหารที่มีสารก่อมะเร็ง เช่น อาหารประเภททอด ย่าง เผา หรืออาหารที่ไหม้เกรียม ลดปริมาณ และระดับ
การรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัด เพราะจะทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อ
บุทางเดินอาหาร และอาจก่อโรค เช่น โรคอ้วย โรคเบาหวาน โรคไต โรคกระเพาะ เป็นต้น หลีกเลี่ยง
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และน้าอัดลม เพราะเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคตับแข็ง โรคแผลใน
กระเพาะอาหาร โรคมะเร็ง ฟันผุ โรคเบาหวาน เป็นต้น
การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์นาไปสู่การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ เช่น ความ
ดันโลหิตสูง ตับแข็ง โรคกระเพาะ เป็นต้น เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่สุรา เบียร์ ไวน์ บรั่นดี กระแช่
ฯลฯ จึงควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มดังกล่าว ระวังเรื่องดื่มเหล้า แม้ว่าเหล้าที่กินจะถูกเผาผลาญให้กาลังงานได้ก็
จริง แต่เราไม่จัดเหล้าเป็นสารอาหาร เพราะผลที่ได้ไม่คุ้มกับอันตรายที่เหล้าคุกคามสุขภาพ คนติดเหล้ามัก
เป็นโรคขาดสารอาหารได้หลายชนิด เช่น โรคขาดโปรตีน และแคลอรี โรคเหน็บชา เมื่อกินเหล้าไปนานๆ
ตับถูกทาลาย ยิ่งทาให้การขาดสารอาหารรุนแรงมากขึ้น
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
กินอาหารหลัก 5 หมู่ให้ครบ ได้แก่ อาหารพวกเนื้อสัตว์ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้ง อาหารประเภทนี้จะให้
โปรตีน ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่ อาหารพวกข้าว เผือก มัน และน้าตาล ให้กาลังงาน และโปรตีน แต่
ปริมาณ และคุณภาพของโปรตีนด้อยกว่าพวกเนื้อสัตว์เฉพาะน้าตาลให้แต่กาลังงานอย่างเดียวผัก และผลไม้
ให้วิตามิน และเกลือแร่หลายชนิดตลอดจนใยอาหารด้วย ส่วนไขมัน เป็นแหล่งอาหารที่ให้กาลังงานที่ดี และ
น้ามันพืชบางชนิดให้กรดไลโนเลอิกด้วย ในแต่ละวันถ้ากินอาหารทั้ง 5 หมู่ ให้ครบถ้วนโอกาสที่จะขาด
สารอาหารย่อมเป็นไปได้ยาก และไม่ต้องไปหายาบารุงมากินให้เสียเงิน กินอาหารแต่ละหมู่ให้หลากหลาย
เพื่อให้ร่างกายรับสารอาหารต่างๆ ครบในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ ถ้ากินอาหารไม่ครบทั้ง 5 หมู่
หรือกินอาหารซ้าซากเพียงบางชนิดทุกวันอาจทาให้ได้รับสารอาหารบางประเภทไม่เพียงพอหรือมากเกินไป
หมั่นดูแลน้าหนักตัว น้าหนักตัวเป็นเครื่องบ่งชี้สาคัญที่บอกถึงภาวะสุขภาพ แต่ละคนจะต้องมีน้าหนักที่
เหมาะสมตามวัย และได้สัดส่วนกับความสูงของตนเอง
การรักษาน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์โดยการกินอาหารให้เหมาะสมควบคู่ไปกับการออกกาลังกายอย่าง
สม่าเสมอ ถ้าน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ปกติ หรือผอมไปจะทาร่างกายอ่อนแอ เจ็บป่วยง่าย ประสิทธิภาพการเรียน
และการทางานด้อยลงกว่าปกติ หากมีน้าหนักมากกว่าปกติหรืออ้วนไป จะมีการเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจ
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็งบางชนิด ทุกคนควรชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง เดือนละครั้ง เพื่อ
ประเมินว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ ในเด็ก ใช้ค่าน้าหนักตามเกณฑ์อายุ หรือค่าน้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน ในผู้ใหญ่ ใช้ดัชนีมวลกายเป็นเกณฑ์ค่าระหว่าง 18.5-22.9 อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ค่าต่ากว่า 18.5 ถือว่าผอม หรือน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ค่าอยู่ระหว่าง 23-29.9 น้าหนักเกินหรืออ้วน ค่าตั้งแต่ 30
ขึ้นไป ถือว่าเป็นโรคอ้วน
ข้าวเป็นอาหารหลัก
ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นแหล่งอาหารสาคัญที่ให้พลังงาน สารอาหารที่มีในข้าว ได้แก่
คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน โดยเฉพาะข้าวกล้อง หรือข้าวซ้อมมือจะมีสารอาหารโปรตีน ไขมัน ใยอาหาร
แร่ธาตุ และวิตามินในปริมาณที่สูงกว่าข้าวที่ขัดสีจนขาว อาหารประเภทแป้ง เช่น ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน บะหมี่
เป็นแหล่งอาหารที่ให้พลังงานเช่นเดียวกัน จัดว่าเป็นอาหารจานด่วน หรืออาหารจานเดียวแบบไทยๆ ที่ใย
อาหารจากผักที่เป็นเครื่องปรุงมากกว่าอาหารจานเดียวแบบตะวันตก เช่น เบอร์เกอร์ พิซซ่า ซึ่งมีค่าสูงกว่า
กันมาก
กินน้าตาลแต่พอควร
การกินน้าตาลมากๆ มีผลร้ายต่อสุขภาพได้เด็กที่กินของหวานมาก อมลูกกวาด และทอฟฟี่ แล้วไม่แปรงฟัน
จะเป็นโรคฟันผุซึ่งมีผลทาให้การกินอาหารเป็นไปได้ไม่ดี นอกจากนี้คนที่กินหวานมากๆ จะอ้วน และมีไตร
กลีเซอไรด์สูงในเลือด พืช ผัก ผลไม้ พืชผัก และผลไม้เป็นแหล่งวิตามินและแร่ธาตุที่มีความจาเป็นต่อ
ร่างกาย มีใยอาหารช่วยในการขับถ่าย ช่วยนาคลอเลสเตอรอล และสารพิษที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งบางชนิด
ออกจากร่างกาย พืชผักผลไม้หลายอย่างให้พลังงานต่า จึงทาให้ไม่เกิดโรคอ้วน ควรกินพืชผักทุกมื้อให้
หลากหลายสลับกันไป ส่วนผลไม้ควรกินประจาสม่าเสมอ โดยเฉพาะหลังกินอาหารแต่ละมื้อ และกินเป็น
เป็นอาหารว่าง
อาหารโปรตีน
กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นประจา ปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้ง เป็น
แหล่งโปรตีนสาคัญ โดยเฉพาะปลาเป็นโปรตีนที่ดีย่อยง่าย มีไขมันต่า หากกินปลาแทนเนื้อสัตว์เป็นประจา
จะช่วยลดปริมาณไขมันในโลหิต ในปลาทะเลมีสารไอโอดีนป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ส่วนเนื้อสัตว์ควร
เลือกเนื้อสัตว์ไม่ติดมันเพื่อลดการสะสมไขมันในร่างกาย ไข่เป็นโปรตีนราคาถูก ปรุงง่าย เด็กควรกินไข่วัน
ฟอง ผู้ใหญ่ที่มีภาวะโภชนาการปกติควรกินไข่สัปดาห์ละ 2-3 ฟอง และควรกินไข่ที่ปรุงสุกแล้ว ถั่วเมล็ด
แห้งและผลิตภัณฑ์จากถั่วเช่น เต้าหู้ เต้าเจี้ยว น้านมถั่วเหลือง ขนมถั่วกวน ก็เป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก
เช่นกัน
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
นม เป็นอาหารที่เหมาะสมสาหรับเด็ก และผู้ใหญ่ ประกอบด้วยแร่ธาตุสาคัญ คือ แคลเซียม และฟอสฟอรัส
ช่วยให้กระดูก และฟันแข็งแรง มีโปรตีน และวิตามินต่างๆ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ทาให้เนื้อเยื่อต่างๆ
ทาหน้าที่ปกติ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยเรียน วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ควรดื่มนมวันละ 1-2 แก้ว ควบคู่ไปกับ
การออกกาลังกายจะทาให้กระดูกแข็งแรง ชะลอการเสื่อมสลายของกระดูก
ระวังอาหารไขมัน
กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร ไขมันให้พลังงาน และความอบอุ่น ให้กรดไขมันที่จาเป็นต่อร่างกาย ช่วยการ
ดูดซึมของวิตามินที่ละลานในไขมันคือ วิตามินเอ ดี อี และเค แต่ไม่ควรกินไขมันมากเกินไปเพราะจะทาให้
น้าหนักตัวเพิ่ม อ้วน และเกิดโรคอื่นๆ ตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เป็นต้น วิธีประกอบอาหารมี
ส่วนทาให้ปริมาณไขมันในอาหารเพิ่มขึ้น เช่น ทอด ชุบแป้งทอด ผัดน้ามัน และอาหารที่มีกะทิ จึงควรกินแต่
พอควร การประกอบอาหารโดยวิธีต้ม นึ่ง ปิ้ง ย่าง จะมีไขมันน้อยกว่า กินไขมันในขนาดที่พอเหมาะ ไม่กิน
ไขมันมากเกินไป และต้องกินน้ามันพืชที่ให้กรดไลโนเลอิกเป็นประจาด้วย
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
การกินอาหารรสจัดมากจนเป็นนิสัย จะเกิดโทษต่อร่างกาย เช่น รสหวานจัด เค็มจัด การ
รับประทานหวานจัดเป็นนิสัยทาให้ได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นโดยไม่จาเป็นในเด็กจะทาให้ความอยากอาหาร
ลดลง เบื่ออาหาร ฟันผุ การกินอาหารรสเค็มจัดที่ได้จากเกลือแกงมากกว่า 1 ช้อนชาต่อวัน จะมีโอกาสเสี่ยง
ต่อการเกิดความดันโลหิตสูง จึงควรหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและหลีกเลี่ยงการเติมเครื่องปรุงรส
ไม่กินโซเดียมมาก
โซเดียมมีมากในเกลือนอกจากนี้ยังพบในอาหารธรรมชาติ เช่น เนื้อสัตว์ นม สารบางชนิดที่ใช้ใน
การปรุงอาหาร เช่น ผงชูรส ผงฟู ผู้ที่กินโซเดียมมากๆ มีโอกาสเป็นความดันโลหิตสูงได้มากกว่าผู้ที่กิน
โซเดียมน้อย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อที่จะสนใจที่จะทาโครงงานและเสนอให้กับครูที่ปรึกษา
2.ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโภชนาการเพื่อสุขภาพในแต่ละวัน
3.จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
4.ปรับปรุงแก้ไขลงานห้ดียิ่งขึ้น
5.ประเมินผลงานและนาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.สมุดสาหรับจดบันทึก
3.ดินสอหรือปากกา
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 ทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผล
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชณาการอาหารในแต่ละวัน
2.คนในสังคมรู้จักรับประทานอาหารอย่างถูกต้องตามโภชณาการ
สถานที่ทาการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
โภชณาการอาหาในแต่ละวัน
แหล่งที่มา http://www.lovefitt.com/healthy-

More Related Content

What's hot

2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
Yuthtachai Chaijaroen
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
KamolchanokPhanlek
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
SornApasorn
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
Sirirat Raiwklang
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
Charinrat Surijan
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
fahjirachaya
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
Wichai Likitponrak
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
Gitniphat Prom
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
fahjirachaya
 
2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]
Rutnapa Chonnatee
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
pornkanok02
 
Plant factory II
Plant factory IIPlant factory II
Plant factory II
Fong'Beer KS
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
Preeda Kholae
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Kanoksak Kangwanwong
 

What's hot (15)

2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
 
2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Plant factory II
Plant factory IIPlant factory II
Plant factory II
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 

Similar to Pitchayaporn N.

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
MewBesty
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Preawpraow Klinhomm
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
Jah Jadeite
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
เปเป้ ปาเล่ห์ปาล่า
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
Pimpisa Sangnoon
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
Jah Jadeite
 
โครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าโครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋า
Jah Jadeite
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
ChutimaKerdpom
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
jetaimej_
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
Bream Mie
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Warittha Nokmeerod
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Thanaporn Sripoug
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Sarunphat Saelee
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
paifahnutya
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
orrayaKawichai
 
Nut1
Nut1Nut1
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602
opor kwn
 
2560 project no.03,28
2560 project  no.03,282560 project  no.03,28
2560 project no.03,28
kanyaluk dornsanoi
 
Aonnart
AonnartAonnart

Similar to Pitchayaporn N. (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
 
โครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าโครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋า
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602
 
2560 project no.03,28
2560 project  no.03,282560 project  no.03,28
2560 project no.03,28
 
Aonnart
AonnartAonnart
Aonnart
 
Aonnart
AonnartAonnart
Aonnart
 

Pitchayaporn N.

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โภชนาการเพื่อสุขภาพในแต่ละวัน ผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชญาภรณ์ เงินคาคง เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา62 โรงเรียนยพุราชวิทยาลัย จังหววัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวพิชญาภรณ์ เงินคาคง เลขที่ 25 คาชี้แจงให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โภชนาการเพื่อสุขภาพในแต่ละวัน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Daily nutrition for health ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อสุขภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชญาภรณ์ เงินคาคง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงทที่มาแนวคิดและเหตุผลของการทาโครงงาน) โครงงานเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพนี้จัดทาขึ้นเพราะเนื่องจากปัจจุบันคนไทยส่วนใหญ่รับประทาน อาหารที่ไม่มีประโยชน์และไม่ครบ 5 หมู่ตามที่ธงโภชนาการได้กาหนดไว้ และต้องการศึกษาเรื่องที่ทาเป็น เรื่องใหม่และน่าสนใจอย่างยิ่ง จากปัญหาทั่วโลกจากประเทศต่างๆในการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องเกิด ความเสียงต่อการเป็นโรคต่างๆ เช่นโรคมะเร็งลาไส้ โรคเบาหวาน โรคอ้วน โดยเฉพาะในแถบยุโรปที่ บริโภคอาหารจาพวกแป้งเป็นส่วนใหญ่ด้วยเหตุนี้เองจึงเป็นแนวคิดและที่มาเพื่อที่จะศึกษา และจากตัวอย่าง ที่ได้เห็นมาในประชากรประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง กินแต่ ของหวานเกินไป เค็มเกินไป ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพ โรคที่คนส่วนใหญ่ในประเทศไทยเป็นคือ โรค เบาหวาน โรคอ้วน เป็นจานวนมากซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ดีเลย จึงได้จัดทาโครงงานเรื่องนี้ขึ้นมาเพื่อใช้เป็น ประโยชน์แก่คนทั่ว เพื่อให้คนทุกคนได้นาไปปฏิบัติบริโภคอย่างถูกวิธี ส่งเสริมสุขภาพทุกคนให้แข็งแรง และสมบูรณ์และจะส่งผมที่ดีต่อสุขภาพจิตด้วย ปัจจุบันอาหารเพื่อสุขภาพ ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลาย ทั้งในด้านการวิจัยและเชิงพาณิชย์ ซึ่งเป็นมูลค่ามาก ทั้งนี้เนื่องจากผู้บริโภคหันมาให้ความสาคัญกับอาหาร และสุขภาพมากขึ้นจึงทาให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ เช่น การเสริมวิตามิน,เส้นใยและ กรดไขมันที่จาเป็นต่อร่างกายด้วย
  • 3. วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในโครงงานนี้ ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการให้คนไทยมีสุขภาพที่แข็งแรง 2.ส่งเสริมสุขภาพของคนไทยให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการหรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การที่คนเราจะมีสุขภาพดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ อย่าง ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ภายใต้การ ควบคุมของตัวเอง ส่วนที่นอกเหนือการควบคุมมีน้อย เช่น กรรมพันธุ์ ดังนั้นถ้าเราควบคุมปัจจัยต่างๆ ได้ เช่น การเลี้ยงดูตั้งแต่เด็ก การดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง คนส่วนใหญ่ช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม ในครอบครัวมี ความสงบสุขดีคือมีสุขภาพจิตดี และสิ่งที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การเอาใจใส่เรื่องโภชนาการ ถ้าสามารถ ควบคุมสิ่งเหล่านี้ได้หมด สุขภาพดีถ้วนหน้าก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง โภชนาการ หมายถึง อาหารที่เรารับประทานเข้าไป แล้วร่างกายนาเอาไปใช้เพื่อการทาหน้าที่อย่าง สม่าเสมอของอวัยวะที่สาคัญ เช่น หัวใจ ปอด เป็นต้น นอกจากนี้ยังนาไปใช้เพื่อสร้างความเจริญเติบโตของ ร่างกาย การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย เราสามารถแบ่งอาหารออกเป็นประเภท โดยอาศัยหลักทาง โภชนาการ ได้เป็นโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และน้า ซึ่งมีส่วนสาคัญต่อการทางานของ ร่างกายไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันโดยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน เมื่อรับประทานเข้าไปร่างกายจะเผา ผลาญทาให้เกิดพลังงานได้ส่วนพวกวิตามิน เกลือแร่ และน้า จะเป็นองค์ประกอบที่มีความสาคัญในการทา ให้วงจรการทางานต่างๆ ของร่างกาย ดาเนินต่อไปได้เป็นปกติ ดังนั้นเราทุกคนถ้าหวังที่จะให้ร่างกายมี สุขภาพที่ดี ควรจะต้องสนใจที่จะเรียนรู้ และปฏิบัติตามวิธีการรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ ไม่มี ใครมาช่วยท่านได้ถ้าท่านไม่ลงมือปฏิบัติเอง นอกจากนี้ควรรักษาน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ทุกคนควร ชั่งน้าหนักตนเองอย่างน้อยเดือนละครั้ง ถ้าผอมไปก็กินอาหารที่มีประโยชน์ น้าหนักจะได้เพิ่ม ถ้าอ้วนไปก็ กินให้น้อยลง ร่วมกับการออกกาลังกายให้มากขึ้น ไม่ละเลยตนเองถึงขั้นเกิดภาวะแทรกซ้อนจากอ้วน หรือ ผอมแล้ว ความสาคัญของอาหารกับสุขภาพ กิจกรรมของมนุษย์ในแต่ละวันจาเป็นต้องใช้พลังงาน และสารอาหารที่ร่างกายได้รับจากการรับประทาน อาหารในแต่ละมื้อ การรู้จักเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย จะช่วยให้ ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่สมบูรณ์ และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง โภชนาการเป็นการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ และการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต หากสภาพร่างกายได้รับอาหารที่มีสารอาหารครบ และเพียงพอต่อความต้องการ ร่างกายสามารถนา
  • 4. สารอาหารเหล่านั้นไปใช้ได้อย่างเต็มที่ เรียกว่าภาวะโภชนาการที่ดี แต่ถ้าร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่ ครบถ้วน และไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะเรียกว่าภาวะโภชนาการที่ไม่ดี หรือทุพโภชนาการ ภาวะโภชนาการต่า เป็นสภาวะของร่างกายที่ขาดอาหาร ได้รับสารอาหารต่ากว่าที่ร่างกายต้องการ หรือ รับประทานอาหารไม่ได้เนื่องจากสาเหตุต่างๆ ทาให้เกิดโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกิน เป็นสภาวะ ของร่างกายที่ได้อาหาร และสารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ทาให้เกิดการสะสมจนเกิดโทษแก่ ร่างกาย ผลทางร่างกายของภาวะโภชนาการ ขนาดของร่างกาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อขนาดของร่างกาย ได้แก่ พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม พันธุกรรมเป็น สิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้แต่สภาพแวดล้อม เช่น การรับประทานอาหาร เราสามารถปรับปรุงได้โดย เลือกรับประทานอาหารให้เพียงพอ และเหมาะสมต่อความต้องการของร่างกาย ก็จะทาให้การเจริญเติบโต ของร่างกายเป็นปกติ ภูมิต้านทานโรค ผู้ที่ได้รับสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย จะทาให้ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันโรค ต่างๆ ได้หรือหากได้รับเชื้อโรค ก็สามารถฟื้นตัวได้เร็ว ไม่แก่ก่อนวัย และอายุยืน เมื่อร่างกายมีภูมิคุ้มกัน โรค ความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควรก็ลดน้อยลง ผลต่อสติปัญญา และอารมณ์ การรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ มีส่วนให้เกิดพัฒนาการทางด้านสมอง มีสติปัญญาที่เฉลียว ฉลาด อารมณ์แจ่มใส กระตือรือร้น ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ง่าย ผิดกับผู้ที่รับประทานอาหารไม่มีประโยชน์ จะทาให้ร่างกายอ่อนแอ พัฒนาการทางด้านสติปัญญาลดน้อยลง อารมณ์หดหู่ ไม่แจ่มใส จนบางครั้งอาจไม่ สามารถดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน ไม่รับประทานอาหารที่ซ้าซาก ควรรับประทานอาหารที่หลากหลาย เพื่อให้ได้สารอาหารครบตามที่ต้องการ รับประทานอาหารที่สะอาดและปลอดภัย เพื่อป้องกันการปนเปื้อน ของสิ่งที่เป็นพิษที่มีอยู่ในอาหาร ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้บริโภค อาหารปนเปื้อนได้จากหลายสาเหตุ คือ จากเชื้อโรค และพยาธิต่างๆ สารเคมีที่เป็นพิษหรือสารปนเปื้อน หรือโลหะหนักที่เป็นอันตราย ทั้งนี้อาจ เกิดจากกระบวนการผลิต ปรุง ประกอบ และจาหน่ายอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ หรือสิ่งแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสม เช่น แผงลอยริมบาทวิถี การใช้สารปรุงแต่งอาหารไม่ได้มาตรฐาน การใช้สารเคมีในการถนอม อาหาร การใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชในปริมาณมาก เป็นต้น
  • 5. หลักการในการเลือกกินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้อน ควรเลือกกินอาหารที่สด สะอาด ผลิตจาก แหล่งที่เชื่อถือได้มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ มีกลิ่น รส และสีสันตามธรรมชาติ ในการปรุงอาหารใน ครัวเรือน ควรเลือกซื้ออาหารที่สด สะอาด มาปรุง ล้างทาความสะอาด ก่อนนาไปปรุงประกอบ ใช้ภาชนะ อุปกรณ์ที่สะอาดปลอดภัย ล้างเก็บถูกสุขลักษณะ มีพฤติกรรมบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ คือ ล้างมือก่อน บริโภค ใช้ช้อนกลาง การเลือกซื้ออาหารปรุงสาเร็จ อาหารถุง ควรเลือกซื้อจากร้านจาหน่ายอาหาร หรือแผงลอยที่ถูกสุขลักษณะ ปรุงสุกใหม่ มีการปกปิดป้องกันแมลงวัน บรรจุในภาชนะที่สะอาดปลอดภัยมีการใช้อุปกรณ์หยิบจับ หรือ ตักอาหารแทนการใช้มือ รับประทานอาหารไขมันพอเหมาะ เพื่อป้องกันการสะสมไขมันมากเกินไป รับประทานอาหารที่มีเส้นใย อาหารอย่างสม่าเสมอ เพื่อช่วยระบบการขับถ่าย และลดไขมันในเลือด ควรกินใยอาหารอย่างสม่าเสมอ ใย อาหารทาให้การขับถ่ายอุจจาระเป็นไปตามปกติ และป้องกันโรคหลายชนิดด้วย ระมัดระวังการรับประทาน อาหารที่มีสารก่อมะเร็ง เช่น อาหารประเภททอด ย่าง เผา หรืออาหารที่ไหม้เกรียม ลดปริมาณ และระดับ การรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัด เพราะจะทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อ บุทางเดินอาหาร และอาจก่อโรค เช่น โรคอ้วย โรคเบาหวาน โรคไต โรคกระเพาะ เป็นต้น หลีกเลี่ยง เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และน้าอัดลม เพราะเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคตับแข็ง โรคแผลใน กระเพาะอาหาร โรคมะเร็ง ฟันผุ โรคเบาหวาน เป็นต้น การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์นาไปสู่การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ เช่น ความ ดันโลหิตสูง ตับแข็ง โรคกระเพาะ เป็นต้น เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่สุรา เบียร์ ไวน์ บรั่นดี กระแช่ ฯลฯ จึงควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มดังกล่าว ระวังเรื่องดื่มเหล้า แม้ว่าเหล้าที่กินจะถูกเผาผลาญให้กาลังงานได้ก็ จริง แต่เราไม่จัดเหล้าเป็นสารอาหาร เพราะผลที่ได้ไม่คุ้มกับอันตรายที่เหล้าคุกคามสุขภาพ คนติดเหล้ามัก เป็นโรคขาดสารอาหารได้หลายชนิด เช่น โรคขาดโปรตีน และแคลอรี โรคเหน็บชา เมื่อกินเหล้าไปนานๆ ตับถูกทาลาย ยิ่งทาให้การขาดสารอาหารรุนแรงมากขึ้น กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ กินอาหารหลัก 5 หมู่ให้ครบ ได้แก่ อาหารพวกเนื้อสัตว์ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้ง อาหารประเภทนี้จะให้ โปรตีน ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่ อาหารพวกข้าว เผือก มัน และน้าตาล ให้กาลังงาน และโปรตีน แต่ ปริมาณ และคุณภาพของโปรตีนด้อยกว่าพวกเนื้อสัตว์เฉพาะน้าตาลให้แต่กาลังงานอย่างเดียวผัก และผลไม้ ให้วิตามิน และเกลือแร่หลายชนิดตลอดจนใยอาหารด้วย ส่วนไขมัน เป็นแหล่งอาหารที่ให้กาลังงานที่ดี และ น้ามันพืชบางชนิดให้กรดไลโนเลอิกด้วย ในแต่ละวันถ้ากินอาหารทั้ง 5 หมู่ ให้ครบถ้วนโอกาสที่จะขาด สารอาหารย่อมเป็นไปได้ยาก และไม่ต้องไปหายาบารุงมากินให้เสียเงิน กินอาหารแต่ละหมู่ให้หลากหลาย
  • 6. เพื่อให้ร่างกายรับสารอาหารต่างๆ ครบในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ ถ้ากินอาหารไม่ครบทั้ง 5 หมู่ หรือกินอาหารซ้าซากเพียงบางชนิดทุกวันอาจทาให้ได้รับสารอาหารบางประเภทไม่เพียงพอหรือมากเกินไป หมั่นดูแลน้าหนักตัว น้าหนักตัวเป็นเครื่องบ่งชี้สาคัญที่บอกถึงภาวะสุขภาพ แต่ละคนจะต้องมีน้าหนักที่ เหมาะสมตามวัย และได้สัดส่วนกับความสูงของตนเอง การรักษาน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์โดยการกินอาหารให้เหมาะสมควบคู่ไปกับการออกกาลังกายอย่าง สม่าเสมอ ถ้าน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ปกติ หรือผอมไปจะทาร่างกายอ่อนแอ เจ็บป่วยง่าย ประสิทธิภาพการเรียน และการทางานด้อยลงกว่าปกติ หากมีน้าหนักมากกว่าปกติหรืออ้วนไป จะมีการเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็งบางชนิด ทุกคนควรชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง เดือนละครั้ง เพื่อ ประเมินว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ ในเด็ก ใช้ค่าน้าหนักตามเกณฑ์อายุ หรือค่าน้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน ในผู้ใหญ่ ใช้ดัชนีมวลกายเป็นเกณฑ์ค่าระหว่าง 18.5-22.9 อยู่ในเกณฑ์ปกติ ค่าต่ากว่า 18.5 ถือว่าผอม หรือน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ค่าอยู่ระหว่าง 23-29.9 น้าหนักเกินหรืออ้วน ค่าตั้งแต่ 30 ขึ้นไป ถือว่าเป็นโรคอ้วน ข้าวเป็นอาหารหลัก ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นแหล่งอาหารสาคัญที่ให้พลังงาน สารอาหารที่มีในข้าว ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน โดยเฉพาะข้าวกล้อง หรือข้าวซ้อมมือจะมีสารอาหารโปรตีน ไขมัน ใยอาหาร แร่ธาตุ และวิตามินในปริมาณที่สูงกว่าข้าวที่ขัดสีจนขาว อาหารประเภทแป้ง เช่น ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน บะหมี่ เป็นแหล่งอาหารที่ให้พลังงานเช่นเดียวกัน จัดว่าเป็นอาหารจานด่วน หรืออาหารจานเดียวแบบไทยๆ ที่ใย อาหารจากผักที่เป็นเครื่องปรุงมากกว่าอาหารจานเดียวแบบตะวันตก เช่น เบอร์เกอร์ พิซซ่า ซึ่งมีค่าสูงกว่า กันมาก กินน้าตาลแต่พอควร การกินน้าตาลมากๆ มีผลร้ายต่อสุขภาพได้เด็กที่กินของหวานมาก อมลูกกวาด และทอฟฟี่ แล้วไม่แปรงฟัน จะเป็นโรคฟันผุซึ่งมีผลทาให้การกินอาหารเป็นไปได้ไม่ดี นอกจากนี้คนที่กินหวานมากๆ จะอ้วน และมีไตร กลีเซอไรด์สูงในเลือด พืช ผัก ผลไม้ พืชผัก และผลไม้เป็นแหล่งวิตามินและแร่ธาตุที่มีความจาเป็นต่อ ร่างกาย มีใยอาหารช่วยในการขับถ่าย ช่วยนาคลอเลสเตอรอล และสารพิษที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งบางชนิด ออกจากร่างกาย พืชผักผลไม้หลายอย่างให้พลังงานต่า จึงทาให้ไม่เกิดโรคอ้วน ควรกินพืชผักทุกมื้อให้ หลากหลายสลับกันไป ส่วนผลไม้ควรกินประจาสม่าเสมอ โดยเฉพาะหลังกินอาหารแต่ละมื้อ และกินเป็น เป็นอาหารว่าง
  • 7. อาหารโปรตีน กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นประจา ปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้ง เป็น แหล่งโปรตีนสาคัญ โดยเฉพาะปลาเป็นโปรตีนที่ดีย่อยง่าย มีไขมันต่า หากกินปลาแทนเนื้อสัตว์เป็นประจา จะช่วยลดปริมาณไขมันในโลหิต ในปลาทะเลมีสารไอโอดีนป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ส่วนเนื้อสัตว์ควร เลือกเนื้อสัตว์ไม่ติดมันเพื่อลดการสะสมไขมันในร่างกาย ไข่เป็นโปรตีนราคาถูก ปรุงง่าย เด็กควรกินไข่วัน ฟอง ผู้ใหญ่ที่มีภาวะโภชนาการปกติควรกินไข่สัปดาห์ละ 2-3 ฟอง และควรกินไข่ที่ปรุงสุกแล้ว ถั่วเมล็ด แห้งและผลิตภัณฑ์จากถั่วเช่น เต้าหู้ เต้าเจี้ยว น้านมถั่วเหลือง ขนมถั่วกวน ก็เป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก เช่นกัน ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย นม เป็นอาหารที่เหมาะสมสาหรับเด็ก และผู้ใหญ่ ประกอบด้วยแร่ธาตุสาคัญ คือ แคลเซียม และฟอสฟอรัส ช่วยให้กระดูก และฟันแข็งแรง มีโปรตีน และวิตามินต่างๆ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ทาให้เนื้อเยื่อต่างๆ ทาหน้าที่ปกติ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยเรียน วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ควรดื่มนมวันละ 1-2 แก้ว ควบคู่ไปกับ การออกกาลังกายจะทาให้กระดูกแข็งแรง ชะลอการเสื่อมสลายของกระดูก ระวังอาหารไขมัน กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร ไขมันให้พลังงาน และความอบอุ่น ให้กรดไขมันที่จาเป็นต่อร่างกาย ช่วยการ ดูดซึมของวิตามินที่ละลานในไขมันคือ วิตามินเอ ดี อี และเค แต่ไม่ควรกินไขมันมากเกินไปเพราะจะทาให้ น้าหนักตัวเพิ่ม อ้วน และเกิดโรคอื่นๆ ตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เป็นต้น วิธีประกอบอาหารมี ส่วนทาให้ปริมาณไขมันในอาหารเพิ่มขึ้น เช่น ทอด ชุบแป้งทอด ผัดน้ามัน และอาหารที่มีกะทิ จึงควรกินแต่ พอควร การประกอบอาหารโดยวิธีต้ม นึ่ง ปิ้ง ย่าง จะมีไขมันน้อยกว่า กินไขมันในขนาดที่พอเหมาะ ไม่กิน ไขมันมากเกินไป และต้องกินน้ามันพืชที่ให้กรดไลโนเลอิกเป็นประจาด้วย หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด การกินอาหารรสจัดมากจนเป็นนิสัย จะเกิดโทษต่อร่างกาย เช่น รสหวานจัด เค็มจัด การ รับประทานหวานจัดเป็นนิสัยทาให้ได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นโดยไม่จาเป็นในเด็กจะทาให้ความอยากอาหาร ลดลง เบื่ออาหาร ฟันผุ การกินอาหารรสเค็มจัดที่ได้จากเกลือแกงมากกว่า 1 ช้อนชาต่อวัน จะมีโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดความดันโลหิตสูง จึงควรหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและหลีกเลี่ยงการเติมเครื่องปรุงรส ไม่กินโซเดียมมาก โซเดียมมีมากในเกลือนอกจากนี้ยังพบในอาหารธรรมชาติ เช่น เนื้อสัตว์ นม สารบางชนิดที่ใช้ใน การปรุงอาหาร เช่น ผงชูรส ผงฟู ผู้ที่กินโซเดียมมากๆ มีโอกาสเป็นความดันโลหิตสูงได้มากกว่าผู้ที่กิน โซเดียมน้อย
  • 8. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อที่จะสนใจที่จะทาโครงงานและเสนอให้กับครูที่ปรึกษา 2.ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโภชนาการเพื่อสุขภาพในแต่ละวัน 3.จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 4.ปรับปรุงแก้ไขลงานห้ดียิ่งขึ้น 5.ประเมินผลงานและนาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.สมุดสาหรับจดบันทึก 3.ดินสอหรือปากกา งบประมาณ -
  • 9. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 ทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผล 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชณาการอาหารในแต่ละวัน 2.คนในสังคมรู้จักรับประทานอาหารอย่างถูกต้องตามโภชณาการ สถานที่ทาการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา 2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
  • 10. แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) โภชณาการอาหาในแต่ละวัน แหล่งที่มา http://www.lovefitt.com/healthy-