SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน : ใบเตยพืชมหัศจรรย์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว ชนิกานต์ พันชนะ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2. นางสาว อาภาภรณ์ ปานหลุมข้าว เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ชนิกานต์ พันชนะ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2. นางสาว อาภาภรณ์ ปานหลุมข้าว เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 11
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ใบเตยพืชมหัศจรรย์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Pandanus miracle plant
ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาสื่อเพื่อการเรียนรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชนิกานต์พันชนะ
นางสาว อาภาภรณ์ ปานหลุมข้าว
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่องทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เหตุผลที่ข้าพเจ้าเลือกทาโครงร่างโครงงาน เรื่อง ใบเตยพืชมหัศจรรย์ เพราะข้าพเจ้ามีความสนใจพืชพันธุ์ไม้
ในประเทศไทยซึ่งข้าพเจ้าได้ทราบพืชชนิดหนึ่งซึ่งเป็นพืชที่มีสรรพคุณมากมายและใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง พืช
ชนิดที่กล่าวถึงนี้คือ ใบเตย โดยใบเตยเป็นพืชที่ผู้คนทั้งภายในและภายนอกประเทศให้ความสนใจอย่างมาก และทั้ง
ยังมีนักวิทยาศาสตร์นาใบเตยมาวิจัยในด้านต่างๆอีกด้วย
ข้าพเจ้าได้เห็นถึงประโยชน์และสรรพคุณมากมายของใบเตย พร้อมทั้งยังมีผลงานด้านการวิจัยอีกหลายๆ
ผลงานจากผู้ที่มีชื่อเสียง จึงทาให้ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าข้าพเจ้าและผู้อ่านจะได้ทราบข้อมูลของ ใบเตยพืชมหัศจรรย์
อย่างครบถ้วน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
-ต้องการทราบถึงสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย
-ต้องการทราบถึงการประยุกต์ใช้ต้นใบเตยทั้งในอดีตและปัจจุบัน
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เพื่อศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย รวมถึงวิธีการประยุกต์ใช้ต้นใบเตยทั้งในอดีตไปจนถึง
ปัจจุบัน
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
เตยเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว แตกกอเป็นพุ่มขนาดเล็ก ลาต้นเป็นข้อ มีรากค้าช่วยพยุงลาต้นไว้ ใบเป็นใบเดี่ยว
สลับเวียนเป็นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ลักษณะเป็นใบเรียวยาว ขอบใบเรียบมีผิวมัน ตรงกลางใบเว้าลึกเป็นแอ่ง มี
ชื่อเรียกตามท้องถิ่นอีกหลายชื่อ เช่น ส้มม่า(ระนอง) ส้มตะเลงเครง(ตาก) ส้มปู(แม่ฮ่องสอน) ส้มพอดีหรือผักเก็ง
เค็ง(ภาคเหนือ) เป็นต้น ใบเตยจะมีกลิ่นหอมของน้ามันหอมระเหย (Fragrant Screw Pine) ซึ่งเป็นกลิ่นหอมจาก
สารเคมีที่เรียกว่า 2-acetyl-1-pyrroline ซึ่งเป็นกลิ่นเดียวกันกับที่ได้ในข้าวหอมมะลิ ขนมปังขาว และดอกชมนาด
นอกจากนี้ ใบเตยยังเต็มไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุอีกหลายชนิด ใบเตย 100 กรัม จะประกอบไปด้วย เบต้าแคโรทีน
3 ไมโครกรัม วิตามินซี 8 มิลลิกรัม วิตามินบี 2 0.2 มิลลิกรัม วิตามินบี 3 1.2 มิลลิกรัม แคลเซียม 124 มิลลิกรัม
ธาตุเหล็ก 0.1 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 27 มิลลิกรัม คาร์โบไฮเดรต 4.6 กรัม โปรตีน 1.9 กรัมและพลังงาน 35
กิโลแคลอรี่
ใบเตยประกอบไปด้วยน้ามันหอมระเหยและมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ ซึ่งในน้ามันหอมระเหยประกอบไป
ด้วยสารหลายชนิด เช่น ไลนาลิลอะซีเตท (Linalyl acetate) เบนซิลอะซีเตท (Benzyl acetate) ไลนาโลออท
(Linalool) และเจอรานิออล (Geraniol) และสารที่ทาให้มีกลิ่นหอมคือคูมาริน (Coumarin) และเอทิลวานิลลิน
(Ethyl vanillin)
ผลงานการวิจัยการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา พบว่า เตยหอมมีฤทธิ์ลดน้าตาลในเลือด ลดความดันโลหิต ลด
อัตราการเต้นของหัวใจ ขับปัสสาวะ ซึ่งฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่กล่าวไปทั้งหมดนั้น ซึ่งมาจากการทดลองใน
ห้องทดลอง นอกจากนี้ได้มีการทาศึกษาวิจัย โดยนาน้าต้มรากเตยหอมไปทดลองในสัตว์ทด ลองเพื่อดูฤทธิ์ลด
น้าตาลในเลือด ปรากฏว่าสามารถลดน้าตาลในเลือดของสัตว์ทดลองได้จึงนับได้ว่าสมุนไพรเตยหอมเป็นสมุนไพร
ที่มีคุณค่าอีกชนิดหนึ่งสามารถนามาทา เป็นเครื่องดื่มรับประทานเองได้
“เพิ่มมูลค่าสินค้าข้าวพันธุ์ชัยนาท คิดค้นปรุงกลิ่นข้าวใช้สารสกัดจากใบเตย คว้ารางวัลนาเสนอผลงานวิจัย
ยอดเยี่ยมระดับนานาชาติ” ตัวอย่างผลงานการนาเอาใบเตยมาประยุกต์
ผศ. ดร.เหรียญทอง สิงห์จานุสงค์อาจารย์ประจาภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ม.นเรศวร คิดค้นวิจัยการปรับปรุงกลิ่นหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท1
โดยใช้สารสกัดจากใบเตย จนคว้ารางวัลการนาเสนอผลงานวิจัยยอดเยี่ยม “TISD 2010 Best Presentation Award”
ในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 3rd Technology and Innovation for Sustainable Development
International Conference (TISD 2010)ศ.ดร.สุจินต์ จินายน อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวว่า แผน
ยุทธศาสตร์สาคัญประการหนึ่งในการพัฒนามหาวิทยาลัยนเรศวร คือการทาให้มหาวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับในเวที
วิจัยระดับสากล ซึ่งการนาเสนอผลงานวิจัยที่ตอบโจทย์ความต้องการ ทางสังคม ด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบกับประชาชนในพื้นที่ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เป็นหน้าที่ของ
4
มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการเป็นแหล่งบูรณาการองค์ความรู้ ต้องเป็นที่พึ่งพิงของสังคมได้อย่างแท้จริง
และยั่งยืน
ผศ.ดร.เหรียญทอง กล่าวว่า การประชุมวิชาการนานาชาติครั้งนี้ มีนักวิจัยสาขาต่าง ๆ ส่งผลงานเข้าร่วม
นาเสนอภาคบรรยาย 253 ผลงาน จาก 24 ประเทศ อาทิ ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรีย บังคลาเทศ เดนมาร์ค แคมา
รูน จีน เยอรมัน อินเดีย อิหร่าน ญี่ปุ่น มาเลเซีย พม่า ปากีสถาน ไต้หวัน ตุรกี อังกฤษ อเมริกา เวียดนาม แอฟริกาใต้
เกาหลีใต้และประเทศไทย เป็นต้น ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลมีการแลกเปลี่ยนแนวทางร่วมกันระหว่างนักวิจัย เป็น
การสร้างนวัตกรรมก่อให้เกิดเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ตอบรับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน
ทั้งนี้การนาเสนอผลงานวิจัยเรื่องการปรับปรุงกลิ่นหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท1 โดยใช้สารสกัดจาก
ใบเตย ซึ่งมีกลิ่นหอมคล้ายข้าวขาวดอกมะลิ105 (ข้าวหอมมะลิ) เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวพันธุ์ชัยนาท1 ซึ่งเป็นข้าว
เจ้าที่ไม่มีกลิ่นหอม กลิ่นใบเตยจึงเป็นทางเลือกในการปรับปรุงกลิ่นของข้าวพันธุ์ชัยนาท1โดยมีการศึกษาระยะเวลา
และปริมาณที่เหมาะสมสาหรับการเติมสารสกัดจากใบเตยในระหว่างการหุงข้าวพันธุ์ชัยนาท1 และการศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงความเข้มของกลิ่นใบเตยในข้าวพันธุ์ชัยนาท1 หลังการหุง และการเติมสารสกัดจากใบเตย ในระหว่าง
การเก็บรักษาในลักษณะต่าง ๆ เช่น การเก็บรักษาในถุงพลาสติกชนิดโพลีโพรพิลีน และกล่องพลาสติกที่อุ่น
ไมโครเวฟได้นาน 12 ชั่วโมง พบว่า ระยะเวลาที่เหมาะสมสาหรับการเติมสารสกัดจากใบเตยในระหว่างการหุงข้าว
พันธุ์ชัยนาท1 คือ 15 นาทีหลังการเปิดสวิตซ์หม้อหุงข้าว และปริมาณสารสกัดจากใบเตยที่เหมาะสมในการเติม
ระหว่างการหุงข้าวพันธุ์ชัยนาท1 คือ 105 มิลลิลิตร ความเข้มของกลิ่นใบเตย กลิ่นข้าวเก่า กลิ่นไข่ต้ม และกลิ่นข้าว
เหนียว ที่ประเมินโดยผู้ทดสอบการชิม ลดลงเมื่อระยะเวลาในการเก็บรักษานานขึ้น อย่างไรก็ตาม กลิ่นใบเตยยังคง
อยู่ในข้าวพันธุ์ชัยนาท1 หลังการหุงและเก็บไว้ในภาชนะทั้ง 2 ชนิด นานถึง 12 ชั่วโมง ดังนั้นกลิ่นหอมของข้าว
พันธุ์ชัยนาท1 หลังการหุง สามารถปรับปรุงได้โดยการเติมสารสกัดจากใบเตย ในปริมาณที่กาหนดจะทาให้ข้าว
พันธุ์ชัยนาท1 มีกลิ่นหอมคล้าย ข้าวขาวดอกมะลิ105
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เริ่มศึกษาถึงสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย แล้วนามาร่างในโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ และ อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ผู้จัดทา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ผู้จัดทา
3 จัดทาโครงร่างงาน ผู้จัดทา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ผู้จัดทา
5 ปรับปรุงทดสอบ ผู้จัดทา
6 การทาเอกสารรายงาน ผู้จัดทา
7 ประเมินผลงาน ผู้จัดทา
8 นาเสนอโครงงาน ผู้จัดทา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้ทราบถึงสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย และ ได้ทราบวิธีการนาต้นใบเตยมาประยุกต์ใช้ทั้งในอดีต
และปัจจุบัน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
“ เพิ่มมูลค่าสินค้าข้าวพันธุ์ชัยนาท คิดค้นปรุงกลิ่นข้าวใช้สารสกัดจากใบเตย คว้ารางวัลนาเสนอผลงานวิจัย
ยอดเยี่ยมระดับนานาชาติ”
ข้อมูลจาก http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9530000073778
( วันที่สืบค้นข้อมูล 6 กุมภาพันธ์ 2561 )
“ สรรพคุณของใบเตย” ข้อมูลจาก http://www.vcharkarn.com/varticle/40671
( วันที่สืบค้นข้อมูล 6 กุมภาพันธ์ 2561 )

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Jiratchaya Yam
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chanathip Loahasakthavorn
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)charintip0204
 
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)Prapatsorn Chaihuay
 
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพโครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพPraw Vanitt
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนนachirayaRchi
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงNitikan2539
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานUmaporn Maneesatjang
 

What's hot (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพโครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนน
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Microplastic
MicroplasticMicroplastic
Microplastic
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 

Similar to 2560 project no.03,28

เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์THEPHIM
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้Nattarika Pijan
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์anmor aunttt
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project wisita42
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนSuwanan Thipphimwong
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่ทาม ได้ไหมดาว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27Chonlakan Kuntakalang
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวกTai MerLin
 

Similar to 2560 project no.03,28 (20)

เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวก
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

More from kanyaluk dornsanoi

กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
2560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 52560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 5kanyaluk dornsanoi
 
กิจกรรมที่ 2-3-4
กิจกรรมที่ 2-3-4กิจกรรมที่ 2-3-4
กิจกรรมที่ 2-3-4kanyaluk dornsanoi
 
โครงร่างคอม อาหารอาเซียน
โครงร่างคอม อาหารอาเซียนโครงร่างคอม อาหารอาเซียน
โครงร่างคอม อาหารอาเซียนkanyaluk dornsanoi
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนkanyaluk dornsanoi
 

More from kanyaluk dornsanoi (9)

กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
 
2560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 52560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 5
 
กิจกรรมที่ 2-3-4
กิจกรรมที่ 2-3-4กิจกรรมที่ 2-3-4
กิจกรรมที่ 2-3-4
 
โครงร่างคอม อาหารอาเซียน
โครงร่างคอม อาหารอาเซียนโครงร่างคอม อาหารอาเซียน
โครงร่างคอม อาหารอาเซียน
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทน
 
Jirapon
JiraponJirapon
Jirapon
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
Projectcom 2560
Projectcom 2560Projectcom 2560
Projectcom 2560
 

2560 project no.03,28

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน : ใบเตยพืชมหัศจรรย์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว ชนิกานต์ พันชนะ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 11 2. นางสาว อาภาภรณ์ ปานหลุมข้าว เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ชนิกานต์ พันชนะ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 11 2. นางสาว อาภาภรณ์ ปานหลุมข้าว เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 11 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ใบเตยพืชมหัศจรรย์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Pandanus miracle plant ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาสื่อเพื่อการเรียนรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชนิกานต์พันชนะ นางสาว อาภาภรณ์ ปานหลุมข้าว ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่องทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เหตุผลที่ข้าพเจ้าเลือกทาโครงร่างโครงงาน เรื่อง ใบเตยพืชมหัศจรรย์ เพราะข้าพเจ้ามีความสนใจพืชพันธุ์ไม้ ในประเทศไทยซึ่งข้าพเจ้าได้ทราบพืชชนิดหนึ่งซึ่งเป็นพืชที่มีสรรพคุณมากมายและใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง พืช ชนิดที่กล่าวถึงนี้คือ ใบเตย โดยใบเตยเป็นพืชที่ผู้คนทั้งภายในและภายนอกประเทศให้ความสนใจอย่างมาก และทั้ง ยังมีนักวิทยาศาสตร์นาใบเตยมาวิจัยในด้านต่างๆอีกด้วย ข้าพเจ้าได้เห็นถึงประโยชน์และสรรพคุณมากมายของใบเตย พร้อมทั้งยังมีผลงานด้านการวิจัยอีกหลายๆ ผลงานจากผู้ที่มีชื่อเสียง จึงทาให้ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าข้าพเจ้าและผู้อ่านจะได้ทราบข้อมูลของ ใบเตยพืชมหัศจรรย์ อย่างครบถ้วน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) -ต้องการทราบถึงสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย -ต้องการทราบถึงการประยุกต์ใช้ต้นใบเตยทั้งในอดีตและปัจจุบัน
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เพื่อศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย รวมถึงวิธีการประยุกต์ใช้ต้นใบเตยทั้งในอดีตไปจนถึง ปัจจุบัน หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เตยเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว แตกกอเป็นพุ่มขนาดเล็ก ลาต้นเป็นข้อ มีรากค้าช่วยพยุงลาต้นไว้ ใบเป็นใบเดี่ยว สลับเวียนเป็นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ลักษณะเป็นใบเรียวยาว ขอบใบเรียบมีผิวมัน ตรงกลางใบเว้าลึกเป็นแอ่ง มี ชื่อเรียกตามท้องถิ่นอีกหลายชื่อ เช่น ส้มม่า(ระนอง) ส้มตะเลงเครง(ตาก) ส้มปู(แม่ฮ่องสอน) ส้มพอดีหรือผักเก็ง เค็ง(ภาคเหนือ) เป็นต้น ใบเตยจะมีกลิ่นหอมของน้ามันหอมระเหย (Fragrant Screw Pine) ซึ่งเป็นกลิ่นหอมจาก สารเคมีที่เรียกว่า 2-acetyl-1-pyrroline ซึ่งเป็นกลิ่นเดียวกันกับที่ได้ในข้าวหอมมะลิ ขนมปังขาว และดอกชมนาด นอกจากนี้ ใบเตยยังเต็มไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุอีกหลายชนิด ใบเตย 100 กรัม จะประกอบไปด้วย เบต้าแคโรทีน 3 ไมโครกรัม วิตามินซี 8 มิลลิกรัม วิตามินบี 2 0.2 มิลลิกรัม วิตามินบี 3 1.2 มิลลิกรัม แคลเซียม 124 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 0.1 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 27 มิลลิกรัม คาร์โบไฮเดรต 4.6 กรัม โปรตีน 1.9 กรัมและพลังงาน 35 กิโลแคลอรี่ ใบเตยประกอบไปด้วยน้ามันหอมระเหยและมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ ซึ่งในน้ามันหอมระเหยประกอบไป ด้วยสารหลายชนิด เช่น ไลนาลิลอะซีเตท (Linalyl acetate) เบนซิลอะซีเตท (Benzyl acetate) ไลนาโลออท (Linalool) และเจอรานิออล (Geraniol) และสารที่ทาให้มีกลิ่นหอมคือคูมาริน (Coumarin) และเอทิลวานิลลิน (Ethyl vanillin) ผลงานการวิจัยการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา พบว่า เตยหอมมีฤทธิ์ลดน้าตาลในเลือด ลดความดันโลหิต ลด อัตราการเต้นของหัวใจ ขับปัสสาวะ ซึ่งฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่กล่าวไปทั้งหมดนั้น ซึ่งมาจากการทดลองใน ห้องทดลอง นอกจากนี้ได้มีการทาศึกษาวิจัย โดยนาน้าต้มรากเตยหอมไปทดลองในสัตว์ทด ลองเพื่อดูฤทธิ์ลด น้าตาลในเลือด ปรากฏว่าสามารถลดน้าตาลในเลือดของสัตว์ทดลองได้จึงนับได้ว่าสมุนไพรเตยหอมเป็นสมุนไพร ที่มีคุณค่าอีกชนิดหนึ่งสามารถนามาทา เป็นเครื่องดื่มรับประทานเองได้ “เพิ่มมูลค่าสินค้าข้าวพันธุ์ชัยนาท คิดค้นปรุงกลิ่นข้าวใช้สารสกัดจากใบเตย คว้ารางวัลนาเสนอผลงานวิจัย ยอดเยี่ยมระดับนานาชาติ” ตัวอย่างผลงานการนาเอาใบเตยมาประยุกต์ ผศ. ดร.เหรียญทอง สิงห์จานุสงค์อาจารย์ประจาภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ม.นเรศวร คิดค้นวิจัยการปรับปรุงกลิ่นหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท1 โดยใช้สารสกัดจากใบเตย จนคว้ารางวัลการนาเสนอผลงานวิจัยยอดเยี่ยม “TISD 2010 Best Presentation Award” ในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 3rd Technology and Innovation for Sustainable Development International Conference (TISD 2010)ศ.ดร.สุจินต์ จินายน อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวว่า แผน ยุทธศาสตร์สาคัญประการหนึ่งในการพัฒนามหาวิทยาลัยนเรศวร คือการทาให้มหาวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับในเวที วิจัยระดับสากล ซึ่งการนาเสนอผลงานวิจัยที่ตอบโจทย์ความต้องการ ทางสังคม ด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบกับประชาชนในพื้นที่ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เป็นหน้าที่ของ
  • 4. 4 มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการเป็นแหล่งบูรณาการองค์ความรู้ ต้องเป็นที่พึ่งพิงของสังคมได้อย่างแท้จริง และยั่งยืน ผศ.ดร.เหรียญทอง กล่าวว่า การประชุมวิชาการนานาชาติครั้งนี้ มีนักวิจัยสาขาต่าง ๆ ส่งผลงานเข้าร่วม นาเสนอภาคบรรยาย 253 ผลงาน จาก 24 ประเทศ อาทิ ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรีย บังคลาเทศ เดนมาร์ค แคมา รูน จีน เยอรมัน อินเดีย อิหร่าน ญี่ปุ่น มาเลเซีย พม่า ปากีสถาน ไต้หวัน ตุรกี อังกฤษ อเมริกา เวียดนาม แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้และประเทศไทย เป็นต้น ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลมีการแลกเปลี่ยนแนวทางร่วมกันระหว่างนักวิจัย เป็น การสร้างนวัตกรรมก่อให้เกิดเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ตอบรับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ทั้งนี้การนาเสนอผลงานวิจัยเรื่องการปรับปรุงกลิ่นหลังการหุงต้มของข้าวพันธุ์ชัยนาท1 โดยใช้สารสกัดจาก ใบเตย ซึ่งมีกลิ่นหอมคล้ายข้าวขาวดอกมะลิ105 (ข้าวหอมมะลิ) เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวพันธุ์ชัยนาท1 ซึ่งเป็นข้าว เจ้าที่ไม่มีกลิ่นหอม กลิ่นใบเตยจึงเป็นทางเลือกในการปรับปรุงกลิ่นของข้าวพันธุ์ชัยนาท1โดยมีการศึกษาระยะเวลา และปริมาณที่เหมาะสมสาหรับการเติมสารสกัดจากใบเตยในระหว่างการหุงข้าวพันธุ์ชัยนาท1 และการศึกษาการ เปลี่ยนแปลงความเข้มของกลิ่นใบเตยในข้าวพันธุ์ชัยนาท1 หลังการหุง และการเติมสารสกัดจากใบเตย ในระหว่าง การเก็บรักษาในลักษณะต่าง ๆ เช่น การเก็บรักษาในถุงพลาสติกชนิดโพลีโพรพิลีน และกล่องพลาสติกที่อุ่น ไมโครเวฟได้นาน 12 ชั่วโมง พบว่า ระยะเวลาที่เหมาะสมสาหรับการเติมสารสกัดจากใบเตยในระหว่างการหุงข้าว พันธุ์ชัยนาท1 คือ 15 นาทีหลังการเปิดสวิตซ์หม้อหุงข้าว และปริมาณสารสกัดจากใบเตยที่เหมาะสมในการเติม ระหว่างการหุงข้าวพันธุ์ชัยนาท1 คือ 105 มิลลิลิตร ความเข้มของกลิ่นใบเตย กลิ่นข้าวเก่า กลิ่นไข่ต้ม และกลิ่นข้าว เหนียว ที่ประเมินโดยผู้ทดสอบการชิม ลดลงเมื่อระยะเวลาในการเก็บรักษานานขึ้น อย่างไรก็ตาม กลิ่นใบเตยยังคง อยู่ในข้าวพันธุ์ชัยนาท1 หลังการหุงและเก็บไว้ในภาชนะทั้ง 2 ชนิด นานถึง 12 ชั่วโมง ดังนั้นกลิ่นหอมของข้าว พันธุ์ชัยนาท1 หลังการหุง สามารถปรับปรุงได้โดยการเติมสารสกัดจากใบเตย ในปริมาณที่กาหนดจะทาให้ข้าว พันธุ์ชัยนาท1 มีกลิ่นหอมคล้าย ข้าวขาวดอกมะลิ105 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เริ่มศึกษาถึงสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย แล้วนามาร่างในโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ และ อินเตอร์เน็ต งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ผู้จัดทา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ผู้จัดทา 3 จัดทาโครงร่างงาน ผู้จัดทา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ผู้จัดทา 5 ปรับปรุงทดสอบ ผู้จัดทา 6 การทาเอกสารรายงาน ผู้จัดทา 7 ประเมินผลงาน ผู้จัดทา 8 นาเสนอโครงงาน ผู้จัดทา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้ทราบถึงสรรพคุณและประโยชน์ของต้นใบเตย และ ได้ทราบวิธีการนาต้นใบเตยมาประยุกต์ใช้ทั้งในอดีต และปัจจุบัน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีและเทคโนโลยี กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) “ เพิ่มมูลค่าสินค้าข้าวพันธุ์ชัยนาท คิดค้นปรุงกลิ่นข้าวใช้สารสกัดจากใบเตย คว้ารางวัลนาเสนอผลงานวิจัย ยอดเยี่ยมระดับนานาชาติ” ข้อมูลจาก http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9530000073778 ( วันที่สืบค้นข้อมูล 6 กุมภาพันธ์ 2561 ) “ สรรพคุณของใบเตย” ข้อมูลจาก http://www.vcharkarn.com/varticle/40671 ( วันที่สืบค้นข้อมูล 6 กุมภาพันธ์ 2561 )