SlideShare a Scribd company logo
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
จัดทาโดย น.ส.ฉันทนา ปาปัดถา
รหัส 5502052910022 – DICT II @KMUTNB
ผศ.ดร.ณมน จีรังสุวรรณ
เสนอ
ผศ.พัลลภ พิริยะสุริวงศ์
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
ประวัติ Path Analysis
Path Analysis
การวิเคราะห์เส้นทาง
การวิเคราะห์เส้นโยง
การวิเคราะห์อิทธิพล
การวิเคราะห์ความสัมพนธ์เชิงสาเหตุ
การวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ชีวอล์ล ไรท์ (Sewall Wright) นักพันธุกรรมศาสตร์ ผู้ริเริ่มพัฒนาเทคนิค
การวิเคราะห์เส้นทางในราว ค.ศ. 1918
ระยะต้นของทศวรรษที่ 1920 ต่อจากนั้นได้มีผู้นามาใช้ในวงการ
สังคมศาสตร์ เช่น ฮิวเบิร์ต เบลล็อค (Hubert M. Blalock, Jr.) เฮอร์เบิร์ต ไซมอน
(Hurbert S. Simon)เฮร์แมน ไวลด์ และลาร์ช จูรีน (Herman Wold a nd Lars
Jureen) เฮอร์เบิร์ต คอสท์เนอร์และโรเบิร์ต ลึก (Herbert L. Costner and
Robert K. Leik) เรมอง บูดอง (Raymond Boudon) และโอทิส ดัดเลย์ ดันคั่น
(Otis Dudley Duncan)
ประวัติ Path Analysis
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
จินตนา ธนวิบูลย์ชัย (2537: 11) ได้รวบรวมความหมายของ Path
Analysis ไว้ดังนี้
ไรท์ (Wright. 1934) ได้ให้ความหมายของเทคนิค Path Analysis ว่า
เป็นวิธีการผสมผสานข้อมูลเชิงปริมาณซึ่งสามารถวัดได้จากค่าสหสัมพันธ์กับข้อมูล
เชิงคุณภาพ ซึ่งได้จากความรู้ตามทฤษฎีเชิงสาเหตุและผลเพื่อการอธิบายในเชิงสถิติ
เพคเฮาเซอร์ (Pedhauzer. 1982) กล่าวว่า Path Analysis เป็นวิธีการ
ศึกษาผลทางตรงและผลทางอ้อมของตัวแปรต่างๆ ที่ตั้งสมมติฐานไว้ว่าเป็นสาเหตุ
หากเป็นวิธีการหนึ่งของการสร้างแบบจาลองเชิงสาเหตุและผล โดยที่นักวิจัยอาศัย
พื้นความรู้และข้อกาหนดตามทฤษฎีที่มีอยู่ในการดาเนินการ
ความหมาย Path Analysis
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
จินตนา ธนวิบูลย์ชัย (2537: 11) สรุปไว้ว่า เทคนิค Path Analysis เป็น
วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติอย่างหนึ่งที่อาศัยการประยุกต์วิธีวิเคราะห์การถดถอยมา
อธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระหลายๆ ตัวที่มีต่อตัวแปรตามทั้งที่เป็น
ความสัมพันธ์ทางตรงและทางอ้อม ตลอดจนสามารถอธิบายทิศทางและปริมาณ
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยมีลูกศรชี้ให้เห็นแบบจาลองของความสัมพันธ์ได้
การอธิบายความสัมพันธ์นี้อาศัยพื้นความรู้ในปรากฎการณ์และพื้นฐานความรู้ตาม
ทฤษฎีที่อธิบายในเชิงเหตุและผลเป็นสาคัญ วิธีวิเคราะห์นี้จึงสามารถนาไปใช้ในการ
ตรวจสอบหรือคัดเลือก หรือสร้างทฤษฎีด้วย
ความหมาย Path Analysis
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
กล่าวโดยสรุป การวิเคราะห์ Path Analysis เป็นวิธีการวิเคราะห์ทาง
สถิติที่ประยุกต์การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ เพื่อศึกษาและอธิบาย
ความสัมพันธ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมองตัวแปรอิสระหลายๆ ตัวที่มีต่อตัวแปร
ตาม รวมทั้งการอธิบายทิศทางและปริมาณความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยมี
ลูกศรชี้ให้เห็นแบบจาลองของความสัมพันธ์ได้ (Wright. 1934; Pedhauzer.
1982; จินตนา ธนวิบูลย์ชัย. 2537: 11)
ความหมาย Path Analysis
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การวิเคราะห์มุ่งไปที่การ
ประมวล (Effect) ของตัวแปรตัวใดตัว
หนึ่งที่มีต่ออีกตัวหนึ่ง ผลกระทบของ
ตัวแปรแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ผลทางตรง (Direct Effect) และผล
ทางอ้อม (Indirect Effect)
จุดมุ่งหมายของ Path Analysis
X3
X2
X4X1
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การวาดโมเดล Path Analysis
การวาดภาพโมเดลแสดงอิทธิพล
ตัวแปรแฝง (Latent Variables) แทนด้วยสัญลักษณ์รูป
วงกลมหรือวงรี
ตัวแปรสังเกตได้ (Observed Variables) แทนด้วยสลักษณะ
รูปสี่เหลี่ยม
เส้นทาง อิทธิพลทางตรง (Direct Effects) ระหว่างตัวแปร
แทนด้วยเส้นลูกศร
ความแปรปรวนร่วมหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางด้าน
ลูกศรเส้นโค้งสองหัว
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประเภทของ Path Analysis
นงลักษณ์ วิรัชัย (2535: 248) จาแนกออกเป็น 2 แบบ ได้แก่
1. การวิเคราะห์อิทธิพลแบบดั้งเดิม (Classical Path Analysis) นักวิจัยใช้
ขั้นตอนวิธี (Algorithm) การวิเคราะห์ถดถอยโดยการประมาณค่าแบบ
กาลังสองน้อยที่สุด (Least Square Estimation)
2. การวิเคราะห์อิทธิพลโดใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการวิเคราะห์
2.1 การจาแนกตามลักษณะตัวแปร เป็นโมเดลมีตัวแปรแฝง (Model
with Latent Variables) และโมเดลไม่มีตัวแปรแฝง (Model without
Latent Variables or Classical SEM)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประเภทของ Path Analysis
2.2 การจาแนกตามลักษณะความสัมพันธ์ เป็นโมเดลความสัมพันธ์ทางเดียว
(One-way Model or Recursive Model) และโมเดลความสัมพันธ์สอง
ทาง (Two-way Model or Non-recursive Model)
2.2 การจาแนกตามลักษณะกลุ่มประชากร เป็นโมเดลกลุ่มเดียว Single Group
Model) และโมเดลกลุ่มพหุ (Multiple Group Model) เพื่อศึกษาความไม่
แปรเปลี่ยนของโมเดล (Model Invariance) ระหว่างกลุ่มประชากร
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประเภทของ Path Analysis
2.3 การจาแนกตามลักษณะข้อมูล เป็นโมเดลภาคตัดขวาง (Cross-sectional
Modl) และโมเดลระยะยาว (Longitudinal Model) เพื่อศึกษาความ
คงที่ของโมเดล (Model Consistency) ระหว่างช่างเวลา
2.4 การจาแนกตามลักษณะอิทธิพล เป็นโมเดลที่ไม่มีทั้งอิทธิพลกากับ
(Moderating Effects) และอิทธิพลปฏิสัมพันธ์ (Interaction Effects)
และโมเดลที่มีอิทธิพลกากับ และ/หรืออิทธิพลปฏิสัมพันธ์
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประเภทของ Path Analysis
ในทางปฏิบัตินักสถิตินิยมจาแนกเภทโมเดลสมการโครงสร้าง
ออกเป็น 2 ประเภท ตามลักษณะตัวแปรเท่านั้น คือ โมเดลสมการโครงสร้าง
แบบไม่มีตัวแปรแฝง และโมเดลสมการโครงสร้างแบบมีตัวแปรแฝง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประเภทของ Path Analysis
โมเดลสมการโครงสร้างแบบไม่มีตัวแปรแฝง (Recursive Model)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประเภทของ Path Analysis
โมเดลสมการโครงสร้างแบบมีตัวแปรแฝง (Non Recursive Model)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ลักษณะข้อมูลที่ใช้ Path Analysis
Path Analysis ต้องอาศัยการวิเคราะห์ถดถอยเป็นหลัก ดังนั้นข้อมูล
ที่ใช้หรือระดับการวัดของตัวแปร คือ (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และลัดดาวัลย์
ลอดมณี. 2527: 55; จินตนา ธนวิบูลย์ชัย (2537: 21-24)
1. ตัวแปรตามควรเป็นตัวแปรที่มีการวัดระดับช่วง (Interval Scale)
หรือตัวแปรทวิ (ซึ่งมีค่าเป็น 1 และ 0) หรืออัตราส่วน (Ratio) หรือมาตรวัด
อื่นใดที่พอจะนามาเทียบเคียงกับมาตรวัดทั้งสองระดับนี้ได้
2. ตัวแปรอิสระจะเป็นตัวแปรที่มีการวัดระดับช่วง (Interval Scale)
หรือตัวแปรทวิ (ซึ่งมีค่าเป็น 1 และ 0) หรืออัตราส่วน (Ratio) หรือมาตรวัด
อื่นใดที่พอจะนามาเทียบเคียงกับมาตรวัดทั้งสองระดับนี้ได้
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ลักษณะข้อมูลที่ใช้ Path Analysis
3. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ในแบบจาลองเชิงสาเหตุและผลที่
สร้างขึ้นต้องเป็นเชิงเส้นตรงและเชิงบวก (Linearity and Additivity)
4. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ต้องเป็นลักษณะความสัมพันธ์เชิง
เหตุและผล (Causal relationship)
5. การวัดตัวแปรต่างๆ จะต้องมีความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงสูง
6. ตัวแปรส่วนที่เหลือ (Residual variable) ต้องไม่มีความสัมพันธ์กันเอง
และไม่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระที่อยู่ก่อนหน้าด้วย
7. ความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนมีคาคงที่ (Homoscedasticity
of error Variance)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ข้อสมมติฐานสาคัญของ Path Analysis
แบบจาลองความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้องเป็นความสัมพันธ์เชิง
เส้นตรง (Linear) เชิงบวก (Additive) และอสมมาตร (Asymmetric) หรือ
ทิศทางของความสัมพันธ์เป็นไปในทางเดียวกัน (Unidirectional)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
แบบจาลอง Path Analysis
จะสังเกตเห็นว่าจะมีหัวลูกศรของเส้นทางเพียงหัวเดียวและมีทิศทางเดียว (จาก
ซ้ายไปขวา) การเรียงลาดับตัวแปรต่างๆ เป็นการเรียงตามทฤษฎีหรือแนวความคิดเชิง
สาเหตุและผล
X4 ถูกกระทบโดย X1, X2 และ X3
X3 ถูกกระทบโดย X2 และ X1
X2 ถูกกระทบโดย X1
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลองตัวแปร 2 ตัว
สมมติว่าตัวแปรอิสระคือ X และตัวแปรตามคือ Y ในแบบจาลองจะเขียนได้
ดังภาพ
จะเห็นได้ว่ามีการกาหนดทิศทางความสัมพันธ์จาก X ไปยัง Y และมี
สัญลักษณ์ PYX ระบ่าเป็นค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เส้นทางระหว่าง X และ Y
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลองสมบูรณ์ในการเส้นทางตัวแปร 2 ตัว
ถ้าจะเขียนแผนภาพให้สมบูรณ์ก็ต้องให้ Y ถูกอธิบายโดยตัวแปรอื่นๆ อย่าง
ครบถ้วนนอกเหนือไปจากที่ถูกอธิบายโดย X สมมติ R เป็นตัวแปรอื่นๆ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลองตัวแปร 2 ตัว
สมมติว่าตัวแปรอิสระมีอยู่ 2 ตัวแปร คือ X1และ X2 และตัวแปรตามตัว
สุดท้ายคือ Y จากแนวคิดและทฤษฎีที่มีอยู่พบว่า ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามต่างมี
ความสัมพันธ์ตามภาพ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลองตัวแปร 4 ตัว
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลองตัวแปร 5 ตัว
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลอง 5 ตัวแปรที่มีเส้นทางไม่ครบ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลองที่ไม่สามารถระบุความสัมพันธ์ได้ชัดเจน
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวแปรในแบบจาลอง Path Analysis
แบบจาลองการวิเคราะห์เส้นทางที่มีความสัมพันธ์กัน
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ความสัมพันธ์ระหว่าง X และ Y
1. ความสัมพันธ์ทางตรง
2. ความสัมพันธ์จากตัวแปรคั่นกลาง
X Y
X Z Y
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ความสัมพันธ์ระหว่าง X และ Y
3. ความสัมพันธ์มีอิทธิพลทางตรง/อ้อม
4. ความสัมพันธ์ย้อนกลัง
X Y
X Z
Y
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
หลักการที่สาคัญของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
1. การสร้างโมเดลเชิงสาเหตุ
2. การใช้ขอ้มูลเชิงประจักษ์ตรวจสอบโมเดลที่สร้างขึ้น
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ลักษณะความสัมพันธ์
1. ผลทางตรง (Direct Effect หรือ DE) เป็นความสัมพันธ์ที่โยงถึงกัน
โดยตรงระหว่างตัวแปร
2. ผลทางอ้อม (Indirect Effect หรือ IE) เป็นความสัมพันธ์ที่โยงถึงกัน
โดยผ่านตัวแปรอื่นหรือโยงกันทางอ้อมระหว่างตัวแปร
3. ผลรวม (Total Effect หรือ TE) เป็นผลรวมของ DE กับ IE ซึ่ง
แสดงผลถึงในเชิงสาเหตุทั้งหมด
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ส่วนประกอบของการวิเคราะห์เส้นทาง
1. แผนภาพหรือไดอะแกรมที่แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร
2. การประมาณค่าอิทธิพล
3. การแยกส่วนประกอบของค่าอิทธิพล
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
Path Analysis is a Decomposition of Correlation
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Path Analysis
การถดถอย
การวิเคราะห์หาขนาดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในแบบจาลองจะ
กระทาได้โดยอาศัยการวิเคราะห์การถดถอยเป็นหลักในการคานวณ กล่าวคือ ใน
การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression) ของข้อมูลจากตัวแปร x
และ y เราสามารถใช้สูตรการเปลี่ยนคะแนนดิบให้เป็นคะแนนมาตรฐาน (ZX หรือ
ZY) เป็นศูนย์
ในสมการพยากรณ์ของ ZY จะให้ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐาน
(Standardized Regression Coefficient) ซึ่งใช้สัญลักษณ์ ß แทน b ซึ่งเป็น
สัมประสิทธิ์ถดถอยในกรณีที่ข้อมูลเป็นคะแนนดิบ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Path Analysis
การถดถอย
ค่า ß นี้ เมื่อนามาใช้ในการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Path Analysis มี
ชื่อเรียกใหม่ว่า Path Coefficient ซึ่งใช้สัญลักษณ์ P หรือ Pyx หรือ Pij แทน
โดยสับสคริบ (Subscript) y หรือ i แทนตัวแปรตาม ส่วนสับสคริบ x หรือ j
แทนตัวแปรอิสระ ค่า Pyx ที่ใช้ในการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายมี
ความสัมพันธ์กับค่า r และ b
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Path Analysis
ความแตกต่างระหว่างเทคนิค Path Analysis กับ Multiple Regression
เช่น จากแบบจาลองที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
สถานภาพทางเศรษฐกิจ (SES) ของผู้ปกคอรง (x 1) คุณภาพโรงเรียน (x2) และ
คุณภาพของครู (x3) ที่มีต่อตัวแปรตามซึ่งได้แก่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (x4)
Multiple Regression Path Analysis
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวอย่างงานวิจัย
การบริหารการเงินตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของผู้ประกอบการในจังหวัดลาปาง ลาพูน และเชียงใหม่
โดย พรชนก ทองลาด (2551)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวอย่างงานวิจัย
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ตัวอย่างงานวิจัย
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ข้อมูลตัวอย่าง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
โมเดลตัวอย่างก่อนวิเคราะห์
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
โมเดลตัวอย่างหลังวิเคราะห์
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ขอบคุณค่ะ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

More Related Content

What's hot

การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
DuangdenSandee
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
DuangdenSandee
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
Happy Zaza
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
Mint NutniCha
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
Twatchai Tangutairuang
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
Prachyanun Nilsook
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
Nattaka_Su
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
Krusupharat
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
DuangdenSandee
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
DuangdenSandee
 
วิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้าวิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้า
NodChaa
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 

What's hot (20)

การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
วิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้าวิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้า
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 

More from Chantana Papattha

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
Chantana Papattha
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
Chantana Papattha
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
Chantana Papattha
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
Chantana Papattha
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
Chantana Papattha
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Chantana Papattha
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Chantana Papattha
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Chantana Papattha
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยChantana Papattha
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญChantana Papattha
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...Chantana Papattha
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Chantana Papattha
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) Chantana Papattha
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...Chantana Papattha
 

More from Chantana Papattha (17)

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)