SlideShare a Scribd company logo
ICT for QA
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การประกันคุณภาพ
การศึกษา
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดย
บุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับ
ดูแลสถานศึกษานั้น
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงาน
ภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
(3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
(3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน
และระบบการประกันคุณภาพภายนอกระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงาน
ประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อ
สาธารณชน เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ
การประกันคุณภาพภายนอก
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 49 ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มีฐานะเป็นองค์การมหาชนทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
และทาการประเมินผลการจัด
การศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคานึงถึง
ความมุ่งหมายและหลักการและแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับตามที่กาหนดไว้
ในพระราชบัญญัตินี้
ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่ง
ครั้งในทุกห้าปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสาร
หลักฐานต่าง ๆ ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ตลอดจนให้บุคลากร
คณะกรรมการของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
สถานศึกษาให้ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนที่พิจารณาเห็นว่า เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
ภารกิจของสถานศึกษา ตามคาร้องขอของสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมิน
คุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรอง ที่
ทาการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษานั้น
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542
หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 51 ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตาม
มาตรฐานที่กาหนด ให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
จัดทาข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษา
ปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กาหนด หากมิได้ดาเนินการ ดังกล่าว ให้สานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อ
ดาเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไข
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 กับ
การประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 20 ให้สานักงานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบซึ่งเป็น
ระบบการประกันคุณภาพภายในสาหรับสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยได้รับความร่วมมือ ส่งเสริม และ
สนับสนุนจากภาคีเครือข่ายและสานักงาน
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน ให้เป็นไปตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้
พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้
• ระบบการประกันคุณภาพภายในของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับ
อุดมศึกษาโดยคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่
กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด
• ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบ
การประกันคุณภาพภายในที่กาหนดไว
• ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ
ภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
การวิเคราะห์และวัดผลดาเนินงานเป็นสิ่งจาเป็นในกระบวนการประกัน
คุณภาพ การวัดและวิเคราะห์ผลการดาเนินงานจะไม่สามารถทาไดอย่างถูกต้อง
และมีประสิทธิภาพหากปราศจากฐานขอมูลและระบบสารสนเทศที่เป็นจริง
ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน
ตลอดจนเป็นข้อมูลที่สามารถเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็ว
ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่ดีมีประสิทธิภาพจึงเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งที่จะ
ส่งผลต่อความสาเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผลต่อคุณภาพในทุก
ขั้นตอนการดาเนินงานตั้งแต่การวางแผน การปฏิบัติงานประจาการตรวจสอบ
ประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ประกันคุณภาพ
องค์ประกอบการประกันคุณภาพโดยทั่วไป
• การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
• การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit)
• การตรวจสอบคุณภาพภายใน (Internal Quality Audit)
• การตรวจสอบคุณภาพจากภายนอก (External Quality Audit)
• การรับรองคุณภาพ (Quality Accreditation)
• การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
สถาบันที่จัดการศึกษาทางไกลแบบอีเลิร์นนิงต้องดาเนินการพัฒนา
หลักสูตรแบบอีเลิร์นนิงโดยกาหนดมาตรฐานหลักสูตรภายใต้ข้อกาหนด
เช่นเดียวกับหลักสูตรทั่วไปที่จัดการเรียนการสอนแบบปกติ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
การประกันคุณภาพหลักสูตร
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
กาหนดมาตรฐานการประกันคุณภาพหลักสูตรสถาบันการศึกษาต้องกาหนดระบบ
การประกันคุณภาพของหลักสูตรทุกหลักสูตรให้ชัดเจน ซึ่งอย่างน้อยจะต้อง
ประกอบด้วยประเด็นหลัก 4 ประเด็น คือ
1. การบริหารหลักสูตร
2. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
3. การสนับสนุนและการให้คาแนะนานักศึกษา
4. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บัณฑิต
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
การประกันคุณภาพหลักสูตรแบบอีเลิร์นนิง
กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศหลักเกณฑ์การขอเปิดและ
ดาเนินการหลักสูตรระดับปริญญา ในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ.
2548 กาหนดให้หลักสูตรทุกหลักสูตรของการศึกษาทางไกลจะต้อง
กาหนดและพัฒนาระบบประกันคุณภาพของหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ
และเหมาะสมกับการจัดการศึกษาทางไกล
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
การประกันคุณภาพหลักสูตรแบบอีเลิร์นนิง
อย่างน้อยต้องประกอบด้วย 4 ประเด็น เหมือนกับการจัดหลักสูตร
ทั่วไป คือ
1. การบริหารหลักสูตร
2. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
3. การสนับสนุนและการให้คาแนะนานักศึกษา
4. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บัณฑิต
และกาหนดให้ทุกหลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยมีการ
ประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ตัวอย่าง เกณฑ์ มาตรฐานด้านหลักสูตร
เกณฑ์ หลักฐานอ้างอิง
1. มีหลักสูตรที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
อุดมศึกษาหรือมาตรฐานองค์กรวิชาชีพ
(แล้วแต่กรณี)
 หลักสูตรปริญญาบัณฑิต จานวน 12
สาขาวิชา
 หลักสูตรบัณฑิตศึกษา 5 สาขาวิชา
2. มีระบบหรือกลไกในการบริหารหลักสูตรทุก
หลักสูตร
 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่าง
 บันทึกการประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร
 รายชื่อผู้รับผิดชอบรายวิชาพื้นฐานของ
สถาบัน
3. มีการประเมินหลักสูตโดยนักศึกษาที่กาลังจะ
สาเร็จการศึกษา ในทุกปีการศึกษา
 สรุปผลการประเมินหลักสูตรโดยนักศึกษา
ประจาปีการศึกษา
 สรุปผลการประเมินการฝึกงาน
4. มีการประเมินหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิและ
ผู้ใช้บัณฑิต ทุก หนึ่งรอบการศึกษาตาม
หลักสูตร
 แบบประเมินหลักสูตรโดยผู้ใช้บัณฑิต
 แบบประเมินหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒ
5. มีการนาผลการประเมินมาปรับปรุงและ
พัฒนาหลักสูตร
 หลักสูตรฉบับปรับปรุง
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพ
แบบจาลองระบบพัฒนาหลักสูตรการสอนทางไกล
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ขั้นตอนกระบวนการประกันคุณภาพหลักสูตรแบบอีเลิร์นนิง
1. คณะ/หน่วยงาน
1.1 การประสานหลักสูตรจัดทาแผนประเมินหลักสูตร
1.2 คณะ/หน่วยงานแจ้งแผนตามข้อ 1.1 ให้สถาบันทราบ
1.3 คณะ/หน่วยงานแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพหลักสูตรของคณะ/
หน่วยงาน ทั้งนี้ควรมีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
2. หลักสูตร ดาเนินการประกันคุณภาพตามหลักสูตร และเตรียมการเพื่อการ
ประเมินตนเองตามกรอบที่สถาบันกาหนด
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ขั้นตอนกระบวนการประกันคุณภาพหลักสูตรแบบอีเลิร์นนิง
2. หลักสูตร ดาเนินการประกันคุณภาพตามหลักสูตร และเตรียมการเพื่อการ
ประเมินตนเองตามกรอบที่สถาบันกาหนด
3. คณะกรรมการประกันคุณภาพหลักสูตรของคณะ /หน่วยงาน พิจารณาผลการ
ประเมินตนเอง
4. คณะกรรมการประจาคณะ/หน่วยงาน พิจารณาประเมินตนเอง แจ้งผลให้
หลักสูตรคณะ / หน่วยงาน และสถาบันทราบ
5. คณะกรรมการวิชาการของสถาบัน รับทราบและพิจารณาประเมินจากข้อ 4
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศึกษาอีเลิร์นนิง
แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ
แนวคิดที่ 1
1. สถาบันทั่วไปที่มีโปรแกรม
หลายรูปแบบ
เปิดสอนทั้งระบบปกติและระบบออนไลน์
2. สถาบันสอนทางไกล ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก มีการใช้ ไอซีทีเพื่อเสริม
การเรียนการสอน
3. สถาบันลักษณะที่เป็นตัวแทน รับดาเนินการจัดโปรแกรมหลักสูตร การจัดการ
เรียนการสอนจากสถาบันอื่น ข้อดีของสถาบัน
ลักษณะนี้ คือ มีความยืดหยุ่นในการลงทะเบียน
เรียน และถ่ายทอดได้
4. สถาบันซึ่งเป็นผู้จัดหาข้อมูล
และเครื่องอานวยความ
สะดวก
สถาบันลักษณะนี้ช่วยสนับสนุนความต้องการ
ของผู้เรียนและสถาบัน เช่น University for
Industry
5. สถาบันซึ่งสร้างโดยไม่มี
วัตถุประสงค์
สอนผู้เรียนโดยตรง แต่มีอานาจที่จะให้ใบ
ปริญญา และให้บริการอื่น เช่น The Western
Governors University ในสหรัฐอเมริกา
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศึกษาอีเลิร์นนิง
แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ
1. สถาบันที่ตั้งขึ้นแสวงหา
กาไร
จุดประสงค์การจัดตั้งเพื่อสอนโดยตรงให้กับ
กลุ่มเปาหมายในตลาด
2. สถาบันที่ร่วมมือกันหลาย
สถาบัน
เป็นเครือข่าย เพื่อสนองความต้องการในการฝึกอบรม
เฉพาะทาง เพื่อให้ได้การรับรองอย่างเป็นทางการ เช่น
South Africa Telecom
3. สถาบันเน้นการบริการ
วิชาการเฉพาะ
ด้าน มีการจัดเก็บค่าบริการวิชาการ เช่น การบริการให้
คาปรึกษา การจัดโครงการสนับสนุนทางด้านเทคนิค
เป็นต้น
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศึกษาอีเลิร์นนิง
แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ
แนวคิด
ที่ 3
1. สถานที่มีรูปแบบ Single
Mode
มีจุดเน้นที่ออกแบบและสอนรายวิชาไกล การบริหาร
จัดการต่าง เช่น การวางแผนการใช้งบประมาณ การ
จัดหาบุคลากร และทรัพยากรต่าง ที่มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อการศึกษาทางไกลเท่านั้น
2. สถาบันแบบ Dual Mode มีการสอนทั้งในชั้นเรียนในมหาวิทยาลัย และเพิ่มช่อง
ทางการสอนแบบอีเลิร์นนิง
3. สถาบันแบบ Mixed
Mode
มีทั้งการสอนทางไกลแบบอีเลิร์นนิง และการสอนปกติ
ในสถาบันโดยใช้ผู้สอนชุดเดียวกัน
4. สถาบันลักษณะสมาคม เกิดจากการรวมตัวกันของสถาบันต่าง เพื่อเป็น
หุ้นส่วนในการสอนแบบทางไกล ภายใต้การบริหาร
จัดการของหน่วยงานเดียวกัน
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศึกษาอีเลิร์นนิง
แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ
แนวคิด
ที่ 4
1. ลักษณะความร่วมมือ
(Consortium)
โดยสถาบันการศึกษาแบบอีเลิร์นนิงจะเป็นตัวกลาง
เชื่อมต่อระหว่างมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยในภูมิภาค
ต่าง ที่ร่วมมือกันก่อตั้งโดยแบ่งใช้ทรัพยากรที่
สถาบันการศึกษาแต่ละแห่งมีอยู่ และมีข้อตกลงร่วมกัน
ที่จะรับรองผลการเรียนของสถาบันการศึกษาแบบอีเลิร์
นนิงรูปแบบนี้ สามารถเลือกเรียนหลักสูตรของ
มหาวิทยาลัยใดก็ได้ที่เป็นสมาชิก และสามารถเทียบ
โอนรายวิชากันได้
2. เป็นสถาบันการศึกษาแบบ
อีเลิร์นนิงที่มีหน่วยงานที่มี
อานาจในการให้ปริญญา
ให้ม่เป็นผู้จัดตั้งขึ้ส
โดยปกติจะทางานร่วมกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่แล้ว
มหาวิทยาลัยรูปแบบนี้จะทาหน้าที่เป็นธนาคารหน่วย
กิต (Credit Bank) มีพื้นที่สาหรบเก็บสะสมหนวยกิต
ของนักศึกษาที่เรียนจากสถาบนต่าง และนับหน่วยกิ
ตของหลักสูตรปริญญาของสถาบันการศึกาษแบบอีเลิร์
นนิง
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
ที่มา: Thailand Cyber University
สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันแบบอีเลิร์นนิงของประเทศ
ในภูมิภาคเอเชีย
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
สรุปการวิเคราะห์สถาบันที่ได้รับการจัดอันดับการจัด
การศึกษาแบบ e-Learning อันดับที่ 2-6
ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB
การประกันคุณภาพ ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นทางานให้เป็นระบบ
ตามกระบวนการเพื่อเกิดผลตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้
ขอบคุณค่ะ
ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

More Related Content

More from Chantana Papattha

Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Chantana Papattha
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Chantana Papattha
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยChantana Papattha
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญChantana Papattha
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)Chantana Papattha
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...Chantana Papattha
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Chantana Papattha
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) Chantana Papattha
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 

More from Chantana Papattha (12)

Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and Communication Technology for Quality Assurance)