SlideShare a Scribd company logo
แบบฟอร์มห าปกข้อเสนอโครงการ
                                                   หน้
                                                                           รหัส
                                                                              สโครงการ 14p41i001
                                              ข้อ
                                                อเสนอโครงก
                                                         การ
                              การแข่งขันพัฒนาโปร
                                               รแกรมคอมพิวเตอร์แห่งปร
                                                          ว         ระเทศไทย
ชื่อโครงก
        การ        (ภาษ
                      ษาไทย) ส่วนปประกอบของค วเตอร์
                                                คอมพิ
                   (ภาษ งกฤษ) Co
                      ษาอั         omputer Part
ประเภทโ  โปรแกรมที่เส 41 สื่อบ ยนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน
                      สนอ         บทเรี      รั                   รี                   น์
                           (Conten of Learnin Managem
                                  nt            ng               ment)
ทีมพัฒน นา
หัวหน้าโโครงการ
         1. ชื่อ-นามสกล นายนพคุณ สืบเลย (ชา
                      กุ                        าย)
         วัน/เดือน/ปีเกิด 19 พฤษภ 2520 ( 34 ปี 2 เดือน ) ระดับการ กษา ปริญญ
                                  ภาคม                          อ                      รศึ             ญาโท
         สถานศึกษา ส ทยากา
                      สาขาวิ      ารคอมพิวเตอร์ ภาควิชาคอ วเตอร์ คณ
                                                                 อมพิ                  ณะการงานอา พและเทคโนโลยี
                                                                                                      าชี
อื่นๆ (โป
        ปรดระบุ)
         สถานที่ติดต่อ เลขที่167 ม ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ข
                                  ม.18                           ขอนแก่น 40130
         โทรศั
         โ พท์ มือถือ 0833596 โทรสาร - E-mail su
                                  6297       ร                  ubloei@hotm            mail.com
         ที่อยู่ตามทะเบยนบ้าน ม.1 ต.วังเพิ่ม อ ชมพู จ.ขอ น 40220
                      บี          10         อ.สี                อนแก่
                                            ลงชื่อ.....................................……….................................
อาจารย์ทปรึกษาโครงการ
         ที่
         ชื่อ-นามสกุล นาย (ชาย)
         ระดับการศึกษ ตําแหน่งท ชาการ
                      ษา          ทางวิ
         สังกัด/สถานศึกษา
                      ศึ
         สถานที่ติดต่อ ต. อ. จ.
         โทรศั
         โ พท์ มือถือ โทรสาร - E-mail
         คํารับรอง “โคครงการนี้เป็น
                                 นความคิดริเริม กพัฒนาโครงการแล ได้ลอกเลียนแบบมาจา ้อื่น
                                             มของนั น
                                              ่                                       ละไม่          ลี                    ากผู
ผู้ใด
         ข้าพเจ้าขอรับ าจะให้คาแนะนําและ บสนุนให้้นักพัฒนาในค แลของ าพเจ้าดําเนินการ
                      บรองว่       คํ           ะสนั                                   ความดู         งข้                 นิ
ศึกษา/วิจย/พัฒนา
         จั
         ตามหัวข้อที่เส
                      สนอและจะทํําหน้าที่ประเมินผลงานดังกล่าวให้กับโครงการฯ ด้วย”
                                                มิ               ก
                                          ลงชื่อ.......................................…
                                                                                       ………...................................
หัวหน้าส น (อธิก
        สถาบั       การบดี/คณบดี/หัวหน้าภาควิชา/ผู้อานวยการ/อาจา ใหญ่/หัวห าหมวด)
                                 ดี                  ํน            ารย์       หน้
         ชื่อ-นามสกุล นาย วันชัย ศิริรัตนปัญญา (ชาย) ตําแหน่งทางวิชา ครู/อาจ
                                             ากร                   าการ       จารย์
         สถาบัน อื่นๆ (โปรดระบุ) ตาแหน่งทางบ หาร ผู้อํานวยการ
                                 ตํ          บริ
         สถานที่ติดต่อ เลขที167 ม ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ข
                            ่ ม.18                     ขอนแก่น 40130
         โทรศั
         โ พท์ มือถือ 0831182 โทรสาร - E-mail su
                                2883         ร         ubloei@hotm mail.com
         คํารับรอง “ขาพเจ้าขอรับ าผู้พัฒน สิทธิ์ขอรับทุนสนับสนุน
                     ข้         บรองว่       นามี      บ          นตามเงื่อนไขที่โครงการฯกําหนด
                                                                              ที           า
และอนุญ ดําเนินการศึกษา/วิจย/พัฒนาตาม วข้อที่ได้เสนอมานี้ในสถ นได้ภายใตการบังคับบัญชาของ
        ญาตให้                   จัั         มหั       ส          ถาบั        ต้          ญ
ข้าพเจ้า”
                                                   ลงชื่อ.......................................…
                                                                                                ………...................................
2

 2. สาระสําคัญของโครงการ คําสําคัญ (Key Words)
       สาระสําคัญ
       2.1 คียบอร์ด เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนําข้อมูลลงในเครืองคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นปุ่มตัวอักษร
              ์                                                     ่
เหมือนปุ่มเครืองพิมพ์ดีด เป็นอุปกรณ์รบเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะรับข้อมูลจากการกด
                ่                        ั
แป้นแล้วทําการเปลี่ยน เป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจํานวน
ตั้งแต่ 50 แป้นขึ้นไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มีแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทําให้การป้อนข้อมูลตัวเลข
ทําได้ง่ายและสะดวกขึ้น
       2.2 เมาส์ คือ อุปกรณ์นําเข้าข้อมูลที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้งานง่ายและสะดวกกว่า
แป้นพิมพ์มาก เนื่องจากไม่ต้องจดจําคําสั่งสําหรับป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ มีรูปร่างโค้ง ๆ งอ ๆ เหมือน
ก้อนสบู่ ใช้ตําแหน่งจุดตัด X และ Y จากจอภาพเพื่อกําหนดคําสั่งตามเงื่อนไขในโปรแกรม
       2.3 ซีพียู (CPU) ย่อมาจาก Central Processing Unit หรือหน่วยประมวลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันมีให้เลือกใช้ด้วยการหลายยี่ห้อและหลายรุ่น ทังนี้ผู้เลือกซื้อสามารถเลือกซือเพื่อใช้งานได้ตามความ
                                                           ้                        ้
ต้องการของการใช้งาน ด้วยการตรวจสอบคุณสมบัติของซีพียูที่ต้องการโดยตรวจสอบจากความเร็วที่ต้องการ
และความเหมาะสมของราคา
       2.4 เมนบอร์ด คือ แผงวงจรหลักที่ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อให้อุปกรณ์
ต่างๆ สามารถทํางานร่วมกันได้ ซึ่งเมนบอร์ดเปรียบเสมือนศูนย์กลางในการทํางาน และเป็นศูนย์กลางในการ
เชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น CPU RAM Hard Disk CD-ROM Floppy Disk VGA Card เป็นต้น
       2.5 แรม เป็นหน่วยความจําหลักของเครื่อง ประกอบด้วยแรมที่ทําหน้าที่บนซีพียูหรือเมนบอร์ด และเป็น
หน่วยความจําของเครื่องที่มีคุณสมบัติคือเมื่อปิดไฟฟ้าข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจําจะหายไป แรมแต่ละชนิดมี
ราคาที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความเร็ว ประสิทธิภาพของแรม บางประเภทสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้
ด้วยซึ่งมีราคาแพงกว่าแรมทีมีคุณสมบัติปกติ ผู้ใช้สามารถเลือกซื้อแรมใช้งานได้ตามความเหมาะสมของงาน
                              ่
และขึ้นอยู่กบรุนของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วย
             ั ่
       2.6 ฮาร์ดดิสก์ เป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดหนึ่งที่มีความจุมาก หากปิดเครื่องยังสามารถเรียกข้อมูลที่บันทึก
ไว้นามาใช้งานได้อก ในพื้นที่ของฮาร์ดดิสก์ยังแบ่งเป็นส่วนของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์
     ํ              ี
ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ที่ผใช้บันทึกไว้
                           ู้
       2.7 การ์ดแสดงผล หลักการทํางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้นเมื่อโปรแกรมต่าง ๆ ส่งข้อมูล
มาประมวลผลที่ซีพียู เมื่อซีพยูประมวลผลเสร็จจะส่งข้อมูลที่จะแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น
                                  ี
การ์ดแสดงผลก็จะส่งข้อมูลนีมาที่จอภาพตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่จะมี
                                ้
วงจรในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติและมีหน่วยความจํามาให้มากพอสมควร
       2.8 ออฟติคอลดิสก์ไดรฟ์ (Optical Disk Drive) มีหน้าทีในการนําข้อมูลเข้าและออกจากระบบ ผ่าน
                                                                  ่
กระบวนการทํางานของแสงเลเซอร์ ประกอบด้วย CD-ROM Drive, DVD-ROM Drive, COMBO Drive, CD
RW Drive และ DVD RW Drive
3

     2.9 เคส (Case) คือ โครงหรือกล่องสําหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การ
เรียกชื่อและขนาดของเคสจะแตกต่างกันออกไป ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อตามความเหมาะสมของงานและสถานที่
     2.10 จอภาพ เป็นอุปกรณ์ในการแสดงผลที่สําคัญมากอย่างหนึ่ง จอภาพที่ดีจะช่วยให้เราสามารถทํางาน
ได้นานมากขึ้น เนื่องจากไม่ปวดตา ไม่ต้องเพ่งในเวลาใช้งาน และที่สําคัญสําหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ด้าน
กราฟิกซึ่งต้องดูรายละเอียดของภาพและสีที่คมชัดตรงกับความเป็นจริง     ดังนั้นก่อนเลือกซื้อจอภาพจึงควร
ศึกษาก่อนว่าจะนําไปใช้งานในลักษณะใด

     คําสําคัญ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด เมาส์ ซีพียู เมนบอร์ด แรม ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผล
               ออพติคัลดิสก์ไดรฟ์ เคส จอภาพ

 3. หลักการและเหตุผล
       ในโลกเทคโนโลยีอย่างปัจจุบันนี้ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการธุรกิจการ
สื่อสารและธุรกิจอื่น ๆ เรียกได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งสําคัญอย่างยิ่ง เพราะทุกองค์กร ทุกธุรกิจ ต้องใช้ ต้องมี
เพราะสะดวก รวดเร็ว ทําให้ธุรกิจดําเนินไปอย่างรวดเร็ว คล่องตัวและอีกอย่างคือประหยัดพลังงานด้าน
บุคคลากรไปได้มากเลยทีเดียว ในส่วนของระบบศึกษาจึงต้องเน้นในเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge
Management) มากกว่าเน้นการจัดการสารสนเทศ (Management of Information Technology)
เพื่ อ ที่ จ ะสามารถบรรลุ เ ป้ า หมายของการเป็ น แหล่ ง องค์ ค วามรู้ แ ละองค์ ก รในการถ่ า ยทอดความรู้
สถาบันการศึกษาสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อบรรลุเป้าหมายได้หลายรูปแบบ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 ว่าด้วยแนวการจัด
การศึกษาในมาตรา 22 กล่าวว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
ได้และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” สื่อการสอนนับว่าเป็นสิ่งที่มีบทบาทอย่างมากมายในการเรียนการสอนนับแต่
ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าสื่อนั้นจะเป็นสื่อในรูปแบบใดก็ตามล้วนแต่เป็นทรัพยากรที่สามารถอํานวยความ
สะดวกในการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้นในการใช้สื่อการสอนนั้นผู้สอนจําเป็นจะ ต้องศึกษาถึงลักษณะเฉพาะ และ
คุณสมบัติของสื่อแต่ละชนิด เพื่อเลือกสื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการสอน และจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ให้แก่ผู้เรียน โดยต้องมีการวางแผนอย่างเป็นระบบในการใช้สื่อด้วย ทั้งนี้เพื่อให้กระบวนการการเรียนการสอน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 มาตรา 67 จึงได้
กําหนดไว้ว่า รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษารวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของ
คนไทย
       การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรสถานศึกษามุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้
ด้วยตนเอง เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์รวมทั้งมีความยืดหยุ่น สนองความ
ต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาทุกสถานที่และเรียนรู้ได้
4

จากสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทุกประเภท รวมทั้งเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ผู้สอนสามารถจัดทําและ
พัฒนาสื่อการเรียนรู้ข้ึนเองหรือนําสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัว และในระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนรู้ โดยใช้
วิจารณญาณในการเลือกใช้สื่อ และแหล่งความรู้ ลักษณะของสื่อการเรียนรู้ที่จะนํามาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ควรมีความหลากหลายทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และสื่ออื่น ๆ ซึ่งช่วยส่งเสริมให้การเรียนรู้
เป็นไปอย่างมีคุณค่า น่าสนใจ ชวนคิด ชวนติดตาม เข้าใจง่าย และรวดเร็วขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักวิธี
แสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้งและต่อเนื่องตลอดเวลา เพื่อให้การใช้สื่อการเรียนรู้เป็นไป
ตามแนวการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง ฉะนั้นนักเทคโนโลยีการศึกษาจึงมี
บทบาทสําคัญในการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา และต้องเป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการที่จะได้มาซึ่ง
ความรู้ ที่ น่ า เชื่ อ ถื อ และมี ค วามต้ อ งการของข้ อ มู ล ซึ่ ง จะช่ ว ยในการตั ด สิ น ใจในการทํ า งานซึ่ ง จะนํ า มาสู่
กระบวนการทางวิจัยทางเทคโนโลยี
       โปรแกรมบทเรียน (Courseware) คือ การนําคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เนื้อหาวิชาต่าง ๆ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูง จึงทําให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ มีความสามารถในการตองสนองต่อข้อมูลที่ผู้เรียนป้อนเข้าไปได้ทันที ซึ่งบทเรียนจะมีทั้ง
ตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง และเสียงประกอบเป็นการเสริมแรงแก่ผู้เรียน ทําให้ผู้เรียน
สนุกสนานไปกับบทเรียน โปรแกรมบทเรียนเป็นสื่อการสอนที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นวิธีที่เปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถของแต่ละบุคคล ในการฝึกฝน ท่องจํา ทบทวน ทําแบบฝึกหัด
ทดสอบ และเล่นเกมเสริมการเรียน เป็นต้น การใช้โปรแกรมบทเรียนจึงเป็นกระบวนการสอนอย่างหนึ่งที่
สามารถตอบสนองการเรียนเป็นรายบุคคล ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ
ความสนใจ และความพร้อมของตนเอง นับว่าเป็นสื่อการสอนที่ดีมากในปัจจุบัน โปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรม
บทเรียน (CAI : Authoring System) หมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ใช้ในการสร้างโปรแกรมบทเรียน การ
ทํางานของโปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรมบทเรียนนั้น ผู้สร้างจะต้องทําการจัดเตรียม และออกแบบเนื้อหาลงใน
โปรแกรมไว้ก่อน โปรแกรมนี้จะอ่านเนื้อหาของบทเรียนที่ผู้สร้างบทเรียนจัดเตรียมขึ้น และแสดงเนื้อหานั้น ๆ
ทีละหน้าจอภาพ เนื้อหาของบทเรียนที่ได้รับการออกแบบนั้นมิได้จํากัดเฉพาะในรูปของแบบตัวอักษรและ
ภาพนิ่งเหมือนกับสื่อสิ่งพิมพ์ หากยังประกอบไปด้วยสื่อประสมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก
ตาราง กราฟ ข้อมูลเสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพ วีดิทัศน์หรือภาพสามมิติ โดยที่ผู้สร้างสามารถจะเปลี่ยนแปลง
ข้อมูลสื่อประสมเหล่านี้ให้ทันสมัย (Update) ได้อย่างง่ายดาย รูปแบบต่าง ๆ ของเนื้อหานี้นอกจากกระตุ้น
ความสนใจของผู้ใช้แล้ว ยังมีลักษณะพิเศษ กล่าวคือ เนื้อหาที่ได้จะมีลักษณะไม่ตายตัว (Dynamic) หากข้อมูล
มีการเปลี่ยนแปลงจะเปลี่ยนแปลงไปด้วยโดยทันที นอกจากนี้โปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรมบทเรียนยังสามารถ
ช่วยผู้สร้างในการจัดเรียงเนื้อหาในลําดับต่าง ๆ รวมทั้งสามารถช่วยในการสร้างแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ รวมทั้งการประเมินการเรียนของผู้เรียนได้อีกด้วย โปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรม
บทเรียนนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายโปรแกรม สําหรับเครื่องพีซี โปรแกรมซึ่งดูเหมือนจะได้รับความนิยมแพร่หลาย
ที่สุดในขณะนี้ได้แก่ โปรแกรม Adobe Flash Multimedia Toolbook และโปรแกรม Authorware
5

       การเรียนการสอนในรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ครูผู้สอนใช้
วิธีการโดยผู้สอนอธิบายประกอบการสาธิตและส่งออกผ่านเครื่องฉายภาพ มุ่งสอนผู้เรียนทั้งชั้นไปพร้อมกัน
แล้วจึงให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบติ จากการสังเกตขณะสอนและผลจากการสอนผู้พัฒนาพบว่าปัญหาที่เกิดจากการ
                            ั
เรียนการสอนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คือ การทําความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบของ
คอมพิวเตอร์ หน้าที่ ชนิด และการเลือกซื้ออุปกรณ์ ซึงเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เพื่อศึกษา
                                                      ่
ระบบเครือข่ายในหน่วยการเรียนรู้ถัดไป ผู้พัฒนาจึงได้พัฒนาโปรแกรม สื่อบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้
ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็น
ลักษณะโปรแกรมบทเรียนประเภทการสอน (Tutorial Instruction) ซึ่งจะทําให้ผู้เรียนมีการโต้ตอบกัน
ระหว่างผู้เรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อีกทั้งสามารถนําไปศึกษานอกเหนือจากเวลาเรียนปกติได้ นอกจากนี้
คอมพิวเตอร์ยังสามารถตอบสนองต่อข้อมูลที่ผู้เรียนป้อนเข้าไปได้ทันที ซึ่งเป็นการช่วยเสริมแรงให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้น

4. วัตถุประสงค์
   4.1 เพื่อพัฒนาสื่อบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ชั้น
       มัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

5. ปัญหาหรือประโยชน์ทเป็นเหตุผลให้ควรพัฒนาโปรแกรม
                          ่ี
   5.1 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สําหรับจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและ
       การสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
       การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

6. เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ
   6.1 พัฒนาสื่อบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยม
       ศึกษาปีที่ 4 จํานวน 1 เรื่องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมี
       เนื้อหาดังนี้
       6.1.1 คีย์บอร์ด
       6.1.2 เมาส์
       6.1.3 ซีพียู
       6.1.4 เมนบอร์ด
       6.1.5 แรม
       6.1.6 ฮาร์ดดิสก์
       6.1.7 การ์ดแสดงผล
       6.1.8 ออพติคัลดิสก์ไดรฟ์
6

       6.1.9 เคส
       6.1.10 จอภาพ

7. รายละเอียดของการพัฒนา
   7.1 เนื้อเรื่องย่อ (Story Board)ภาพประกอบ แบบจําลอง หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโปรแกรม
       หรือผลงานทีสื่อให้เห็นผลงานทีเกิดขึ้น
                       ่             ่
       7.1.1 หน้าแรกของสือบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์จะแสดงดังภาพที่ 1
                              ่




                         ภาพที่ 1 หน้าแรกส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

       7.1.2 เมื่อคลิก เข้าสูบทเรียน จะแสดงหน้าแนะนําโปรแกรมดังภาพที่ 2
                             ่




                                  ภาพที่ 2 แนะนําโปรแกรม
       7.1.3 เมื่อเลือกเมนูแบบทดสอบหลังเรียนจะเข้าสู่การทําแบบทดสอบก่อนเรียน ดังภาพที่ 3
7




                          ภาพที่ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน

7.1.4 เมื่อคลิกเลือกเนื้อหาบทเรียนจะแสดงเนื้อหาบทเรียน ดังภาพที่ 4




                             ภาพที่ 4 เนื้อหาบทเรียน




7.1.5 เมื่อเลือกเมนูแบบทดสอบหลังเรียน จะเข้าสู่การทําแบบทดสอบหลังเรียน ดังภาพที่ 5
8




                             ภาพที่ 5 แบบทดสอบหลังเรียน

7.2 เทคนิคหรือเทคโนโลยีท่ใช้  ี
    พัฒนาโดยใช้ Adobe Flash CS3 แล้วนําเข้า LearnSquarePink จากนั้น Export เป็นSCORM
7.3 เครื่องมือทีใช้ในการพัฒนา
                ่
    7.3.1 Adobe Flash CS3
    7.3.2 โปรแกรมจําลองเว็บเซิรฟเวอร์AppServ 2.5.10
                                    ์
    7.3.3 LearnSquarePink
    7.3.4 Open Office.org Writer
    7.3.5 Open Office.org Draw
    7.3.6 Open Office.org Impress
    7.3.7 Open Office.org Calc
    7.3.8 HTML
7.4 รายละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนา (Software Specification) ได้แก่
    7.4.1 Input/Output Specification
            เลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษาตามเมนู โปรแกรมจะแสดงเนือหา ดังภาพที่ 1 – ภาพที่ 5
                                                              ้
    7.4.2 Functional Specification
            1) เว็บบราวเซอร์รองรับชนิดตัวอักษร UTF-8
            2) โปรแกรมเปิดไฟล์รูปแบบ OpenDocument
            3) โปรแกรมเปิดเอกสาร PDF(Portable Document Format)
9

    7.4.3 โครง างของซอฟ แวร์ (Design)
              งสร้          ฟต์
          เป็นไ มาตรฐาน SCORM ดังภาพที่ 6 ประ
              ไฟล์       น                        ะกอบด้วย 4 เฟรมหลัก ดัง ้
                                                                        งนี
          1) ส่วนบน เป็นชื่อเรื่อง
          2) ส่วนเมนู สําห บเลือกเนื้อห
                         หรั           หา
          3) ส่วนแสดงเนือ สําหรับแ
                          อหา
                          ้           แสดงเนื้อหาทีเลือกจากเมนู
                                                   ่
          4) ส่วนล่าง เป็นความช่วยเหลือการใช้ Lea
                                      ลื          arnSquare

7.5 ขอบเขตและ อจํากัดขอ
              ะข้          องโปรแกรมที่พัฒนา
    7.5.1 การ Export จาก LearnSqua     arePinkจะกําหนดรูปแบบตัวอักษรเป็น T
                                                   ห          ตั         TIS-620 ซึ่งฐานข้อมูล
          จัดเก็บเป็นชนิด U
              ก็           UTF-8 ทําให้ไ สอดคล้องกัน ส่งผลให้กา
                                        ไม่       กั          ารแสดงผลผิด
                                                                        ดพลาดดังภาพ ่ 7 จึง
                                                                                     พที
          ต้องสั่งให้เว็บบราวเซอร์เข้ารหัส นชนิด UT
                                        สเป็       TF-8




                                                 เฟรม 1 ชื่อเรื่ อ
                                                                 อง

                              เฟรม 2เม
                                     มนู
                                                                      เฟรม 3เนื้ อหา

                               เฟรม 4ค วยเหลือ
                                     ความช่ ลื


                             ภาพที่ 6 โ
                                      โครงสร้างของ
                                                 งซอฟต์แวร์
10




                          ภาพ ่ 7 การแสด
                            พที        ดงผลเมื่อเข้าสู่โปรแกรมครัง
                                                                งแรก
                                                                 ้

 8. บรร กรม (B
        รณานุ        Bibliography)
เกริกวุฒิ สุหิรญ. (255 ประกอบคอมฯใช้เอง. กรุงเทพฯ : เสริมวิทย์ อิน เมชั่น เท
               ั     50).                                       นฟอร์        ทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอ ทยาศาสต และเทคโนโ . (2553). หนังสือเรียน รายวิชาพืนฐาน เทคโนโ
                     อนวิ      ตร์       โลยี                              ้           โลยี
     สารรสนเทศและก ่อสาร ชันมัธยมศึกษา ที่ 4 – 6 กลุ่มสาระการ ยนรู้การงา
                     การสื      ้         าปี      ก             รเรี        านอาชีพและ
     เทคคโนโลยี ตามห กสูตรแกน
                     หลั       นกลางการศึก ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร :
                                        กษาขั       น
     โรงพมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
         พิ
สัญญา มีโพธิ์. (2551). ประกอบคอ วยตนเอ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
                               อมฯด้     อง.                      ั

9. ประ ติและผลงา เด่นของผ้พัฒนา ด้าน ทยาศาสตรและเทคโนโล
      ะวั         านดี      ผู        นวิ          ร์          ลยี
   9.1 การศึกษาอิส ่อง การร้จําลายมือเขีียนตัวเลขโดย เครือข่ายเบส์ ตามหลักสูตรปริญญาวิทยา-
                  สระเรื    รู                     ยใช้                             วิ
       ศาสตรมหาบณฑิต สาขาวิชาวิทยาการ
                  บั        วิ        รคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยา ยมหาวิทยา ยขอนแก่น พ.ศ.
                                                              าลั        าลั
       2549
   9.2 สื่อบทเรียนสาหรับระบบก ยนรู้ออน เรื่อง เท
                  สํ        การเรี     นไลน์       ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ 2553
                                                                                    ศ.

More Related Content

What's hot

แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5พงศธร ภักดี
 
แผนคอมป.1
แผนคอมป.1แผนคอมป.1
แผนคอมป.1bamroong
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
Sumalee Klom
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับAngsuthorn
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1Junya Punngam
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมNuchy Geez
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
prawit trakoonvidthayanan
 
แผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mxแผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mxJunya Punngam
 

What's hot (20)

แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
แผนคอมป.1
แผนคอมป.1แผนคอมป.1
แผนคอมป.1
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1
 
08
0808
08
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
 
แผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mxแผนการสอน Flash mx
แผนการสอน Flash mx
 
Star 22 26 32
Star 22 26 32Star 22 26 32
Star 22 26 32
 

Similar to Nsc2012

Exproject2
Exproject2Exproject2
Exproject2najak
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sornnarin Wuthifuey
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานThank Chiro
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมKittitud SaLad
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Mintra Pudprom
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์KaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Soldic Kalayanee
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์watnawong
 

Similar to Nsc2012 (20)

Exproject2
Exproject2Exproject2
Exproject2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Ratchadaporn605
Ratchadaporn605Ratchadaporn605
Ratchadaporn605
 
K3
K3K3
K3
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
 
Pro desktop80manual
Pro desktop80manualPro desktop80manual
Pro desktop80manual
 
5 6-7-8
5 6-7-85 6-7-8
5 6-7-8
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K02
K02K02
K02
 

More from suebloei

Sorting
SortingSorting
Sorting
suebloei
 
Graph
GraphGraph
Graph
suebloei
 
Mark test
Mark testMark test
Mark test
suebloei
 
Tree
TreeTree
Tree
suebloei
 

More from suebloei (7)

Sorting
SortingSorting
Sorting
 
Sorting
SortingSorting
Sorting
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
Mark test
Mark testMark test
Mark test
 
Tree
TreeTree
Tree
 
Stack
StackStack
Stack
 
Check box
Check boxCheck box
Check box
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Nsc2012

  • 1. แบบฟอร์มห าปกข้อเสนอโครงการ หน้ รหัส สโครงการ 14p41i001 ข้อ อเสนอโครงก การ การแข่งขันพัฒนาโปร รแกรมคอมพิวเตอร์แห่งปร ว ระเทศไทย ชื่อโครงก การ (ภาษ ษาไทย) ส่วนปประกอบของค วเตอร์ คอมพิ (ภาษ งกฤษ) Co ษาอั omputer Part ประเภทโ โปรแกรมที่เส 41 สื่อบ ยนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน สนอ บทเรี รั รี น์ (Conten of Learnin Managem nt ng ment) ทีมพัฒน นา หัวหน้าโโครงการ 1. ชื่อ-นามสกล นายนพคุณ สืบเลย (ชา กุ าย) วัน/เดือน/ปีเกิด 19 พฤษภ 2520 ( 34 ปี 2 เดือน ) ระดับการ กษา ปริญญ ภาคม อ รศึ ญาโท สถานศึกษา ส ทยากา สาขาวิ ารคอมพิวเตอร์ ภาควิชาคอ วเตอร์ คณ อมพิ ณะการงานอา พและเทคโนโลยี าชี อื่นๆ (โป ปรดระบุ) สถานที่ติดต่อ เลขที่167 ม ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ข ม.18 ขอนแก่น 40130 โทรศั โ พท์ มือถือ 0833596 โทรสาร - E-mail su 6297 ร ubloei@hotm mail.com ที่อยู่ตามทะเบยนบ้าน ม.1 ต.วังเพิ่ม อ ชมพู จ.ขอ น 40220 บี 10 อ.สี อนแก่ ลงชื่อ.....................................………................................. อาจารย์ทปรึกษาโครงการ ที่ ชื่อ-นามสกุล นาย (ชาย) ระดับการศึกษ ตําแหน่งท ชาการ ษา ทางวิ สังกัด/สถานศึกษา ศึ สถานที่ติดต่อ ต. อ. จ. โทรศั โ พท์ มือถือ โทรสาร - E-mail คํารับรอง “โคครงการนี้เป็น นความคิดริเริม กพัฒนาโครงการแล ได้ลอกเลียนแบบมาจา ้อื่น มของนั น ่ ละไม่ ลี ากผู ผู้ใด ข้าพเจ้าขอรับ าจะให้คาแนะนําและ บสนุนให้้นักพัฒนาในค แลของ าพเจ้าดําเนินการ บรองว่ คํ ะสนั ความดู งข้ นิ ศึกษา/วิจย/พัฒนา จั ตามหัวข้อที่เส สนอและจะทํําหน้าที่ประเมินผลงานดังกล่าวให้กับโครงการฯ ด้วย” มิ ก ลงชื่อ.......................................… ………................................... หัวหน้าส น (อธิก สถาบั การบดี/คณบดี/หัวหน้าภาควิชา/ผู้อานวยการ/อาจา ใหญ่/หัวห าหมวด) ดี ํน ารย์ หน้ ชื่อ-นามสกุล นาย วันชัย ศิริรัตนปัญญา (ชาย) ตําแหน่งทางวิชา ครู/อาจ ากร าการ จารย์ สถาบัน อื่นๆ (โปรดระบุ) ตาแหน่งทางบ หาร ผู้อํานวยการ ตํ บริ สถานที่ติดต่อ เลขที167 ม ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ข ่ ม.18 ขอนแก่น 40130 โทรศั โ พท์ มือถือ 0831182 โทรสาร - E-mail su 2883 ร ubloei@hotm mail.com คํารับรอง “ขาพเจ้าขอรับ าผู้พัฒน สิทธิ์ขอรับทุนสนับสนุน ข้ บรองว่ นามี บ นตามเงื่อนไขที่โครงการฯกําหนด ที า และอนุญ ดําเนินการศึกษา/วิจย/พัฒนาตาม วข้อที่ได้เสนอมานี้ในสถ นได้ภายใตการบังคับบัญชาของ ญาตให้ จัั มหั ส ถาบั ต้ ญ ข้าพเจ้า” ลงชื่อ.......................................… ………...................................
  • 2. 2 2. สาระสําคัญของโครงการ คําสําคัญ (Key Words) สาระสําคัญ 2.1 คียบอร์ด เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนําข้อมูลลงในเครืองคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นปุ่มตัวอักษร ์ ่ เหมือนปุ่มเครืองพิมพ์ดีด เป็นอุปกรณ์รบเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะรับข้อมูลจากการกด ่ ั แป้นแล้วทําการเปลี่ยน เป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจํานวน ตั้งแต่ 50 แป้นขึ้นไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มีแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทําให้การป้อนข้อมูลตัวเลข ทําได้ง่ายและสะดวกขึ้น 2.2 เมาส์ คือ อุปกรณ์นําเข้าข้อมูลที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้งานง่ายและสะดวกกว่า แป้นพิมพ์มาก เนื่องจากไม่ต้องจดจําคําสั่งสําหรับป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ มีรูปร่างโค้ง ๆ งอ ๆ เหมือน ก้อนสบู่ ใช้ตําแหน่งจุดตัด X และ Y จากจอภาพเพื่อกําหนดคําสั่งตามเงื่อนไขในโปรแกรม 2.3 ซีพียู (CPU) ย่อมาจาก Central Processing Unit หรือหน่วยประมวลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันมีให้เลือกใช้ด้วยการหลายยี่ห้อและหลายรุ่น ทังนี้ผู้เลือกซื้อสามารถเลือกซือเพื่อใช้งานได้ตามความ ้ ้ ต้องการของการใช้งาน ด้วยการตรวจสอบคุณสมบัติของซีพียูที่ต้องการโดยตรวจสอบจากความเร็วที่ต้องการ และความเหมาะสมของราคา 2.4 เมนบอร์ด คือ แผงวงจรหลักที่ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อให้อุปกรณ์ ต่างๆ สามารถทํางานร่วมกันได้ ซึ่งเมนบอร์ดเปรียบเสมือนศูนย์กลางในการทํางาน และเป็นศูนย์กลางในการ เชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น CPU RAM Hard Disk CD-ROM Floppy Disk VGA Card เป็นต้น 2.5 แรม เป็นหน่วยความจําหลักของเครื่อง ประกอบด้วยแรมที่ทําหน้าที่บนซีพียูหรือเมนบอร์ด และเป็น หน่วยความจําของเครื่องที่มีคุณสมบัติคือเมื่อปิดไฟฟ้าข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจําจะหายไป แรมแต่ละชนิดมี ราคาที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความเร็ว ประสิทธิภาพของแรม บางประเภทสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ ด้วยซึ่งมีราคาแพงกว่าแรมทีมีคุณสมบัติปกติ ผู้ใช้สามารถเลือกซื้อแรมใช้งานได้ตามความเหมาะสมของงาน ่ และขึ้นอยู่กบรุนของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วย ั ่ 2.6 ฮาร์ดดิสก์ เป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดหนึ่งที่มีความจุมาก หากปิดเครื่องยังสามารถเรียกข้อมูลที่บันทึก ไว้นามาใช้งานได้อก ในพื้นที่ของฮาร์ดดิสก์ยังแบ่งเป็นส่วนของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์ ํ ี ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ที่ผใช้บันทึกไว้ ู้ 2.7 การ์ดแสดงผล หลักการทํางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้นเมื่อโปรแกรมต่าง ๆ ส่งข้อมูล มาประมวลผลที่ซีพียู เมื่อซีพยูประมวลผลเสร็จจะส่งข้อมูลที่จะแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น ี การ์ดแสดงผลก็จะส่งข้อมูลนีมาที่จอภาพตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่จะมี ้ วงจรในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติและมีหน่วยความจํามาให้มากพอสมควร 2.8 ออฟติคอลดิสก์ไดรฟ์ (Optical Disk Drive) มีหน้าทีในการนําข้อมูลเข้าและออกจากระบบ ผ่าน ่ กระบวนการทํางานของแสงเลเซอร์ ประกอบด้วย CD-ROM Drive, DVD-ROM Drive, COMBO Drive, CD RW Drive และ DVD RW Drive
  • 3. 3 2.9 เคส (Case) คือ โครงหรือกล่องสําหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การ เรียกชื่อและขนาดของเคสจะแตกต่างกันออกไป ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อตามความเหมาะสมของงานและสถานที่ 2.10 จอภาพ เป็นอุปกรณ์ในการแสดงผลที่สําคัญมากอย่างหนึ่ง จอภาพที่ดีจะช่วยให้เราสามารถทํางาน ได้นานมากขึ้น เนื่องจากไม่ปวดตา ไม่ต้องเพ่งในเวลาใช้งาน และที่สําคัญสําหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ด้าน กราฟิกซึ่งต้องดูรายละเอียดของภาพและสีที่คมชัดตรงกับความเป็นจริง ดังนั้นก่อนเลือกซื้อจอภาพจึงควร ศึกษาก่อนว่าจะนําไปใช้งานในลักษณะใด คําสําคัญ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด เมาส์ ซีพียู เมนบอร์ด แรม ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผล ออพติคัลดิสก์ไดรฟ์ เคส จอภาพ 3. หลักการและเหตุผล ในโลกเทคโนโลยีอย่างปัจจุบันนี้ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการธุรกิจการ สื่อสารและธุรกิจอื่น ๆ เรียกได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งสําคัญอย่างยิ่ง เพราะทุกองค์กร ทุกธุรกิจ ต้องใช้ ต้องมี เพราะสะดวก รวดเร็ว ทําให้ธุรกิจดําเนินไปอย่างรวดเร็ว คล่องตัวและอีกอย่างคือประหยัดพลังงานด้าน บุคคลากรไปได้มากเลยทีเดียว ในส่วนของระบบศึกษาจึงต้องเน้นในเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มากกว่าเน้นการจัดการสารสนเทศ (Management of Information Technology) เพื่ อ ที่ จ ะสามารถบรรลุ เ ป้ า หมายของการเป็ น แหล่ ง องค์ ค วามรู้ แ ละองค์ ก รในการถ่ า ยทอดความรู้ สถาบันการศึกษาสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อบรรลุเป้าหมายได้หลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 ว่าด้วยแนวการจัด การศึกษาในมาตรา 22 กล่าวว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง ได้และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” สื่อการสอนนับว่าเป็นสิ่งที่มีบทบาทอย่างมากมายในการเรียนการสอนนับแต่ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าสื่อนั้นจะเป็นสื่อในรูปแบบใดก็ตามล้วนแต่เป็นทรัพยากรที่สามารถอํานวยความ สะดวกในการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้นในการใช้สื่อการสอนนั้นผู้สอนจําเป็นจะ ต้องศึกษาถึงลักษณะเฉพาะ และ คุณสมบัติของสื่อแต่ละชนิด เพื่อเลือกสื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการสอน และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้แก่ผู้เรียน โดยต้องมีการวางแผนอย่างเป็นระบบในการใช้สื่อด้วย ทั้งนี้เพื่อให้กระบวนการการเรียนการสอน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 มาตรา 67 จึงได้ กําหนดไว้ว่า รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษารวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของ คนไทย การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรสถานศึกษามุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ ด้วยตนเอง เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์รวมทั้งมีความยืดหยุ่น สนองความ ต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาทุกสถานที่และเรียนรู้ได้
  • 4. 4 จากสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทุกประเภท รวมทั้งเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ผู้สอนสามารถจัดทําและ พัฒนาสื่อการเรียนรู้ข้ึนเองหรือนําสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัว และในระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนรู้ โดยใช้ วิจารณญาณในการเลือกใช้สื่อ และแหล่งความรู้ ลักษณะของสื่อการเรียนรู้ที่จะนํามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ควรมีความหลากหลายทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และสื่ออื่น ๆ ซึ่งช่วยส่งเสริมให้การเรียนรู้ เป็นไปอย่างมีคุณค่า น่าสนใจ ชวนคิด ชวนติดตาม เข้าใจง่าย และรวดเร็วขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักวิธี แสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้งและต่อเนื่องตลอดเวลา เพื่อให้การใช้สื่อการเรียนรู้เป็นไป ตามแนวการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง ฉะนั้นนักเทคโนโลยีการศึกษาจึงมี บทบาทสําคัญในการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา และต้องเป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการที่จะได้มาซึ่ง ความรู้ ที่ น่ า เชื่ อ ถื อ และมี ค วามต้ อ งการของข้ อ มู ล ซึ่ ง จะช่ ว ยในการตั ด สิ น ใจในการทํ า งานซึ่ ง จะนํ า มาสู่ กระบวนการทางวิจัยทางเทคโนโลยี โปรแกรมบทเรียน (Courseware) คือ การนําคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เนื้อหาวิชาต่าง ๆ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูง จึงทําให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ มีความสามารถในการตองสนองต่อข้อมูลที่ผู้เรียนป้อนเข้าไปได้ทันที ซึ่งบทเรียนจะมีทั้ง ตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง และเสียงประกอบเป็นการเสริมแรงแก่ผู้เรียน ทําให้ผู้เรียน สนุกสนานไปกับบทเรียน โปรแกรมบทเรียนเป็นสื่อการสอนที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นวิธีที่เปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถของแต่ละบุคคล ในการฝึกฝน ท่องจํา ทบทวน ทําแบบฝึกหัด ทดสอบ และเล่นเกมเสริมการเรียน เป็นต้น การใช้โปรแกรมบทเรียนจึงเป็นกระบวนการสอนอย่างหนึ่งที่ สามารถตอบสนองการเรียนเป็นรายบุคคล ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ ความสนใจ และความพร้อมของตนเอง นับว่าเป็นสื่อการสอนที่ดีมากในปัจจุบัน โปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรม บทเรียน (CAI : Authoring System) หมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ใช้ในการสร้างโปรแกรมบทเรียน การ ทํางานของโปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรมบทเรียนนั้น ผู้สร้างจะต้องทําการจัดเตรียม และออกแบบเนื้อหาลงใน โปรแกรมไว้ก่อน โปรแกรมนี้จะอ่านเนื้อหาของบทเรียนที่ผู้สร้างบทเรียนจัดเตรียมขึ้น และแสดงเนื้อหานั้น ๆ ทีละหน้าจอภาพ เนื้อหาของบทเรียนที่ได้รับการออกแบบนั้นมิได้จํากัดเฉพาะในรูปของแบบตัวอักษรและ ภาพนิ่งเหมือนกับสื่อสิ่งพิมพ์ หากยังประกอบไปด้วยสื่อประสมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก ตาราง กราฟ ข้อมูลเสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพ วีดิทัศน์หรือภาพสามมิติ โดยที่ผู้สร้างสามารถจะเปลี่ยนแปลง ข้อมูลสื่อประสมเหล่านี้ให้ทันสมัย (Update) ได้อย่างง่ายดาย รูปแบบต่าง ๆ ของเนื้อหานี้นอกจากกระตุ้น ความสนใจของผู้ใช้แล้ว ยังมีลักษณะพิเศษ กล่าวคือ เนื้อหาที่ได้จะมีลักษณะไม่ตายตัว (Dynamic) หากข้อมูล มีการเปลี่ยนแปลงจะเปลี่ยนแปลงไปด้วยโดยทันที นอกจากนี้โปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรมบทเรียนยังสามารถ ช่วยผู้สร้างในการจัดเรียงเนื้อหาในลําดับต่าง ๆ รวมทั้งสามารถช่วยในการสร้างแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ รวมทั้งการประเมินการเรียนของผู้เรียนได้อีกด้วย โปรแกรมช่วยสร้างโปรแกรม บทเรียนนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายโปรแกรม สําหรับเครื่องพีซี โปรแกรมซึ่งดูเหมือนจะได้รับความนิยมแพร่หลาย ที่สุดในขณะนี้ได้แก่ โปรแกรม Adobe Flash Multimedia Toolbook และโปรแกรม Authorware
  • 5. 5 การเรียนการสอนในรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ครูผู้สอนใช้ วิธีการโดยผู้สอนอธิบายประกอบการสาธิตและส่งออกผ่านเครื่องฉายภาพ มุ่งสอนผู้เรียนทั้งชั้นไปพร้อมกัน แล้วจึงให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบติ จากการสังเกตขณะสอนและผลจากการสอนผู้พัฒนาพบว่าปัญหาที่เกิดจากการ ั เรียนการสอนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คือ การทําความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์ หน้าที่ ชนิด และการเลือกซื้ออุปกรณ์ ซึงเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เพื่อศึกษา ่ ระบบเครือข่ายในหน่วยการเรียนรู้ถัดไป ผู้พัฒนาจึงได้พัฒนาโปรแกรม สื่อบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้ ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็น ลักษณะโปรแกรมบทเรียนประเภทการสอน (Tutorial Instruction) ซึ่งจะทําให้ผู้เรียนมีการโต้ตอบกัน ระหว่างผู้เรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อีกทั้งสามารถนําไปศึกษานอกเหนือจากเวลาเรียนปกติได้ นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ยังสามารถตอบสนองต่อข้อมูลที่ผู้เรียนป้อนเข้าไปได้ทันที ซึ่งเป็นการช่วยเสริมแรงให้แก่ผู้เรียน ซึ่งส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาสื่อบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 5. ปัญหาหรือประโยชน์ทเป็นเหตุผลให้ควรพัฒนาโปรแกรม ่ี 5.1 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สําหรับจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 6. เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ 6.1 พัฒนาสื่อบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 4 จํานวน 1 เรื่องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมี เนื้อหาดังนี้ 6.1.1 คีย์บอร์ด 6.1.2 เมาส์ 6.1.3 ซีพียู 6.1.4 เมนบอร์ด 6.1.5 แรม 6.1.6 ฮาร์ดดิสก์ 6.1.7 การ์ดแสดงผล 6.1.8 ออพติคัลดิสก์ไดรฟ์
  • 6. 6 6.1.9 เคส 6.1.10 จอภาพ 7. รายละเอียดของการพัฒนา 7.1 เนื้อเรื่องย่อ (Story Board)ภาพประกอบ แบบจําลอง หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโปรแกรม หรือผลงานทีสื่อให้เห็นผลงานทีเกิดขึ้น ่ ่ 7.1.1 หน้าแรกของสือบทเรียนสําหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์จะแสดงดังภาพที่ 1 ่ ภาพที่ 1 หน้าแรกส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 7.1.2 เมื่อคลิก เข้าสูบทเรียน จะแสดงหน้าแนะนําโปรแกรมดังภาพที่ 2 ่ ภาพที่ 2 แนะนําโปรแกรม 7.1.3 เมื่อเลือกเมนูแบบทดสอบหลังเรียนจะเข้าสู่การทําแบบทดสอบก่อนเรียน ดังภาพที่ 3
  • 7. 7 ภาพที่ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน 7.1.4 เมื่อคลิกเลือกเนื้อหาบทเรียนจะแสดงเนื้อหาบทเรียน ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4 เนื้อหาบทเรียน 7.1.5 เมื่อเลือกเมนูแบบทดสอบหลังเรียน จะเข้าสู่การทําแบบทดสอบหลังเรียน ดังภาพที่ 5
  • 8. 8 ภาพที่ 5 แบบทดสอบหลังเรียน 7.2 เทคนิคหรือเทคโนโลยีท่ใช้ ี พัฒนาโดยใช้ Adobe Flash CS3 แล้วนําเข้า LearnSquarePink จากนั้น Export เป็นSCORM 7.3 เครื่องมือทีใช้ในการพัฒนา ่ 7.3.1 Adobe Flash CS3 7.3.2 โปรแกรมจําลองเว็บเซิรฟเวอร์AppServ 2.5.10 ์ 7.3.3 LearnSquarePink 7.3.4 Open Office.org Writer 7.3.5 Open Office.org Draw 7.3.6 Open Office.org Impress 7.3.7 Open Office.org Calc 7.3.8 HTML 7.4 รายละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนา (Software Specification) ได้แก่ 7.4.1 Input/Output Specification เลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษาตามเมนู โปรแกรมจะแสดงเนือหา ดังภาพที่ 1 – ภาพที่ 5 ้ 7.4.2 Functional Specification 1) เว็บบราวเซอร์รองรับชนิดตัวอักษร UTF-8 2) โปรแกรมเปิดไฟล์รูปแบบ OpenDocument 3) โปรแกรมเปิดเอกสาร PDF(Portable Document Format)
  • 9. 9 7.4.3 โครง างของซอฟ แวร์ (Design) งสร้ ฟต์ เป็นไ มาตรฐาน SCORM ดังภาพที่ 6 ประ ไฟล์ น ะกอบด้วย 4 เฟรมหลัก ดัง ้ งนี 1) ส่วนบน เป็นชื่อเรื่อง 2) ส่วนเมนู สําห บเลือกเนื้อห หรั หา 3) ส่วนแสดงเนือ สําหรับแ อหา ้ แสดงเนื้อหาทีเลือกจากเมนู ่ 4) ส่วนล่าง เป็นความช่วยเหลือการใช้ Lea ลื arnSquare 7.5 ขอบเขตและ อจํากัดขอ ะข้ องโปรแกรมที่พัฒนา 7.5.1 การ Export จาก LearnSqua arePinkจะกําหนดรูปแบบตัวอักษรเป็น T ห ตั TIS-620 ซึ่งฐานข้อมูล จัดเก็บเป็นชนิด U ก็ UTF-8 ทําให้ไ สอดคล้องกัน ส่งผลให้กา ไม่ กั ารแสดงผลผิด ดพลาดดังภาพ ่ 7 จึง พที ต้องสั่งให้เว็บบราวเซอร์เข้ารหัส นชนิด UT สเป็ TF-8 เฟรม 1 ชื่อเรื่ อ อง เฟรม 2เม มนู เฟรม 3เนื้ อหา เฟรม 4ค วยเหลือ ความช่ ลื ภาพที่ 6 โ โครงสร้างของ งซอฟต์แวร์
  • 10. 10 ภาพ ่ 7 การแสด พที ดงผลเมื่อเข้าสู่โปรแกรมครัง งแรก ้ 8. บรร กรม (B รณานุ Bibliography) เกริกวุฒิ สุหิรญ. (255 ประกอบคอมฯใช้เอง. กรุงเทพฯ : เสริมวิทย์ อิน เมชั่น เท ั 50). นฟอร์ ทคโนโลยี. สถาบันส่งเสริมการสอ ทยาศาสต และเทคโนโ . (2553). หนังสือเรียน รายวิชาพืนฐาน เทคโนโ อนวิ ตร์ โลยี ้ โลยี สารรสนเทศและก ่อสาร ชันมัธยมศึกษา ที่ 4 – 6 กลุ่มสาระการ ยนรู้การงา การสื ้ าปี ก รเรี านอาชีพและ เทคคโนโลยี ตามห กสูตรแกน หลั นกลางการศึก ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร : กษาขั น โรงพมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. พิ สัญญา มีโพธิ์. (2551). ประกอบคอ วยตนเอ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. อมฯด้ อง. ั 9. ประ ติและผลงา เด่นของผ้พัฒนา ด้าน ทยาศาสตรและเทคโนโล ะวั านดี ผู นวิ ร์ ลยี 9.1 การศึกษาอิส ่อง การร้จําลายมือเขีียนตัวเลขโดย เครือข่ายเบส์ ตามหลักสูตรปริญญาวิทยา- สระเรื รู ยใช้ วิ ศาสตรมหาบณฑิต สาขาวิชาวิทยาการ บั วิ รคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยา ยมหาวิทยา ยขอนแก่น พ.ศ. าลั าลั 2549 9.2 สื่อบทเรียนสาหรับระบบก ยนรู้ออน เรื่อง เท สํ การเรี นไลน์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ 2553 ศ.