SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
การเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยีการศึกษา
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้ สื่อการสอน
ของครูสมศรีตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูป
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
ด ้านการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
ของครูสมศรี
การจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ใช ้วิธีการสอนหรือบรรยายให ้นักเรียนจา
โดยครูจะเป็นผู้ควบคุมดาเนินการในการวาง
แผนการสอนทั้งหมด ครูสมศรีมีความเชื่อ
ที่ว่า การสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือ
สามารถทาให ้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา
เรื่องราวในบทเรียนให ้ได ้มากที่สุด
การใช ้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนรับ
ข ้อเท็จจริงอย่างมีประสิทธิภาพ เน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง โดยต ้องเน้นให ้ผู้เรียน
- มีโอกาสใช ้กระบวนการคิด
- ได ้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น
- ได ้ใช ้สื่อต่างๆ เพื่อการเรียนรู้
- มีโอกาสแสดงออกอย่างอิสระ
- เรียนรู้ตรงกับความสนใจ ความถนัดของตน
- ลงมือปฏิบัติด ้วยตนเอง
- เรียนรู้จากสภาพจริงและประสบการณ์ตรง
- เรียนรู้อย่างมีความสุข
ด้านการใช้สื่อการสอน
สื่อการสอน
ของครูสมศรี
สื่อการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ
สื่อการสอนที่นามาใช ้ในประกอบการ
สอนจะเป็นในลักษณะที่เน้นการถ่ายทอด
ความรู้ เช่น
- หนังสือเรียน
- การสอนบนกระดาน
- วิดีโอ
สื่อการเรียนรู้ที่นามาใช ้ประกอบการ
เรียนการสอนจะเน้นผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
แหล่งข ้อมูลโดยตรง เช่น
- เทคโนโลยี
- ภูมิปัญญาท ้องถิ่น
และแหล่งเรียนรู้
- สื่อการเรียน
- ครู
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
วิธีเรียนการเรียนรู้ของ
นักเรียนของครูสมศรี
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
ในยุคที่เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
- รอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว
- ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนด
ทั้งหมด
- ไม่กระตือรือร ้นที่จะหาความรู้จากที่อื่น
เพิ่มเติม
- เกิดความเบื่อหน่ายระหว่างการเรียน
- เป็นผู้คัดลอกหรือจดจาความรู้
- เป็นกิจกรรมการเรียนรู้รายบุคคล
- เป็นผู้ร่วมเรียนรู้อย่างตื่นตัวในกระบวนการ
เรียนรู้
- ผู้เรียนมีการค ้นหาความรู้นอกเหนือจาก
การเรียนการสอนในห ้องเรียน
- มีความกระตือรือร ้น ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนในการหา
ความรู้จากแหล่งเรียนรู้นอกห ้องเรียน
- ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน
- เป็นผู้สร ้างและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกับ
เพื่อนในชั้นแบบผู้เชี่ยวชาญ
- เป็นการร่วมมือกันเรียนรู้กับผู้เรียนอื่นๆ
แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน การใช้สื่อการสอนตลอดจน
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียนของครูสมศรีนั้น ไม่มีความสอดคล้องกับยุค
ปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ เพราะ การศึกษาที่เน้นผู้เรียน
เป็ นสาคัญคือ กระบวน การจัดการเรียนรู้ที่ให้ความสาคัญกับผู้เรียน
เน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการ คิดริเริ่ม แสวงหา วิเคราะห์ จัดการ
ความรู้ และลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ด้วยตัวเองตามความต้องการ
และความสนใจ และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้ แต่ครูสมศรีใช้วิธีการสอนโดยการเน้นให้นักเรียนท่องจา และทา
กิจกรรมตามที่ครูสั่งทั้งหมด ซึ่งไม่ได้ฝึกให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ และการวิเคราะห์องค์ความรู้ ดังนั้นวิธีการสอนของครู
สมศรีจึงทาให้นักเรียนเกิดความเฉื่อยชาในการเรียนการสอน ไม่มี
ความกระตือรือร้นที่จะหาความรู้ด้วยตนเอง
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการ
เรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
สนับสนุน
การเปลี่ยนแปลง
ทางการศึกษา
แนวคิดดั้งเดิม แนวคิดใหม่
1. ด ้านการเรียน
การสอน
- "เน้นทักษะการจดจา”
- ห ้องเรียนประกอบด ้วยเก ้าอี้และ
โต๊ะเรียงกันเป็นแถว
- คุณครูยืนสอนอยู่หน้าชั้นเรียน
- ครูเป็นผู้ควบคุม ดาเนินการใน
การจัดการเรียนการสอนทั้งหมด
- นักเรียนมีหน้าที่รอรับสารสนเทศ
จากครูเท่านั้น
- การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช ้
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ต่างๆให ้เป็นประโยชน์
- ฝึกให ้นักเรียนให ้คิดเป็น
แก ้ปัญหาเป็น และสามารถ
ศึกษาด ้วยตนเองได ้
เนื่องจากในปัจจุบัน กระแสการเปลี่ยนแปลงด ้านต่างๆเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งเข ้า
มามีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ดังนั้นการศึกษาจึงต ้องปรับเปลี่ยน
ให ้ทันและสอดคล ้องกับการเปลี่ยนแปลงของชาตอและสังคมโลก ซึ่งทาให ้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในด ้านการเรียนการสอน
การเปลี่ยนแปลง
ทางการศึกษา
บทบาทเดิม บทบาทใหม่
2. การเปลี่ยน
แปลงบทบาท
ผู้เรียน
- เป็นผู้รอรับสารสนเทศจากครู
อย่างเฉื่อยชา
- เป็นผู้คัดลอกหรือจดจาความรู้
- เป็นกิจกรรมการเรียนรู้รายบุคคล
- เป็นผู้ร่วมเรียนรู้อย่างตื่นตัวใน
กระบวนการเรียนรู้
- เป็นผู้สร ้างและแลกเปลี่ยน
ความรู้ร่วมกับเพื่อนในชั้นแบบ
ผู้เชี่ยวชาญ
- เป็นการร่วมมือกันเรียนรู้กับผู้
เรียนอื่นๆ
ในสังคมโลกปัจจุบันพบว่า ความต ้องการเกี่ยวกับตัว
ผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น แม ้ว่าครั้งหนึ่งอาจจะมีการตอบสนองต่อการ
เรียนแบบท่องจามามาก แต่ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริงต ้องการ
บุคคลที่มี ความสามารถในการใช ้ทักษะการให ้เหตุผลในระดับ
ที่สูงขึ้น เพื่อการแก ้ปัญหาที่ซับซ ้อน ซึ่งพบว่า ความสามารถใน
ทักษะดังกล่าวที่จะนามาใช ้ในการแก ้ปัญหาไม่ค่อยปรากฏให ้
เห็น หรือมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน แนวคิดเกี่ยวกับผู้เรียนจึงต ้อง
เปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่ จึงเป็นสาเหตุที่ทาให ้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงบทบาทผู้เรียน
การเปลี่ยนแปลง
ทางการศึกษา
บทบาทเดิม บทบาทใหม่
2. การเปลี่ยน
แปลงบทบาท
ครูผู้สอน
- เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ เป็นผู้
เชี่ยวชาญด ้านเนื้อหาและเป็น
แหล่งสาหรับคาตอบ
- เป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอน
และส่งเนื้อหาความรู้ไปยังผู้
เรียนโดยตรง
- เป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วม
แก ้ปัญหา โค ้ช ชี้นาความรู้
และผู้ร่วมเรียนรู้
- เป็นผู้จัดเตรียมหรือให ้สิ่งที่
ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของผู้
เรียนอย่างหลากหลาย
ในปัจจุบัน เป็นยุคที่การศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
จากที่ครูเคยเป็นเพียงผู้ถ่ายถอดความรู้ให ้นักเรียนเพียง
อย่างเดียว ซึ่งทาให ้นักเรียนไม่เกิดความกระตือรือร ้นใน
การหาความรู้ใหม่ด ้วยตนเอง ครูจึงต ้องมีการเปลี่ยนแปลง
บทบาทใหม่ให ้สอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาด ้วย
เพื่อให ้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้เหมาะสม
กับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
1. ครูสมศรีควรฝึกให ้นักเรียนทากิจกรรมกลุ่ม และให ้ไปหาข ้อมูลใหม่ๆ
นอกห ้องเรียน ซึ่งจะทาให ้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ซึ่งจะทาให ้นักเรียนสามารถจดจาความรู้นั้นๆ ได ้โดยที่ไม่ต ้องท่องจา
2. ครูสมศรีไม่ควรทาหน้าที่เพียงแค่เป็นผู้บรรยายความรู้ให ้นักเรียน
ท่องจาเท่านั้น แต่ควรเป็นผู้ที่คอยชี้แนะแนวทาง เป็นผู้ส่งเสริม
เอื้ออานวย ร่วมแก ้ปัญหา ชี้นาความรู้ และเป็นผู้ร่วมเรียนรู้ไปพร ้อมกับ
นักเรียน
3. ครูสมศรีควรฝึกให ้นักเรียนใช ้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี
ต่างๆ เพื่อช่วยในการค ้นหาความรู้ใหม่ๆ เพิ่มเติม ซึ่งจะทาให ้
นักเรียนเกิดความสนใจในการค ้นหาความรู้ใหม่ๆ ด ้วยตนเอง
และทาให ้นักเรียนเกิดความกระตือรือร ้น
ในการเรียนมากขึ้น
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวจันจิรา จันทะแจ่ม รหัสนักศึกษา 533050424-9
2. นางสาวสุรีธร แดงน้อย รหัสนักศึกษา 533050447-7
3. นางสาวชไมพร ไชยญะอนุกูล รหัสนักศึกษา 533050496-4
ชั้นปีที่ 4 สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้janepi49
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2goojaewwaow
 
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาWuth Chokcharoen
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^Vi Mengdie
 
งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2Romrawin Nam
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Real PN
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2lalidawan
 

What's hot (16)

การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
C4
C4C4
C4
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 
Innovation chapter 2
Innovation chapter 2Innovation chapter 2
Innovation chapter 2
 
The assure model
The assure modelThe assure model
The assure model
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^
 
งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 

Viewers also liked

Bardella giulia 2010-11_esercizio4
Bardella giulia 2010-11_esercizio4Bardella giulia 2010-11_esercizio4
Bardella giulia 2010-11_esercizio4Giulia-B
 
Matteo. scatti che fissano momenti
Matteo. scatti che fissano momentiMatteo. scatti che fissano momenti
Matteo. scatti che fissano momentiMIUR
 
Creació d’imatges
Creació d’imatgesCreació d’imatges
Creació d’imatgesAriadnamartin
 
Svaparome depliant 04 2013
Svaparome depliant 04 2013Svaparome depliant 04 2013
Svaparome depliant 04 2013Innovares Srl
 
Deaddis prospettive ricerche Adda Lodi
Deaddis prospettive ricerche Adda LodiDeaddis prospettive ricerche Adda Lodi
Deaddis prospettive ricerche Adda Lodimaxdeaddis
 
Evaluacion 4 renny mendoza
Evaluacion 4 renny mendozaEvaluacion 4 renny mendoza
Evaluacion 4 renny mendozarennyjse
 
Sma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyana
Sma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyanaSma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyana
Sma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyanawidiameitrisari
 
Pares algoritmos
Pares algoritmosPares algoritmos
Pares algoritmosbraken262
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1Lenok_st3
 

Viewers also liked (20)

Cumpleaños dia
Cumpleaños diaCumpleaños dia
Cumpleaños dia
 
Bardella giulia 2010-11_esercizio4
Bardella giulia 2010-11_esercizio4Bardella giulia 2010-11_esercizio4
Bardella giulia 2010-11_esercizio4
 
Facility Service
Facility ServiceFacility Service
Facility Service
 
Matteo. scatti che fissano momenti
Matteo. scatti che fissano momentiMatteo. scatti che fissano momenti
Matteo. scatti che fissano momenti
 
Creació d’imatges
Creació d’imatgesCreació d’imatges
Creació d’imatges
 
Svaparome depliant 04 2013
Svaparome depliant 04 2013Svaparome depliant 04 2013
Svaparome depliant 04 2013
 
Cuadro de resumen
Cuadro de resumenCuadro de resumen
Cuadro de resumen
 
LED arduino
LED arduinoLED arduino
LED arduino
 
prova
provaprova
prova
 
Deaddis prospettive ricerche Adda Lodi
Deaddis prospettive ricerche Adda LodiDeaddis prospettive ricerche Adda Lodi
Deaddis prospettive ricerche Adda Lodi
 
Scontatutto di Expert
Scontatutto di ExpertScontatutto di Expert
Scontatutto di Expert
 
агросмоленское
агросмоленскоеагросмоленское
агросмоленское
 
Evaluacion 4 renny mendoza
Evaluacion 4 renny mendozaEvaluacion 4 renny mendoza
Evaluacion 4 renny mendoza
 
Sma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyana
Sma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyanaSma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyana
Sma12bhsing interlanguage scienceandsocial jokopriyana
 
Pares algoritmos
Pares algoritmosPares algoritmos
Pares algoritmos
 
Login page1
Login page1Login page1
Login page1
 
Angie2233
Angie2233Angie2233
Angie2233
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Informe
InformeInforme
Informe
 
En torno a las tic 1 a
En torno a las tic 1 aEn torno a las tic 1 a
En torno a las tic 1 a
 

Similar to Chapter 2

Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2FerNews
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2beta_t
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Pari Za
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4Pari Za
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
Chapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมChapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมKik Nookoogkig
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้lalidawan
 

Similar to Chapter 2 (20)

Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
กล ม 2
กล  ม 2กล  ม 2
กล ม 2
 
Chapter2 2003
Chapter2 2003Chapter2 2003
Chapter2 2003
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
Chapter 2#
Chapter 2#Chapter 2#
Chapter 2#
 
Chapter45630505256
Chapter45630505256Chapter45630505256
Chapter45630505256
 
Chapter4
Chapter4 Chapter4
Chapter4
 
Chapter
Chapter   Chapter
Chapter
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมChapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 

Chapter 2

  • 2.
  • 3. 1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้ สื่อการสอน ของครูสมศรีตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูป การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ ด ้านการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน ของครูสมศรี การจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็ นสาคัญ ใช ้วิธีการสอนหรือบรรยายให ้นักเรียนจา โดยครูจะเป็นผู้ควบคุมดาเนินการในการวาง แผนการสอนทั้งหมด ครูสมศรีมีความเชื่อ ที่ว่า การสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือ สามารถทาให ้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให ้ได ้มากที่สุด การใช ้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนรับ ข ้อเท็จจริงอย่างมีประสิทธิภาพ เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง โดยต ้องเน้นให ้ผู้เรียน - มีโอกาสใช ้กระบวนการคิด - ได ้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น - ได ้ใช ้สื่อต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ - มีโอกาสแสดงออกอย่างอิสระ - เรียนรู้ตรงกับความสนใจ ความถนัดของตน - ลงมือปฏิบัติด ้วยตนเอง - เรียนรู้จากสภาพจริงและประสบการณ์ตรง - เรียนรู้อย่างมีความสุข
  • 4. ด้านการใช้สื่อการสอน สื่อการสอน ของครูสมศรี สื่อการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็ นสาคัญ สื่อการสอนที่นามาใช ้ในประกอบการ สอนจะเป็นในลักษณะที่เน้นการถ่ายทอด ความรู้ เช่น - หนังสือเรียน - การสอนบนกระดาน - วิดีโอ สื่อการเรียนรู้ที่นามาใช ้ประกอบการ เรียนการสอนจะเน้นผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ แหล่งข ้อมูลโดยตรง เช่น - เทคโนโลยี - ภูมิปัญญาท ้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ - สื่อการเรียน - ครู
  • 5. วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน วิธีเรียนการเรียนรู้ของ นักเรียนของครูสมศรี วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ในยุคที่เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง - รอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว - ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนด ทั้งหมด - ไม่กระตือรือร ้นที่จะหาความรู้จากที่อื่น เพิ่มเติม - เกิดความเบื่อหน่ายระหว่างการเรียน - เป็นผู้คัดลอกหรือจดจาความรู้ - เป็นกิจกรรมการเรียนรู้รายบุคคล - เป็นผู้ร่วมเรียนรู้อย่างตื่นตัวในกระบวนการ เรียนรู้ - ผู้เรียนมีการค ้นหาความรู้นอกเหนือจาก การเรียนการสอนในห ้องเรียน - มีความกระตือรือร ้น ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนในการหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้นอกห ้องเรียน - ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน - เป็นผู้สร ้างและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกับ เพื่อนในชั้นแบบผู้เชี่ยวชาญ - เป็นการร่วมมือกันเรียนรู้กับผู้เรียนอื่นๆ
  • 6. แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน การใช้สื่อการสอนตลอดจน วิธีการเรียนรู้ของนักเรียนของครูสมศรีนั้น ไม่มีความสอดคล้องกับยุค ปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ เพราะ การศึกษาที่เน้นผู้เรียน เป็ นสาคัญคือ กระบวน การจัดการเรียนรู้ที่ให้ความสาคัญกับผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการ คิดริเริ่ม แสวงหา วิเคราะห์ จัดการ ความรู้ และลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ด้วยตัวเองตามความต้องการ และความสนใจ และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ แต่ครูสมศรีใช้วิธีการสอนโดยการเน้นให้นักเรียนท่องจา และทา กิจกรรมตามที่ครูสั่งทั้งหมด ซึ่งไม่ได้ฝึกให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และการวิเคราะห์องค์ความรู้ ดังนั้นวิธีการสอนของครู สมศรีจึงทาให้นักเรียนเกิดความเฉื่อยชาในการเรียนการสอน ไม่มี ความกระตือรือร้นที่จะหาความรู้ด้วยตนเอง
  • 7. 2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการ เรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล สนับสนุน การเปลี่ยนแปลง ทางการศึกษา แนวคิดดั้งเดิม แนวคิดใหม่ 1. ด ้านการเรียน การสอน - "เน้นทักษะการจดจา” - ห ้องเรียนประกอบด ้วยเก ้าอี้และ โต๊ะเรียงกันเป็นแถว - คุณครูยืนสอนอยู่หน้าชั้นเรียน - ครูเป็นผู้ควบคุม ดาเนินการใน การจัดการเรียนการสอนทั้งหมด - นักเรียนมีหน้าที่รอรับสารสนเทศ จากครูเท่านั้น - การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช ้ เทคโนโลยีและสารสนเทศ ต่างๆให ้เป็นประโยชน์ - ฝึกให ้นักเรียนให ้คิดเป็น แก ้ปัญหาเป็น และสามารถ ศึกษาด ้วยตนเองได ้ เนื่องจากในปัจจุบัน กระแสการเปลี่ยนแปลงด ้านต่างๆเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งเข ้า มามีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ดังนั้นการศึกษาจึงต ้องปรับเปลี่ยน ให ้ทันและสอดคล ้องกับการเปลี่ยนแปลงของชาตอและสังคมโลก ซึ่งทาให ้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในด ้านการเรียนการสอน
  • 8. การเปลี่ยนแปลง ทางการศึกษา บทบาทเดิม บทบาทใหม่ 2. การเปลี่ยน แปลงบทบาท ผู้เรียน - เป็นผู้รอรับสารสนเทศจากครู อย่างเฉื่อยชา - เป็นผู้คัดลอกหรือจดจาความรู้ - เป็นกิจกรรมการเรียนรู้รายบุคคล - เป็นผู้ร่วมเรียนรู้อย่างตื่นตัวใน กระบวนการเรียนรู้ - เป็นผู้สร ้างและแลกเปลี่ยน ความรู้ร่วมกับเพื่อนในชั้นแบบ ผู้เชี่ยวชาญ - เป็นการร่วมมือกันเรียนรู้กับผู้ เรียนอื่นๆ ในสังคมโลกปัจจุบันพบว่า ความต ้องการเกี่ยวกับตัว ผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น แม ้ว่าครั้งหนึ่งอาจจะมีการตอบสนองต่อการ เรียนแบบท่องจามามาก แต่ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริงต ้องการ บุคคลที่มี ความสามารถในการใช ้ทักษะการให ้เหตุผลในระดับ ที่สูงขึ้น เพื่อการแก ้ปัญหาที่ซับซ ้อน ซึ่งพบว่า ความสามารถใน ทักษะดังกล่าวที่จะนามาใช ้ในการแก ้ปัญหาไม่ค่อยปรากฏให ้ เห็น หรือมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน แนวคิดเกี่ยวกับผู้เรียนจึงต ้อง เปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่ จึงเป็นสาเหตุที่ทาให ้เกิดการ เปลี่ยนแปลงบทบาทผู้เรียน
  • 9. การเปลี่ยนแปลง ทางการศึกษา บทบาทเดิม บทบาทใหม่ 2. การเปลี่ยน แปลงบทบาท ครูผู้สอน - เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ เป็นผู้ เชี่ยวชาญด ้านเนื้อหาและเป็น แหล่งสาหรับคาตอบ - เป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอน และส่งเนื้อหาความรู้ไปยังผู้ เรียนโดยตรง - เป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วม แก ้ปัญหา โค ้ช ชี้นาความรู้ และผู้ร่วมเรียนรู้ - เป็นผู้จัดเตรียมหรือให ้สิ่งที่ ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของผู้ เรียนอย่างหลากหลาย ในปัจจุบัน เป็นยุคที่การศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากที่ครูเคยเป็นเพียงผู้ถ่ายถอดความรู้ให ้นักเรียนเพียง อย่างเดียว ซึ่งทาให ้นักเรียนไม่เกิดความกระตือรือร ้นใน การหาความรู้ใหม่ด ้วยตนเอง ครูจึงต ้องมีการเปลี่ยนแปลง บทบาทใหม่ให ้สอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาด ้วย เพื่อให ้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
  • 10. 3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้เหมาะสม กับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ 1. ครูสมศรีควรฝึกให ้นักเรียนทากิจกรรมกลุ่ม และให ้ไปหาข ้อมูลใหม่ๆ นอกห ้องเรียน ซึ่งจะทาให ้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ซึ่งจะทาให ้นักเรียนสามารถจดจาความรู้นั้นๆ ได ้โดยที่ไม่ต ้องท่องจา
  • 11. 2. ครูสมศรีไม่ควรทาหน้าที่เพียงแค่เป็นผู้บรรยายความรู้ให ้นักเรียน ท่องจาเท่านั้น แต่ควรเป็นผู้ที่คอยชี้แนะแนวทาง เป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วมแก ้ปัญหา ชี้นาความรู้ และเป็นผู้ร่วมเรียนรู้ไปพร ้อมกับ นักเรียน
  • 12. 3. ครูสมศรีควรฝึกให ้นักเรียนใช ้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี ต่างๆ เพื่อช่วยในการค ้นหาความรู้ใหม่ๆ เพิ่มเติม ซึ่งจะทาให ้ นักเรียนเกิดความสนใจในการค ้นหาความรู้ใหม่ๆ ด ้วยตนเอง และทาให ้นักเรียนเกิดความกระตือรือร ้น ในการเรียนมากขึ้น
  • 13. รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1. นางสาวจันจิรา จันทะแจ่ม รหัสนักศึกษา 533050424-9 2. นางสาวสุรีธร แดงน้อย รหัสนักศึกษา 533050447-7 3. นางสาวชไมพร ไชยญะอนุกูล รหัสนักศึกษา 533050496-4 ชั้นปีที่ 4 สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ