SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
ICD 10
( season -1)
สุทธิลักษณ์ แก้วบุญเรือน
International statistical classification
of Diseases And Related Health Problem 10
Revision
บัญชีจาแนกโรคระหว่างประเทศฉบับแก้ไขครั้งที่10
เป็นระบบการใช้รหัสแทนการเรียกชื่อโรค จัดหมวด
หมู่โรคในกลุ่มเดียวกันให้อยู่ในรหัสใกล้เคียงกัน
ความหมาย
เหตุผลและประโยชน์
• เป็นระบบการจัดหมวดหมู่ของความเจ็บป่วย(โรค,การบาดเจ็บ) รวมทั้ง
ปัญหาสุขภาพอื่นๆโดยกาหนดรหัสแทนการเรียกชื่อโรค
• ใช้ในการรวบรวมข้อมูลความเจ็บป่วย เพื่อประโยชน์ทางระบาดวิทยา
และการบริหารด้านสุขภาพ
• เป็นภาษากลางในการรายงานและวิเคราะห์ข้อมูล
• สามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างโรงพยาบาล จังหวัด และประเทศได้
• การจ่ายค่าตอบแทนจาก Third party (ประกัน, สปสช
,ประกันสังคม)
ลักษณะของรหัส
• เป็นรหัสตัวอักษร ผสม ตัวเลข ( AlphaNumeric)
• นาหน้าด้วย A Z
• ความยาว 3 – 5 หลัก
• ระหว่างหลักที่ 3และ 4 คั่นด้วยจุด
A00.0 : Cholera due to Vibrio cholerare 01, biovar
cholerae Classical cholera
ICD-10,ICD-10-TM
• ICD – 10 เป็นระบบที่จัดทาโดย WHO
• ICD-10-TM ( ICD – 10 Thai Modification) จัดทา
โดยประเทศไทยเนื่องจากรหัส ของ WHO ไม่ครอบคลุมโรค
บางโรคในประเทศไทย
คู่มือICD- 10
• Volume 1 A,B
: ตอนที่ 1 สารบัญ คานา คาอธิบายรหัส 3 ตัว อักษร
: ตอนที่ 2 คาอธิบายรหัสโรคตามที่กาหนดไว้
: ตอนที่ 3 รหัสลักษณะเนื้องอก ตัวอย่าง ตาราง
• Volume 2 Instuction manual (ไม่ค่อยได้ใช้ จะใช้ Volume 5 ของ ICD-
10-TM: Thai standard coding guideline )
• Volume 3 : Section 1 - ดรรชนีค้นหาโรคทั่วไป
: Section 2 ดรรชนีค้นหารหัสสาเหตุภายนอก
ของการบาดเจ็บ
: Section 3 - ตารางยาและสารเคมี
• ICD - 9 – CM รหัสการผ่าตัดและหัตถการ
• ประกอบด้วยตัวอักษรผสมตัวเลขมีตั้งแต่ 3 – 5 ตัว A09,J18.9,M00.91
ICD – 10 TM
(ICD – 10 Thai Modification)
• เป็นระบบรหัสมาตรฐานข้อมูลทางการแพทย์ที่ได้รับ
อนุญาตจากองค์การอนามัยโลกให้แก้ไขเพิ่มเติมรหัส
จาก ICD – 10 เดิมให้ครอบคลุมกว้างขวางกว่าเดิมและ
ให้เหมาะสมกับการใช้งานสาหรับประเทศไทย
คู่มือของ ICD-10-TM
• Volume 1 : Tabular list
• Volume 2 : Alphabetic Index
• Volume 3 : Tabular list for Procedure
• Volume 4 : Alphabetic Index for Procedure
• Volume 5 : Thai standard coding guideline
• ประกอบด้วยตัวอักษรผสมตัวเลขมีตั้งแต่ 3 – 6 ตัว
A09,J18.9,M00.91
DRG
• ระบบการจัดกลุ่มผู้ป่วยในที่มีการใช้ทรัพยากรใน
การรักษาพยาบาลใกล้เคียงกับคนไข้ในกลุ่ม
เดียวกัน เพื่อประโยชน์ในการกาหนดจ่ายเงินจาก
Third party
สิ่งที่ใช้ในการกาหนด DRG
1. Principle Diagnosis
2. Comorbidity
3. Complication
4. Operation
5. Age
6. Length of Stay ( LOS )
7. Discharge Status
8. Discharge Type
Principle diagnosis
Comorbidity
Complication
Operation
Age
LOS
Discharge status
Discharge type
DRGGrouper
ปัญหาที่ทาให้ได้ค่าผิดพลาด
• 1. ข้อมูลการวินิจฉัยไม่ชัดเจน
• 2. การสรุป Principle Diagnosis ผิดหลักการ
• 3. สรุปหน้าป้ายไม่ครบเช่นขาด CC
• 4. โรคหลักไม่สัมพันธ์กับการผ่าตัด
• 5. ลงอายุผิด
• 6.ใส่เพศผิด
ดูความสมเหตุสมผลในการ
วินิจฉัยโรค และการลงรหัสโรค
ข้อควรระวังในการให้รหัส
• ต้องให้รหัสตามการวินิจฉัยของแพทย์เท่านั้น
• ไม่สามารถนาผลการตรวจเลือดหรือวินิจฉัยอื่นที่ไม่ใช่คาวินิจฉัย
ของแพทย์มาตีความเป็นรหัสโรคโดยพลการ
• หากมีข้อสงสัยหรือมีข้อมูลที่สามารถจะทาให้การลงรหัสโรคมี
ความละเอียดหรือถูกต้องมากขึ้นต้องปรึกษาแพทย์พิจารณาและ
เปลี่ยนคาวินิจฉัยก่อนการลงรหัส
• ในการให้รหัสผู้ให้รหัสต้องตรวจสอบเรื่องอายุ,การตั้งครรภ์,การ
คลอด,ทารกแรกคลอดผู้ป่วยHIV,มะเร็ง เพราะจะมีการให้รหัส
โรคที่แตกต่างจากหลักการอื่น
การให้รหัสต้องมีหลักฐานสนับสนุน
• คาวินิจฉัยสุดท้ายของแพทย์
• รายงานผลการตรวจทางรังสีโดยรังสีแพทย์
• ผลการตรวจ EKG ที่อ่านโดยแพทย์โรคหัวใจ
• ผลการตรวจทางพยาธิวิทยาโดยพยาธิแพทย์
• ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่แพทย์ไม่ได้แปลผลเป็นคา
วินิจฉัย
โดยการนาหลักฐานเหล่านี้มาใช้ได้เพื่อให้ได้รหัสที่มีความจาเพาะสูงแต่
ต้องสอดคล้องกับคาวินิจฉัยของแพทย์หากแพทย์เขียนคาวินิจฉัยไม่
ละเอียดต้องให้แพทย์ปรับเปลี่ยนคาวินิจฉัยให้ละเอียดจึงจะให้รหัสโรคได้
เนื่องจากผู้ให้รหัสไม่สามารถเปลี่ยนคาวินิจฉัยของแพทย์ได้
คาที่ต้องรู้
• การวินิจฉัยหลัก ( Principle Diagnosis)
• การวินิจฉัยร่วม ( Comorbidity)
• โรคแทรก ( Complication)
• การวินิจฉัยอย่างอื่น ( (Other)
• กลไกการบาดเจ็บหรือการได้รับสารพิษ( External
Cause)
การวินิจฉัยหลัก ( Principle Diagnosis)
• เป็นโรคที่ทาให้ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล
• มีได้เพียงโรคเดียว
• เป็นโรคที่แพทย์บันทึกไว้เป็น Diagnosis
• ถ้ามีหลายโรคและรักษาพร้อมกันให้เลือกโรคที่รุนแรงที่สุด,
ค่าใช้จ่ายสูงสุด
• ต้องเป็นโรคที่แพทย์ให้การวินิจฉัยเท่านั้นไม่สามารถนาผลการ
ตรวจต่างๆมาให้รหัสเองได้ยกเว้นได้นาเวชระเบียนให้แพทย์
ทบทวนเพื่อปรับการให้คาวินิจฉัย
การวินิจฉัยร่วม ( Comorbidity)
• เป็นโรคที่ปรากฏร่วมกับโรคหลักและมีความรุนแรงของโรคมาก
พอที่จะทาให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงหรือต้องมีการรักษาเพิ่มเติม
• ต้องเกิดก่อนหรือพร้อมกับโรคหลักไม่ใช่โรคแทรกที่เกิดขึ้น
ภายหลัง
• มีความรุนแรงมากพอที่ทาให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
แทรก เสียชีวิต ,พิการ,ค่ารักษาสูงขึ้น
• มักเป็นโรคเรื้อรัง
• มีได้มากกว่า 1 โรค
โรคแทรก ( Complication)
• เกิดขึ้นภายหลังจากผู้ป่วยได้รับการรักษาในโรงพยาบาลแล้ว
• มีความรุนแรงมากพอที่ทาให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต ,
พิการหรือมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
• อาจมีความเกี่ยวข้องกับโรคหลักหรือไม่เกี่ยวข้องเลยก็ได้
• บันทึกได้มากกว่า 1 โรค
การวินิจฉัยอย่างอื่น (Other)
• เป็นโรคเล็กน้อยหรือไม่มีความรุนแรงมากพอที่จะทาให้ผู้ป่วยมี
ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรก,เสียชีวิต,พิการระหว่างรักษาตัว
อยู่ในโรงพยาบาล
• เป็นโรคที่อาจเกิดก่อน,พร้อมกัน,หรือหลังจากเข้ารับการรักษา
แล้วก็ได้
• บันทึกได้มากกว่า 1 โรค
• อาจมีความเกี่ยวข้องกับโรคหลักหรือไม่เกี่ยวข้องก็ได้
กลไกการบาดเจ็บหรือการได้รับสารพิษ
( External Cause )
• เป็นข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติ
• บอกได้ว่าเป็นอุบัติเหตุ,ถูกทาร้าย,ทาร้ายตนเอง,ฆ่าตัว
ตาย
• บอกได้ว่าขณะเกิดเหตุผู้ป่วยทากิจกรรมอะไร,เกิดบริเวณ
ที่ใด
• สามารถค้นหาจากเวชระเบียนได้
คาศัพท์และสัญลักษณ์ที่ควรรู้ก่อนเริ่มลงรหัส
† ,* AND
• NEC คาเตือนว่าอาจมีรหัสโรคที่ดีกว่านี้
• See ให้เปลี่ยนคาหลักที่ใช้เป็นคาอื่น
• See also ควรค้นหาจากคาอื่นด้วย
• See condition คาที่ใช้ค้นหาเป็นคาขยายไม่ใช่คาหลัก
• ( ) คาที่ตามด้วยคาอื่น ๆ ภายในวงเล็บ
• † ,* เครื่องหมายกากับรหัสโรคมีความหมายกฎการใช้ระบบรหัสคู่
† สาเหตุของโรค
* ตาแหน่งที่เกิดโรค
สัญลักษณ์ที่ใช้ในเล่ม 3
สัญลักษณ์ที่ใช้ในเล่ม 1
• [ ] มีคาอื่นที่ใช้แทนกันได้
• NOS การไม่ได้ระบุให้จาเพาะเป็นรหัสกากวม
• AND หมายถึง และ , หรือ ก็ได้ เช่น A 18.0
Tuberculosis of bones and joint
• .- แปลว่ารหัสไม่สมบูรณ์ต้องหารหัสย่อยมาใส่
เพิ่มเติม
การใส่รหัส
•ต้องใช้ทั้ง 2 เล่ม โดยเปิดหาจากเล่ม 3
แล้วตรวจสอบกับเล่ม 1 เสมอ
การให้รหัสโรค
• 1. แปลงคาย่อให้เป็นคาเต็ม
• 2.เลือกคา
- คาหลัก
- คาขยาย ขึ้นต้นด้วย ( - )
• 3. ค้นหารหัส
• 4. ลงรหัส
• 5. เลือกรหัสโรค
กฎการให้รหัส
•1.กฎการให้รหัสโดยละเอียด
•2.กฎการใช้รหัสคู่
•3.กฎการเลือกรหัสโรคหลัก
รหัสที่ห้ามใช้เป็นรหัสโรคหลัก
1. รหัสที่ห้ามใช้เป็นรหัสหลักทุกกรณี
– รหัสดอกจันทั้งหมด
– รหัสเสริมบอกชื่อเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุของการติด
เชื้อ( B95-B97)
– รหัสสาเหตุของการบาดเจ็บ
2.รหัสที่ห้ามเป็นโรคหลักบางกรณี
- รหัสวิธีการคลอด (O80 - O84 )
- รหัสลักษณะอัมพาต ( G81 - G83 )
การให้รหัสผู้บาดเจ็บ
• ตัองให้รหัสแสดงลักษณะการบาดเจ็บให้ครบทุกตาแหน่งและอวัยวะรหัสที่ให้
มักจะเป็น S ให้ระวังเวลาแพทย์เขียน Multiple injury ซึ่งอาจทาให้ได้
รหัส T00-T07,T08-T14 ซึ่งเป็นรหัสที่คุณภาพต่า
• ต้องมีสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บ
– Accident ใช้เป็นคาตั้งต้นในอุบัติเหตุทุกประเภท
– Assault ใช้เป็นคาตั้งต้นในถูกทาร้าย,ฆ่า
– Contact ใช้เป็นคาตั้งต้นใน ถูกบาด,กระทบ
ซึ่งสาเหตุการบาดเจ็บ จะหาได้แค่ 3 ตาแหน่ง
- ตาแหน่งที่ 4 ของอุบัติเหตุจะระบุว่าผู้บาดเจ็บเป็นผู้ขับขี่,ผู้โดยสารและเป็น
จากการจราจรหรือไม่ V00-V99
- ตาแหน่งที่ 4 ของเหตุการณ์อย่างอื่นจะบอกสถานที่ว่าเหตุเกิดที่ใด
- ตาแหน่งที่ 5 จะเป็นรหัสกิจกรรมที่ผู้ป่วยกาลังทาขณะเกิดเหตุ
การให้รหัสผู้บาดเจ็บ
ตัวอย่าง
• ผู้ป่วยเดินข้ามถนนจะไปทางานถูกรถบรรทุกชน มี rupture spleen
,fracture pelvisและ scalp laceration ถือเป็นการบาดเจ็บ
หลายตาแหน่งหลายลักษณะแต่สามารถระบุได้ว่าตาแหน่งใดรุนแรงที่สุด
– โรคหลัก S36.00 Injury of spleen
– โรครอง S32.80 fracture pelvis unspecified
S01.1 Openwound of scalp
– External cause V03.12: Pedestrian injuryed in
collosion with car, pick-up truck or van in traffic
accident while working for incom
รหัสโรคหลายตาแหน่ง
• มีหลายตาแหน่ง / หลายแบบมีความรุนแรงเท่ากัน ให้ใช้รหัสโรคหลาย
ตาแหน่งหลายแบบเป็น รหัสโรคหลักและให้รหัสรายละเอียดของโรค
แต่ละตาแหน่งแต่ละแบบเป็น การวินิจฉัยร่วม เช่น
ผู้ป่วยติเชื้อ HIV มา 6 ปีครั้งนี้มารักษาอาการไข้ตรวจพบ Pulmonary
TB,Oral candidiasisและMycoplasma pneumonia แพทย์ให้การักษาโรค
แทรกทุกโรคเท่ากัน
โรคหลัก B 20.7 HIV disease resulting in multiple infections
โรคร่วม A16.2 Pulmonary tuberculosis
B37.09 Cadidial stomatitis,unspecfied
J15.7 Pneumonia due to Mycoplasm pneumonia
การรักษาความพิการที่ยังเหลืออยู่
• ผู้ป่วยที่มีความพิการจากโรคและมารับการรักษาต้องให้รหัสความพิการด้วย
ผู้ป่วยมีอาการ Spastic hemiplegia จาก CVA เมื่อ 1 ปีก่อนแพทย์วินิจฉัยว่า Old CVA
ถูกส่งต่อมาทากายภาพบาบัด
โรคหลัก G81.1 Splastic hemiplegia
โรครอง I69.8 Sequelae of cerebrovascular disease
• มารักษาโรคอื่นเป็นหลักแต่คนไข้มี sequelae
ผู้ป่วยมารักษา Bed sore ประวัติเดิมโดนรถชนกระดูกสันหลังหักเป็นอัมพาตท่อนล่าง
โรคหลัก L89 Decubitus
โรครอง T91.3 sequelae of injury of spinal cord
External cause Y85.0 sequelae of motor-vehicle accident
การให้รหัสหลังผ่าตัด
• ผ่าตัดเสร็จอยู่ในระยะพักฟื้น (Z47-Z48)
• ผู้ป่วยหลังผ่าตัดAppendectomy หลังD/C ผู้ป่วยมาตรวตที่ OPD
ตามแพทย์นัดมาตัดไหม แพทย์ Diag S/P Appendectomy
รหัสหลัก : Z48.0 Attension to surgical dressing
and sutures
• Z47.- Other orthopaedic follow – up care
• Z54.-มักใช้ในกรณีรับย้ายจากโรงพยาบาลอื่นหลังการผ่าตัด,หลังการ
รักษาอื่นเช่นฉายแสง
กรณีเคยผ่าตัดมานานแล้วแต่โรคเดิมไม่หายมีอาการต่อเนื่อง
• ผู้ป่วย Lumbar Stenosis ได้รับการทา Laminectomy
ไปแล้ว 8 เดือน ครั้งนี้มาด้วยอาการปวดหลังเหมือนก่อนผ่าตัดแต่ตรวจ
ไม่พบความผิดปกติ แพทย์Diag Low back pain S/P
Laminectomy
โรคหลัก M54.5 Low back pain
โรคร่วม M96.1 Postlaminectomy syndrome
เคยผ่าตัดแล้วโรคเดิมหายแต่มาด้วยโรคแทรกที่ต่อเนื่องจากการผ่าตัด
• ผู้ป่วยเคยเป็น Thrombosed Hemorrhoidectomy ไป
10ปีก่อนคราวนี้มาด้วย Anal stenosis Diag Anal
stenosis S/P Hemorrhoidectomy
รหัสหลัก K62.4 stenosis ofanus and rectum
รหัสรองK91.8 other postprocedural disorders
of digestive system, not elsewhere
รหัสกากวม
• ครอบคลุมโรคหลายๆโรค มักใช้กับประเทศด้อยพัฒนาที่มีระบบ
ข้อมูลทางการแพทย์ล้าสมัย มักเกิดจากการที่แพทย์ใช้คา
กากวมในการวินิจฉัย เช่น Head injury,Blut trauma abdomen
DM ,MCA,UTI ,CVA ,URI ซึ่งจะสังเกตได้ว่าเวลาถอดรหัส
ออกมา มักจะลงท้ายด้วย
.9 หรือถ้าเป็นการบาดเจ็บถอดออกมาจะได้รหัส T แทนที่จะ
เป็น S เช่น ผู้ป่วยเป็นเบาหวานไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่น แพทย์
วินิจฉัย DM จะได้รหัส E 14.9
รหัสอาการ
• จะให้เมื่อไม่สามารถวินิจฉัยได้ว่าเป็นโรคอะไร หรือใน
กรณีผู้ป่วยหนีกลับก่อนที่จะได้รับการวินิจฉัย
• มักจะเป็นรหัสในกลุ่ม R00-R99
Wound infection
• ผู้ป่วยหลังผ่าตัดไส้ติ่งมาตรวจ แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น Wound
infection ได้รับการรักษาโดยการตัดไหมล้างแผลได้ Antibiotic
- T79.3 Post –traumaatic wound infection,not
elsewhere classified
- W25.8 Other surgical procedures (as the
cause of later complication)
การสังเกตกลุ่มรหัสอย่างง่าย
• A,B = โรคติดเชื้อ,การติดชื้อ
• C = มะเร็ง
• D = เนื้องอก
• E = Endocrine,Nutrition,Metabolic
• F = โรคทางจิตเวช
• G = ระบบประสาท
• H = EENT
• I = Cardiovascular
• J = ระบบทางเดินหายใจ
• K = ระบบทางเดินอาหาร
• L = ผิวหนัง
• M = กระดูกและกล้ามเนื้อ
• N = Genitourinary system
• O = Pregnancy
• P = New born
• Q = Congenital
• R = Symtoms
• S,T = Injury ,Poisoning
• V,W,X = External cause
• Z = การตรวจสุขภาพ,ไม่เกี่ยวกับโรค

More Related Content

What's hot

คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อCAPD AngThong
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliNittaya Jandang
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์
5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์
5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilli
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 

Similar to ICD 10

กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มกลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มRose Sansai
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน Suthee Saritsiri
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60Suthee Saritsiri
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
Presentation endgame
Presentation endgamePresentation endgame
Presentation endgamessuser9ee196
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพWanchana Pontongmak
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 Ziwapohn Peecharoensap
 

Similar to ICD 10 (20)

กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มกลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
 
Icd10
Icd10Icd10
Icd10
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
แพทย์
แพทย์แพทย์
แพทย์
 
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
Presentation endgame
Presentation endgamePresentation endgame
Presentation endgame
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 

More from Sutthiluck Kaewboonrurn

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564Sutthiluck Kaewboonrurn
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองSutthiluck Kaewboonrurn
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนSutthiluck Kaewboonrurn
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตSutthiluck Kaewboonrurn
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการSutthiluck Kaewboonrurn
 

More from Sutthiluck Kaewboonrurn (19)

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Mentor & coaching
Mentor & coachingMentor & coaching
Mentor & coaching
 
Net promoter score
Net promoter scoreNet promoter score
Net promoter score
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง
 
7 qc tool online
7 qc tool online7 qc tool online
7 qc tool online
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Service excellent update
Service excellent updateService excellent update
Service excellent update
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการ
 
Service excellent
Service  excellentService  excellent
Service excellent
 

ICD 10