SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
กลเม็ด เคล็ด ลับ การบัน ทึก
          ข้อ มูล 21 แฟ้ม
ให้ไ ด้....คุณ ภาพ ถูก ต้อ ง ครบ
                ถ้ว น ขจังหวัด
      สำานักงานสาธารณสุ
            สมุทรสาคร
หัวข้อ

• ทบทวนความรู้เดิม
• แนวทางการให้รหัสโรค
• แนวทางการให้รหัสหัตถการ
ทบทวนความรู้เดิม

• เมื่อมีผู้มารับบริการ
   – ผู้ป่วย ผู้ป่วยเก่า,ผู้ป่วยใหม่
      • ซักถามอาการ
      • ตรวจร่างกายเช่น ชั่งนำ้าหนัก ,วัดส่วนสูง,วัดความ
        ดันฯ,จับชีพจร,นับการหายใจ
      • วินิจฉัยโรค
      • จ่ายยา
      • หากต้องมีการให้หัตถการ ให้บันทึกให้ถูกต้อง
ทบทวนความรู้เดิม


• เมื่อมีผมารับบริการ
          ู้
  – ผูรับบริการอื่น สามารถบันทึกการวินิจฉัยโรค โดย
      ้
    ให้ลง เช่น
     • รับบริการตรวจสุขภาพเด็ก 0-72 เดือน , ตรวจภาวะ
       โภชนาการ,ตรวจพัฒนาการ( Z001  )
     • ตรวจสุขภาพนักเรียน (  Z108  )
     • ตรวจสุขภาพประชาชนทัวไป (  Z000  )
                              ่
     • ฉีดวัคซีน(ตามชนิดวัคซีน) ลิงค์
ทบทวนความรู้เดิม

• เมื่อมีผมารับบริการ
          ู้
  – ผูรับบริการอื่น สามารถบันทึกการวินิจฉัยโรค โดย
      ้
    ให้ลง เช่น
     • ตรวจสุขภาพฟัน (Z012)
     • ฝากครรภ์(ครรภ์แรก  Z340  ,ครรภ์ต่อมา  Z349  )
     • ให้ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตามกิจกรรม  ที่
       ได้ให้บริการจริงๆ

     http://www.srisangworn.go.th/v2/icd_Learn/MainMenu.htm
ทบทวนความรู้เดิม
                   กิจ กรรม / การวิน ิจ ฉัย                   รหัส ICD 10
การคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค
(ในรายที่ทำา confirm screening)

      - Metabolic (HT / อ้วน)                                   Z 138
     - DM                                                       Z 131
     Pre DM                                              R 730 / R731 / R739
(ค่า FBS ระหว่าง 100 -125 mg/dl
หรือ Postpandial blood glucose ระหว่าง 140-199 mg/dl )

     Pre HT                                                    R 030
(Pre HT คือค่า Systolic BP ระหว่าง 120-139 mmHg หรือ
Diastolic BP ระหว่าง 80-89 mmHg )
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม                                          Z 713
การคัดกรองภาวะซึมเศร้า                                         Z 133
ผู้ป่วย
•   ผู้ป ่ว ยนอก หมายถึง ผู้รับบริการทีได้
                                         ่
    รับการวินิจฉัยว่าป่วย และได้ลงทะเบียน
    ไว้ทแผนกผู้ป่วยนอก ทั้งนี้ ให้นบรวมผู้
             ี่                      ั
    มารับบริการด้านการรักษาพยาบาลต่อ
    เนือง เช่น ฉีดยาต่อเนือง, ทำาแผลต่อ
       ่                     ่
    เนือง, ผู้ติดสารเสพติดมารับการบำาบัดต่อ
         ่
    เนือง,ผู้มารับบริการฟืนฟูสมรรถภาพ
           ่               ้
•   ไม่น ับ รวม ผู้ที่มารับบริการด้านส่ง
    เสริมสุขภาพอื่นๆ ได้แก่ ตรวจก่อนคลอด
    ตรวจหลังคลอด ส่งเสริมป้องกัน , ทันต
    สุขภาพ , การวางแผนครอบครัว , ตรวจ
    สุขภาพประจำาปี , Pap smear ,การให้คำา
แนวทางการให้รหัสโรค
1.) ให้รหัสโรค  ตามโรคที่พบจริง
    เท่านั้น ห้ามให้รหัสเกินความ
    จำาเป็นหรือให้เผื่อไว้โดยเฉพาะ
    รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ  ถ้ามา
    ตรวจด้วยอาการของโรค ห้ามลง
    รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพและรหัส
    การตรวจร่างกายต่างๆ  เช่น ตรวจ
    สุขภาพ,วัดความดัน ฯลฯ เพราะ
    เป็นงาน Routine และไม่เป็นไปตาม
    แนวทางในการให้รหัสโรค
แนวทางการให้รหัสโรค
2.)   บริการที่เกิดขึ้น ณ หน่วยบริการ
  ใด ให้ถือเป็นผลงานและข้อมูลของ
  หน่วยบริการนั้น  กรณีทีม
  สหวิชาชีพจากโรงพยาบาล  ลงไป
  ให้บริการที่ PCU ให้ถือว่าบริการและ
  ข้อมูลนั้นเป็นผลงานของ PCU ที่ลง
  ไป  ห้ามนำามาบันทึกเป็นผลงานของ
  โรงพยาบาล
แนวทางการให้รหัสโรค
3.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  สามารถระบุ
  สาเหตุของโรคได้ชดเจนโรคเดียว 
                      ั
  ให้วินิจฉัยโรคที่พบ ตามมาตรฐาน
  ICD10 เป็นรหัสโรคหลัก (Dx Type1) 
  เพียงรหัสเดียว

  4.)   กรณีเจ็บป่วยครั้งนี้ สามารถระบุ
  สาเหตุของโรคได้มากกว่า 1 โรค ให้
  ระบุ  โรคที่หนักที่สุด ซึ่งเป็นสาเหตุที่
  ทำาให้ผู้ปวยมาพบในครั้งนี้  เป็นโรค
            ่
แนวทางการให้รหัสโรค
5.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  ไม่สามารถ
  ระบุโรคได้ชดเจน  ให้วินิจฉัยตาม
                ั
  อาการ โดยให้รหัสเป็นโรคหลัก ตาม
  อาการที่พบหนักสุด ส่วนอาการอื่นๆ
  ที่พบให้ลง Dx Type4 other เพราะ
  สถานีอนามัยจะไม่มีกลุ่มโรค
  ประเภท2,3 จะ มีเฉพาะในโรง
  พยาบาลเท่านั้น( แต่ถ้าสามารถระบุ
  โรคได้ชัดเจนแล้ว การให้รหัสโรค
  ตามอาการ ก็ไม่มีความจำาเป็น ) การ
แนวทางการให้รหัสโรค
6.)   กรณีวินิจฉัยโรค/ให้รหัสโรคใน
  กลุ่มอุบัติเหตุ  ให้ลงรหัส สาเหตุของ
  การเกิดอุบติทุกครั้ง(รหัส V,W,X,Y)
               ั
  ·กรณีอุบัติเหตุแล้วเกิดบาดแผล  ให้
  ระบุตำาแหน่งที่เกิดบาดแผล
  ด้วย(เฉพาะวันแรก) ·กรณีคนไข้
  อุบติเหตุแล้วมาทำาแผล/ตัดไหม ใน
      ั
  วันถัดๆมา(ไม่ใช่วันแรก) ให้ลงรหัส
  โรคตามกิจกรรมที่มารับบริการ
  เท่านั้น เช่น ทำาแผล   ห้าม ลงรหัส
  เหมือนวันแรกที่เกิดอุบติเหตุโดยเด็ด
                           ั
  ขาด ยกเว้น จะเกิดอุบติเหตุซำ้าซ้อน
                         ั
7.)   กรณี ผูป่วยมา Follow Up หรือ มาตาม
              ้
  นัด เพื่อติดตามการรักษาถ้าเป็นโรค
  เรื้อรัง  เช่น เบาหวาน,ความดัน ฯลฯ ให้
  ลงรหัสโรคเดิม ถ้าเป็นการนัด โรคอื่นๆ 
  ให้ประเมินตามอาการ ในการมาครั้งนี้
  หายดีแล้ว  ลงรหัส  Z099 ดีขึ้นแต่ยังไม่
  หาย ลงรหัส  Z548 คงที่เหมือนเดิม ให้ลง
  รหัสโรคเดิม แต่ถ้ามาครั้งนี้พบโรคใหม่
  หรือป่วยเป็นโรคใหม่ ให้ถือว่าผู้ปวยมา
                                    ่
  รับบริการเป็นคนไข้ตามปกติ ให้ลงโรค
  ใหม่ที่พบ เป็นรหัสโรคหลัก ส่วนโรค
  เรื้อรังเดิมให้ลงรหัสเป็นโรคอื่นๆ(Dx 
  Type4 other)
8.)   กรณี ตรวจรักษาแล้ว  ต้องส่ง
  ต่อ(Refer)ไป รพ.แม่ข่ายให้ลงรหัสโรค
  หรือรหัสอาการที่ตรวจพบ  ตามแนวทาง
  ให้รหัสโรคข้างต้น ลงรหัส Z753 เพื่อระบุ
  ว่า  ส่งตัวไปรักษาที่อื่น ถ้าในโปรแกรมมี
  เมนูบนทึกระบบ Refer ให้บันทึกในงาน
        ั
  Refer ตามระบบปกติด้วย
 9.)   กรณีไม่ได้ป่วย แต่มารับบริการอย่า
  งอื่นๆ เช่น รับบริการตรวจสุขภาพเด็ก 0-
  72 เดือน ( Z001  ) นักเรียน(  Z108  ) 
  ตรวจสุขภาพประชาชนทั่วไป (  Z000  ) 
  ฉีดวัคซีน(ตามชนิดวัคซีน) วางแผน
  ครอบครัว(Z30.4) ตรวจสุขภาพฟัน
  (Z012),ฝากครรภ์(ครรภ์แรก  Z340  
  ,ครรภ์ต่อมา  Z349  ) ตรวจภาวะ
  โภชนาการ,ตรวจพัฒนาการ(  Z001  ) 
  ฯลฯ ให้ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) 
  ตามกิจกรรม  ที่ได้ให้บริการจริงๆ
ถ้ามารับบริการสร้างเสริมสุขภาพ แล้ว
  ตรวจพบโรค  ให้ลงรหัสโรคที่พบ เป็น
 10.) ถ้าทำาหลายๆกิจกรรม  ให้ลงกิจกรรม
  หลักที่มา เป็นรหัสโรคหลัก ส่วนรหัสกิจ
  กรรมอื่นๆ ให้ลงเป็น รหัสอื่นๆ (Dx 
  Type4)  เช่น มาฝากครรภ์(ครรภ์ที่2) แล้ว
  ฉีดวัคซีน(dTANC) และ เจาะเลือดตรวจ
  VDRL มาฝากครรภ์(ครรภ์ที่2)  เป็น Dx 
  Type1  รหัสกิจกรรม Z34.9 ฉีด
  วัคซีน(dTANC) เป็น Dx Type4  รหัส
  กิจกรรม Z235,Z236 เจาะเลือดตรวจ
  VDRL เป็น Dx Type4  รหัสกิจกรรม Z1.3 
11. ) กรณีบริการนอกหน่วยบริการ เช่น 
 รณรงค์ตรวจสุขภาพ,ตรวจคัดกรองความ
 เสียง,อนามัยโรงเรียน  เยี่ยมบ้าน,หน่วย
    ่
 บริจาคโลหิต เหล่านี้ไม่ถือว่าเป็น ผูป่วย
                                     ้
 นอก  แต่เป็นกิจกรรมบริการสร้าง
 เสริมสุขภาพ หรือ บริการสร้างเสริมสุข
 ภาพเชิงรุก และโดยปกติจะมีระบบการ
 บันทึกผลงานเฉพาะงานนั้นๆ(หมายความ
 ว่า กิจกรรมอะไรก็ลงบันทึกตามกิจกรรม
 งานนั้นๆ) ข้อมูลจะไม่เกี่ยวข้องกันกับผู้
 ป่วยนอกหรือบริการในหน่วยบริการตาม
 ระบบปกติ
แต่ถ้ามีการนำามาบันทึกในระบบข้อมูลผู้
 ป่วยนอก  ให้บนทึกเป็น ลงรหัส ส่ง
                ั
 เสริมสุขภาพ(Z00-99) ตามกิจกรรมหลักที่
 ทำาเพียง 1 รหัสเท่านั้น  ห้ามลงรหัสโรค
 เด็ดขาด แม้จะพบโรคก็ตาม  แต่การ
 บันทึกในโปรแกรมตามระบบงานของกิจ
 กรรมนันๆ  ให้ลงรายละเอียดข้อมูลให้
         ้
 ครบถ้วนทุกอย่าง 
 เช่น  บันทึกNCD ตรวจคัดกรองสุขภาพ
 ถ้าพบป่วยเป็นโรคอะไร? ก็ลงตามนัน   ้
 แต่การลงบันทึกข้อมูลผูป่วยนอก ให้
                          ้
 ถือว่าทำาเพียงกิจกรรมตรวจคัดกรอง
 สุขภาพ จึงลงเพียงรหัส Z000 เท่านั้น
- หัตถการต่างๆ  ไม่ต้องลง เพราะ
ไม่ใช่หัตถการเพื่อการรักษาและการ
ตรวจร่างกายต่างๆ
          ไม่ถือว่าเป็นการทำาหัตถการ
ตรวจคัดกรองความเสี่ยงสารเคมีตกค้าง
ใน กลุ่มเกษตรกร ลงรหัส Z100 การ
ตรวจสุขภาพด้านอาชีวอนามัย
       - ไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การ
ตรวจร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่าเป็นการทำา
หัตถการ
       - การเจาะเลือดปลายนิวเพื่อตรวจ
                              ้
หาสารเคมีตกค้าง ไม่ใช่หัตถการเพื่อการ
รักษา แต่เป็นกระบวนการในการตรวจ
ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 15 ปีขึ้น
 ไป ให้ลงรหัส Z000 ตรวจสุขภาพทั่วไป
  ระวังข้อมูล Over ตรวจสุขภาพเกิน
 จริง(1ปีเขาตรวจสุขภาพกี่ครั้ง) ถ้าคน
 ป่วยรับการตรวจรักษาโรคห้ามลงว่ามา
 ตรวจสุขภาพโดยเด็ดขาด การตรวจ
 สุขภาพร่างกายทั่วไปไม่ต้องลงหัตถการ
 เพราะ การตรวจร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่า
 เป็นการทำาหัตถการ การเจาะเลือดปลาย
 นิ้วเพื่อตรวจหาเบาหวาน ไม่ใช่หัตถการ
 เพื่อการรักษา แต่เป็นกระบวนการในการ
 ตรวจ เพื่อหาพยาธิสภาพของโรค เป็น
 งาน Routine ของโรคนั้นๆ
การติดตามเยี่ยมบ้านคนไข้ ถือเป็นการ
 ติดตามผลการรักษาและประเมินสภาพสิ่ง
 แวดล้อมคนไข้         ให้ลงรหัส  Z099
 (การตรวจติดตามผลหลังการรักษาภาวะ
 อื่นที่ไม่ระบุรายละเอียด)เป็นโรคหลัก(Dx
  Type1) เพียง 1 รหัสโรคเท่านั้น(แม้จะ
 ป่วยเป็นโรคอะไรก็ตาม)
 ** ไม่ต้องลงรหัสโรคเรื่อรัง หรือ โรคร่วม
 อื่น แต่สามารถลงรายการจ่ายยาหรือ
 กิจกรรมฟื้นฟูหรือหัตถการที่มีการให้
 บริการแก่คนไข้จริงๆได้ (ถ้ามี)
12.) งานทันตกรรม  ถือเป็นบริการข้อมูลผู้
 ป่วยนอก ซึ่งจะมีทั้งกิจกรรม ทันตส่ง
 เสริมสุขภาพ เช่น  ตรวจสุขภาพ
 ฟัน(Z012) และ ผู้ปวยทางทันตกรรม
                    ่
 แนวทางการให้รหัสทางทันตกรรม ยึด
 ตามแนวทางการให้รหัสโรคตาม ICD10
 เช่นเดียวกับบริการ ของผูป่วยนอกทั่วไป
                          ้
13.) งานบริการแพทย์แผนไทย  ถือว่า เป็น
 บริการพิเศษ ที่เพิ่มเข้ามาในระบบของ
 หน่วยบริการ  บริการแพทย์แผนไทย  มี
 ทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการเชิง
 รุกในชุมชน  ซึ่งผูที่จะให้การวินิจฉัยโรค
                     ้
 แพทย์แผนไทยและให้บริการแพทย์แผน
 ไทยจะต้องเป็น  ผู้ผานการอบรมหรือจบ
                       ่
 หลักสูตรทางด้านนี้โดยเฉพาะ
 แนวทางการให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย มี
 หลักการเช่นเดียวกันกับการให้รหัสโรค
 แผนปัจจุบน    แต่ใช้รหัสที่ต่างกันเท่านั้น
            ั
การให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย  อ้างอิง
 จากศูนย์รหัสมาตรฐานกลางเว็บ http://
 thcc.or.th ซึ่งจะขึ้นต้นด้วยอักษร U ซึ่ง
 ผู้จะให้รหัสโรคนี้ต้องเป็นผู้ผ่านการ
 อบรมหรือจบหลักสูตรทางด้านแพทย์
 แผนไทยโดยเฉพาะ งานบริการแพทย์
 แผนไทยเชิงรุก นอกหน่วยบริการ ให้ลง
 เหมือนกับการติดตามเยี่ยมบ้าน      
 (รหัส Z099) แล้วจึงลงรหัส หัตถการ ของ
 แพทย์แผนไทยตามปกติ
14.) บริการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด 
 โดยนักกายภาพ เป็นบริการเพิ่มสำาหรับบาง
 หน่วยบริการที่มีนักกายภาพบำาบัด  ซึ่ง
 ลักษณะบริการจะคล้ายๆกับแพทย์แผนไทย 
 ซึ่งมีทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการ
 เชิงรุกในชุมชน ส่วนใหญ่ บริการของ
 กายภาพบำาบัด จะเป็นกิจกรรมหรือหัตถการ
 เพื่อการฟื้นฟูสภาพและเพื่อการรักษา การ
 ให้รหัสโรค ควรเป็นเจ้าหน้าหน้าที่ผู้ตรวจ
 รักษาโรคทั่วไป เป็นคนลงวินิจฉัยโรค แล้ว
 ส่งต่อ คนไข้ให้ นักกายภาพบำาบัดช่วย
 ตรวจเพิ่มเติมเพื่อ ให้บริการตามแนวทาง
 ของนักกายภาพบำาบัด  งานบริการฟูสภาพ
14.) บริการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด 
 โดยนักกายภาพ เป็นบริการเพิ่มสำาหรับบาง
 หน่วยบริการที่มีนักกายภาพบำาบัด  ซึ่ง
 ลักษณะบริการจะคล้ายๆกับแพทย์แผนไทย 
 ซึ่งมีทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการ
 เชิงรุกในชุมชน ส่วนใหญ่ บริการของ
 กายภาพบำาบัด จะเป็นกิจกรรมหรือหัตถการ
 เพื่อการฟื้นฟูสภาพและเพื่อการรักษา การ
 ให้รหัสโรค ควรเป็นเจ้าหน้าหน้าที่ผู้ตรวจ
 รักษาโรคทั่วไป เป็นคนลงวินิจฉัยโรค แล้ว
 ส่งต่อ คนไข้ให้ นักกายภาพบำาบัดช่วย
 ตรวจเพิ่มเติมเพื่อ ให้บริการตามแนวทาง
 ของนักกายภาพบำาบัด  งานบริการฟูสภาพ
แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ
• หัต ถการ หมายถึง การใช้เ ครื่อ งมือ หรือ
  วัส ดุ อุป กรณ์ก ารแพทย์ กระทำา ต่อ อวัย วะ
  หรือ ร่า งกายผูป ว ย โดยอาศัย ทัก ษะที่ไ ด้
                   ้ ่
  รับ การฝึก ฝนทางการแพทย์ พยาบาล
  ทัน ตแพทย์ หรือ ผูป ฏิบ ต ิว ิช าชีพ ด้า น
                        ้      ั
  บริก ารสุข ภาพ
• หัต ถการเพื่อ การรัก ษา หมายถึง การใช้
  เครื่อ งมือ หรือ วัส ดุ อุป กรณ์ก ารแพทย์
  กระทำา ต่อ อวัย วะ หรือ ร่า งกายผูป ว ย โดย
                                       ้ ่
  อาศัย ทัก ษะที่ไ ด้ร ับ การฝึก ฝนทางการ
  แพทย์ พยาบาล ทัน ตแพทย์ หรือ ผูป ฏิบ ต ิ ้ ั
แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ

1.) ให้ลงรหัสหัตถการตามจริง ที่ให้บริการจริง
  เท่านั้น  ห้ามให้หัตถการเกินจำาเป็นหรือเผือไว้
                                            ่
2.) ให้หัตถการเพื่อการรักษาหรือฟื้นฟูสภาพ  ที่
  สอดคล้องสัมพันธ์กับการวินิจฉัยของโรคเท่านั้น
3.) หัตถการผูป่วยนอก ลงเฉพาะหัตถการเพื่อ
                ้
  การรักษาเท่านั้น  เช่น  ล้างตา,ฉีดยา ,เย็บ
  แผล,ทำาแผล ,เจาะเลือด,ผ่าฝี, ตัดไหม,ถอน
  ฟัน,อุดฟัน,การสวนปัสสาวะ,การให้นำ้าเกลือ
  ฯลฯ ICD 10Tm เท่านั้น ( 7 หลัก )
แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ
การทำาหัตถการเพื่อการรักษาในที่นี้ ไม่รวม
  1.การผ่าตัด
 2.การตรวจอวัยวะ หรือ การตรวจส่วนต่างๆของ
 ร่างกาย โดยมิได้ใช้เครื่องมือทางการแพทย์ รวมทั้ง
 การตรวจร่างกาย Routine เช่น วัดความดัน,วัด
 ปรอท, ชังนำ้าหนัก,วัดส่วนสูง ฯลฯ
          ่
 3.การตรวจทางรังสี
 4.การตรวจทางหองปฏิบติการั
 5.การดูแล และทำาความสะอาดส่วนต่างๆของ
 ร่างกาย  การตรวจร่างกาย ทุกชนิด,การตรวจ
 สุขภาพ,การตรวจภาวะโภชนาการ,การตรวจเต้า
 นม, การตรวจวัดสายตา,การตรวจอื่นๆ ,การให้คำา
แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ
4.) หัตถการงานสร้างเสริมสุขภาพหัตถการที่เป็นงาน
  สร้างเสริมสุขภาพ  เช่น  มาฉีดวัคซีน,ฉีดยาคุม
  กำาเนิด  จะมีหัตถการฉีดยา (หยอดยาโปลิโอไม่
  ถือว่าเป็นหัตถการ), หัตถการใส่ห่วงอนามัย  เป็นต้น

  5.) หัตถการแพทย์แผนไทย ผูที่จะทำาหัตถการ
                              ้
  แพทย์แผนไทยต้องเป็นผูผ่านการอบรมหรือจบ
                          ้
  หลักสูตรทางด้าน แพทย์แผนไทยโดยเฉพาะ  ดัง
  นั้น  การลงรหัสหัตถการแพทย์แผนไทย ทุกครั้ง จะ
  ต้องระบุเลขบัตรประจำาตัวประชาชน(13หลัก) ของผู้
  ให้บริการแพทย์แผนไทยด้วยทุกครั้ง
แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ

6.) หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด
  ผู้ที่จะให้บริการ จะต้องเป็นนักกายภาพบำาบัดเท่านัน
                                                   ้
  รหัสหัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด
  ให้อ้างอิงตาม ICD9CM และ ICD10TM การลงรหัส
  หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด ทุก
  ครั้ง จะต้องระบุเลขบัตร ประจำาตัว
  ประชาชน(13หลัก) ของนักกายภาพบำาบัด ที่ให้
  บริการด้วยทุกครั้ง
คำาถาม คือ คำาตอบ

• ICD 10 TM For PCU

More Related Content

What's hot

อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาLatthapol Winitmanokul
 
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeคู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeUtai Sukviwatsirikul
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาUtai Sukviwatsirikul
 
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 

What's hot (17)

อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeคู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
OPD System with ZK Grails
OPD System with ZK GrailsOPD System with ZK Grails
OPD System with ZK Grails
 

Viewers also liked

การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มการบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 dการบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 dณัชพล สีภูงา
 
Basic icd 9
Basic icd 9Basic icd 9
Basic icd 9swlhos
 
ComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 PositioningComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 PositioningCurtis Palmer
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIMDataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIMPiyanat Nimkhuntod
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรNakhonratchasima Provincial of public health office
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 

Viewers also liked (11)

การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มการบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
 
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 dการบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แฟ้ม 7 d
 
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
 
Basic icd 9
Basic icd 9Basic icd 9
Basic icd 9
 
ComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 PositioningComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 Positioning
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIMDataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

Similar to กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม

ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Utai Sukviwatsirikul
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2Techin Pha-In
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขThanakom Saena
 

Similar to กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม (20)

ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไข
 
Guideline for the_treatent
Guideline for the_treatentGuideline for the_treatent
Guideline for the_treatent
 
Guideline for the treatent of oa
Guideline for the treatent  of oaGuideline for the treatent  of oa
Guideline for the treatent of oa
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Icd10
Icd10Icd10
Icd10
 

กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม

  • 1. กลเม็ด เคล็ด ลับ การบัน ทึก ข้อ มูล 21 แฟ้ม ให้ไ ด้....คุณ ภาพ ถูก ต้อ ง ครบ ถ้ว น ขจังหวัด สำานักงานสาธารณสุ สมุทรสาคร
  • 3. ทบทวนความรู้เดิม • เมื่อมีผู้มารับบริการ – ผู้ป่วย ผู้ป่วยเก่า,ผู้ป่วยใหม่ • ซักถามอาการ • ตรวจร่างกายเช่น ชั่งนำ้าหนัก ,วัดส่วนสูง,วัดความ ดันฯ,จับชีพจร,นับการหายใจ • วินิจฉัยโรค • จ่ายยา • หากต้องมีการให้หัตถการ ให้บันทึกให้ถูกต้อง
  • 4. ทบทวนความรู้เดิม • เมื่อมีผมารับบริการ ู้ – ผูรับบริการอื่น สามารถบันทึกการวินิจฉัยโรค โดย ้ ให้ลง เช่น • รับบริการตรวจสุขภาพเด็ก 0-72 เดือน , ตรวจภาวะ โภชนาการ,ตรวจพัฒนาการ( Z001  ) • ตรวจสุขภาพนักเรียน (  Z108  ) • ตรวจสุขภาพประชาชนทัวไป (  Z000  ) ่ • ฉีดวัคซีน(ตามชนิดวัคซีน) ลิงค์
  • 5. ทบทวนความรู้เดิม • เมื่อมีผมารับบริการ ู้ – ผูรับบริการอื่น สามารถบันทึกการวินิจฉัยโรค โดย ้ ให้ลง เช่น • ตรวจสุขภาพฟัน (Z012) • ฝากครรภ์(ครรภ์แรก  Z340  ,ครรภ์ต่อมา  Z349  ) • ให้ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตามกิจกรรม  ที่ ได้ให้บริการจริงๆ http://www.srisangworn.go.th/v2/icd_Learn/MainMenu.htm
  • 6. ทบทวนความรู้เดิม กิจ กรรม / การวิน ิจ ฉัย รหัส ICD 10 การคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค (ในรายที่ทำา confirm screening) - Metabolic (HT / อ้วน) Z 138 - DM Z 131 Pre DM R 730 / R731 / R739 (ค่า FBS ระหว่าง 100 -125 mg/dl หรือ Postpandial blood glucose ระหว่าง 140-199 mg/dl ) Pre HT R 030 (Pre HT คือค่า Systolic BP ระหว่าง 120-139 mmHg หรือ Diastolic BP ระหว่าง 80-89 mmHg ) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Z 713 การคัดกรองภาวะซึมเศร้า Z 133
  • 7. ผู้ป่วย • ผู้ป ่ว ยนอก หมายถึง ผู้รับบริการทีได้ ่ รับการวินิจฉัยว่าป่วย และได้ลงทะเบียน ไว้ทแผนกผู้ป่วยนอก ทั้งนี้ ให้นบรวมผู้ ี่ ั มารับบริการด้านการรักษาพยาบาลต่อ เนือง เช่น ฉีดยาต่อเนือง, ทำาแผลต่อ ่ ่ เนือง, ผู้ติดสารเสพติดมารับการบำาบัดต่อ ่ เนือง,ผู้มารับบริการฟืนฟูสมรรถภาพ ่ ้ • ไม่น ับ รวม ผู้ที่มารับบริการด้านส่ง เสริมสุขภาพอื่นๆ ได้แก่ ตรวจก่อนคลอด ตรวจหลังคลอด ส่งเสริมป้องกัน , ทันต สุขภาพ , การวางแผนครอบครัว , ตรวจ สุขภาพประจำาปี , Pap smear ,การให้คำา
  • 8. แนวทางการให้รหัสโรค 1.) ให้รหัสโรค  ตามโรคที่พบจริง เท่านั้น ห้ามให้รหัสเกินความ จำาเป็นหรือให้เผื่อไว้โดยเฉพาะ รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ  ถ้ามา ตรวจด้วยอาการของโรค ห้ามลง รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพและรหัส การตรวจร่างกายต่างๆ  เช่น ตรวจ สุขภาพ,วัดความดัน ฯลฯ เพราะ เป็นงาน Routine และไม่เป็นไปตาม แนวทางในการให้รหัสโรค
  • 9. แนวทางการให้รหัสโรค 2.)   บริการที่เกิดขึ้น ณ หน่วยบริการ ใด ให้ถือเป็นผลงานและข้อมูลของ หน่วยบริการนั้น  กรณีทีม สหวิชาชีพจากโรงพยาบาล  ลงไป ให้บริการที่ PCU ให้ถือว่าบริการและ ข้อมูลนั้นเป็นผลงานของ PCU ที่ลง ไป  ห้ามนำามาบันทึกเป็นผลงานของ โรงพยาบาล
  • 10. แนวทางการให้รหัสโรค 3.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  สามารถระบุ สาเหตุของโรคได้ชดเจนโรคเดียว  ั ให้วินิจฉัยโรคที่พบ ตามมาตรฐาน ICD10 เป็นรหัสโรคหลัก (Dx Type1)  เพียงรหัสเดียว 4.)   กรณีเจ็บป่วยครั้งนี้ สามารถระบุ สาเหตุของโรคได้มากกว่า 1 โรค ให้ ระบุ  โรคที่หนักที่สุด ซึ่งเป็นสาเหตุที่ ทำาให้ผู้ปวยมาพบในครั้งนี้  เป็นโรค ่
  • 11. แนวทางการให้รหัสโรค 5.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  ไม่สามารถ ระบุโรคได้ชดเจน  ให้วินิจฉัยตาม ั อาการ โดยให้รหัสเป็นโรคหลัก ตาม อาการที่พบหนักสุด ส่วนอาการอื่นๆ ที่พบให้ลง Dx Type4 other เพราะ สถานีอนามัยจะไม่มีกลุ่มโรค ประเภท2,3 จะ มีเฉพาะในโรง พยาบาลเท่านั้น( แต่ถ้าสามารถระบุ โรคได้ชัดเจนแล้ว การให้รหัสโรค ตามอาการ ก็ไม่มีความจำาเป็น ) การ
  • 12. แนวทางการให้รหัสโรค 6.)   กรณีวินิจฉัยโรค/ให้รหัสโรคใน กลุ่มอุบัติเหตุ  ให้ลงรหัส สาเหตุของ การเกิดอุบติทุกครั้ง(รหัส V,W,X,Y) ั ·กรณีอุบัติเหตุแล้วเกิดบาดแผล  ให้ ระบุตำาแหน่งที่เกิดบาดแผล ด้วย(เฉพาะวันแรก) ·กรณีคนไข้ อุบติเหตุแล้วมาทำาแผล/ตัดไหม ใน ั วันถัดๆมา(ไม่ใช่วันแรก) ให้ลงรหัส โรคตามกิจกรรมที่มารับบริการ เท่านั้น เช่น ทำาแผล   ห้าม ลงรหัส เหมือนวันแรกที่เกิดอุบติเหตุโดยเด็ด ั ขาด ยกเว้น จะเกิดอุบติเหตุซำ้าซ้อน ั
  • 13. 7.)   กรณี ผูป่วยมา Follow Up หรือ มาตาม ้ นัด เพื่อติดตามการรักษาถ้าเป็นโรค เรื้อรัง  เช่น เบาหวาน,ความดัน ฯลฯ ให้ ลงรหัสโรคเดิม ถ้าเป็นการนัด โรคอื่นๆ  ให้ประเมินตามอาการ ในการมาครั้งนี้ หายดีแล้ว  ลงรหัส  Z099 ดีขึ้นแต่ยังไม่ หาย ลงรหัส  Z548 คงที่เหมือนเดิม ให้ลง รหัสโรคเดิม แต่ถ้ามาครั้งนี้พบโรคใหม่ หรือป่วยเป็นโรคใหม่ ให้ถือว่าผู้ปวยมา ่ รับบริการเป็นคนไข้ตามปกติ ให้ลงโรค ใหม่ที่พบ เป็นรหัสโรคหลัก ส่วนโรค เรื้อรังเดิมให้ลงรหัสเป็นโรคอื่นๆ(Dx  Type4 other)
  • 14. 8.)   กรณี ตรวจรักษาแล้ว  ต้องส่ง ต่อ(Refer)ไป รพ.แม่ข่ายให้ลงรหัสโรค หรือรหัสอาการที่ตรวจพบ  ตามแนวทาง ให้รหัสโรคข้างต้น ลงรหัส Z753 เพื่อระบุ ว่า  ส่งตัวไปรักษาที่อื่น ถ้าในโปรแกรมมี เมนูบนทึกระบบ Refer ให้บันทึกในงาน ั Refer ตามระบบปกติด้วย
  • 15.  9.)   กรณีไม่ได้ป่วย แต่มารับบริการอย่า งอื่นๆ เช่น รับบริการตรวจสุขภาพเด็ก 0- 72 เดือน ( Z001  ) นักเรียน(  Z108  )  ตรวจสุขภาพประชาชนทั่วไป (  Z000  )  ฉีดวัคซีน(ตามชนิดวัคซีน) วางแผน ครอบครัว(Z30.4) ตรวจสุขภาพฟัน (Z012),ฝากครรภ์(ครรภ์แรก  Z340   ,ครรภ์ต่อมา  Z349  ) ตรวจภาวะ โภชนาการ,ตรวจพัฒนาการ(  Z001  )  ฯลฯ ให้ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99)  ตามกิจกรรม  ที่ได้ให้บริการจริงๆ ถ้ามารับบริการสร้างเสริมสุขภาพ แล้ว ตรวจพบโรค  ให้ลงรหัสโรคที่พบ เป็น
  • 16.  10.) ถ้าทำาหลายๆกิจกรรม  ให้ลงกิจกรรม หลักที่มา เป็นรหัสโรคหลัก ส่วนรหัสกิจ กรรมอื่นๆ ให้ลงเป็น รหัสอื่นๆ (Dx  Type4)  เช่น มาฝากครรภ์(ครรภ์ที่2) แล้ว ฉีดวัคซีน(dTANC) และ เจาะเลือดตรวจ VDRL มาฝากครรภ์(ครรภ์ที่2)  เป็น Dx  Type1  รหัสกิจกรรม Z34.9 ฉีด วัคซีน(dTANC) เป็น Dx Type4  รหัส กิจกรรม Z235,Z236 เจาะเลือดตรวจ VDRL เป็น Dx Type4  รหัสกิจกรรม Z1.3 
  • 17. 11. ) กรณีบริการนอกหน่วยบริการ เช่น  รณรงค์ตรวจสุขภาพ,ตรวจคัดกรองความ เสียง,อนามัยโรงเรียน  เยี่ยมบ้าน,หน่วย ่ บริจาคโลหิต เหล่านี้ไม่ถือว่าเป็น ผูป่วย ้ นอก  แต่เป็นกิจกรรมบริการสร้าง เสริมสุขภาพ หรือ บริการสร้างเสริมสุข ภาพเชิงรุก และโดยปกติจะมีระบบการ บันทึกผลงานเฉพาะงานนั้นๆ(หมายความ ว่า กิจกรรมอะไรก็ลงบันทึกตามกิจกรรม งานนั้นๆ) ข้อมูลจะไม่เกี่ยวข้องกันกับผู้ ป่วยนอกหรือบริการในหน่วยบริการตาม ระบบปกติ
  • 18. แต่ถ้ามีการนำามาบันทึกในระบบข้อมูลผู้ ป่วยนอก  ให้บนทึกเป็น ลงรหัส ส่ง ั เสริมสุขภาพ(Z00-99) ตามกิจกรรมหลักที่ ทำาเพียง 1 รหัสเท่านั้น  ห้ามลงรหัสโรค เด็ดขาด แม้จะพบโรคก็ตาม  แต่การ บันทึกในโปรแกรมตามระบบงานของกิจ กรรมนันๆ  ให้ลงรายละเอียดข้อมูลให้ ้ ครบถ้วนทุกอย่าง  เช่น  บันทึกNCD ตรวจคัดกรองสุขภาพ ถ้าพบป่วยเป็นโรคอะไร? ก็ลงตามนัน  ้ แต่การลงบันทึกข้อมูลผูป่วยนอก ให้ ้ ถือว่าทำาเพียงกิจกรรมตรวจคัดกรอง สุขภาพ จึงลงเพียงรหัส Z000 เท่านั้น
  • 19. - หัตถการต่างๆ  ไม่ต้องลง เพราะ ไม่ใช่หัตถการเพื่อการรักษาและการ ตรวจร่างกายต่างๆ           ไม่ถือว่าเป็นการทำาหัตถการ ตรวจคัดกรองความเสี่ยงสารเคมีตกค้าง ใน กลุ่มเกษตรกร ลงรหัส Z100 การ ตรวจสุขภาพด้านอาชีวอนามัย        - ไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การ ตรวจร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่าเป็นการทำา หัตถการ        - การเจาะเลือดปลายนิวเพื่อตรวจ ้ หาสารเคมีตกค้าง ไม่ใช่หัตถการเพื่อการ รักษา แต่เป็นกระบวนการในการตรวจ
  • 20. ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 15 ปีขึ้น ไป ให้ลงรหัส Z000 ตรวจสุขภาพทั่วไป ระวังข้อมูล Over ตรวจสุขภาพเกิน จริง(1ปีเขาตรวจสุขภาพกี่ครั้ง) ถ้าคน ป่วยรับการตรวจรักษาโรคห้ามลงว่ามา ตรวจสุขภาพโดยเด็ดขาด การตรวจ สุขภาพร่างกายทั่วไปไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การตรวจร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่า เป็นการทำาหัตถการ การเจาะเลือดปลาย นิ้วเพื่อตรวจหาเบาหวาน ไม่ใช่หัตถการ เพื่อการรักษา แต่เป็นกระบวนการในการ ตรวจ เพื่อหาพยาธิสภาพของโรค เป็น งาน Routine ของโรคนั้นๆ
  • 21. การติดตามเยี่ยมบ้านคนไข้ ถือเป็นการ ติดตามผลการรักษาและประเมินสภาพสิ่ง แวดล้อมคนไข้         ให้ลงรหัส  Z099 (การตรวจติดตามผลหลังการรักษาภาวะ อื่นที่ไม่ระบุรายละเอียด)เป็นโรคหลัก(Dx Type1) เพียง 1 รหัสโรคเท่านั้น(แม้จะ ป่วยเป็นโรคอะไรก็ตาม) ** ไม่ต้องลงรหัสโรคเรื่อรัง หรือ โรคร่วม อื่น แต่สามารถลงรายการจ่ายยาหรือ กิจกรรมฟื้นฟูหรือหัตถการที่มีการให้ บริการแก่คนไข้จริงๆได้ (ถ้ามี)
  • 22. 12.) งานทันตกรรม  ถือเป็นบริการข้อมูลผู้ ป่วยนอก ซึ่งจะมีทั้งกิจกรรม ทันตส่ง เสริมสุขภาพ เช่น  ตรวจสุขภาพ ฟัน(Z012) และ ผู้ปวยทางทันตกรรม ่ แนวทางการให้รหัสทางทันตกรรม ยึด ตามแนวทางการให้รหัสโรคตาม ICD10 เช่นเดียวกับบริการ ของผูป่วยนอกทั่วไป ้
  • 23. 13.) งานบริการแพทย์แผนไทย  ถือว่า เป็น บริการพิเศษ ที่เพิ่มเข้ามาในระบบของ หน่วยบริการ  บริการแพทย์แผนไทย  มี ทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการเชิง รุกในชุมชน  ซึ่งผูที่จะให้การวินิจฉัยโรค ้ แพทย์แผนไทยและให้บริการแพทย์แผน ไทยจะต้องเป็น  ผู้ผานการอบรมหรือจบ ่ หลักสูตรทางด้านนี้โดยเฉพาะ แนวทางการให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย มี หลักการเช่นเดียวกันกับการให้รหัสโรค แผนปัจจุบน    แต่ใช้รหัสที่ต่างกันเท่านั้น ั
  • 24. การให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย  อ้างอิง จากศูนย์รหัสมาตรฐานกลางเว็บ http:// thcc.or.th ซึ่งจะขึ้นต้นด้วยอักษร U ซึ่ง ผู้จะให้รหัสโรคนี้ต้องเป็นผู้ผ่านการ อบรมหรือจบหลักสูตรทางด้านแพทย์ แผนไทยโดยเฉพาะ งานบริการแพทย์ แผนไทยเชิงรุก นอกหน่วยบริการ ให้ลง เหมือนกับการติดตามเยี่ยมบ้าน       (รหัส Z099) แล้วจึงลงรหัส หัตถการ ของ แพทย์แผนไทยตามปกติ
  • 25. 14.) บริการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด  โดยนักกายภาพ เป็นบริการเพิ่มสำาหรับบาง หน่วยบริการที่มีนักกายภาพบำาบัด  ซึ่ง ลักษณะบริการจะคล้ายๆกับแพทย์แผนไทย  ซึ่งมีทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการ เชิงรุกในชุมชน ส่วนใหญ่ บริการของ กายภาพบำาบัด จะเป็นกิจกรรมหรือหัตถการ เพื่อการฟื้นฟูสภาพและเพื่อการรักษา การ ให้รหัสโรค ควรเป็นเจ้าหน้าหน้าที่ผู้ตรวจ รักษาโรคทั่วไป เป็นคนลงวินิจฉัยโรค แล้ว ส่งต่อ คนไข้ให้ นักกายภาพบำาบัดช่วย ตรวจเพิ่มเติมเพื่อ ให้บริการตามแนวทาง ของนักกายภาพบำาบัด  งานบริการฟูสภาพ
  • 26. 14.) บริการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด  โดยนักกายภาพ เป็นบริการเพิ่มสำาหรับบาง หน่วยบริการที่มีนักกายภาพบำาบัด  ซึ่ง ลักษณะบริการจะคล้ายๆกับแพทย์แผนไทย  ซึ่งมีทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการ เชิงรุกในชุมชน ส่วนใหญ่ บริการของ กายภาพบำาบัด จะเป็นกิจกรรมหรือหัตถการ เพื่อการฟื้นฟูสภาพและเพื่อการรักษา การ ให้รหัสโรค ควรเป็นเจ้าหน้าหน้าที่ผู้ตรวจ รักษาโรคทั่วไป เป็นคนลงวินิจฉัยโรค แล้ว ส่งต่อ คนไข้ให้ นักกายภาพบำาบัดช่วย ตรวจเพิ่มเติมเพื่อ ให้บริการตามแนวทาง ของนักกายภาพบำาบัด  งานบริการฟูสภาพ
  • 27. แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ • หัต ถการ หมายถึง การใช้เ ครื่อ งมือ หรือ วัส ดุ อุป กรณ์ก ารแพทย์ กระทำา ต่อ อวัย วะ หรือ ร่า งกายผูป ว ย โดยอาศัย ทัก ษะที่ไ ด้ ้ ่ รับ การฝึก ฝนทางการแพทย์ พยาบาล ทัน ตแพทย์ หรือ ผูป ฏิบ ต ิว ิช าชีพ ด้า น ้ ั บริก ารสุข ภาพ • หัต ถการเพื่อ การรัก ษา หมายถึง การใช้ เครื่อ งมือ หรือ วัส ดุ อุป กรณ์ก ารแพทย์ กระทำา ต่อ อวัย วะ หรือ ร่า งกายผูป ว ย โดย ้ ่ อาศัย ทัก ษะที่ไ ด้ร ับ การฝึก ฝนทางการ แพทย์ พยาบาล ทัน ตแพทย์ หรือ ผูป ฏิบ ต ิ ้ ั
  • 28. แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ 1.) ให้ลงรหัสหัตถการตามจริง ที่ให้บริการจริง เท่านั้น  ห้ามให้หัตถการเกินจำาเป็นหรือเผือไว้ ่ 2.) ให้หัตถการเพื่อการรักษาหรือฟื้นฟูสภาพ  ที่ สอดคล้องสัมพันธ์กับการวินิจฉัยของโรคเท่านั้น 3.) หัตถการผูป่วยนอก ลงเฉพาะหัตถการเพื่อ ้ การรักษาเท่านั้น  เช่น  ล้างตา,ฉีดยา ,เย็บ แผล,ทำาแผล ,เจาะเลือด,ผ่าฝี, ตัดไหม,ถอน ฟัน,อุดฟัน,การสวนปัสสาวะ,การให้นำ้าเกลือ ฯลฯ ICD 10Tm เท่านั้น ( 7 หลัก )
  • 29. แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ การทำาหัตถการเพื่อการรักษาในที่นี้ ไม่รวม 1.การผ่าตัด 2.การตรวจอวัยวะ หรือ การตรวจส่วนต่างๆของ ร่างกาย โดยมิได้ใช้เครื่องมือทางการแพทย์ รวมทั้ง การตรวจร่างกาย Routine เช่น วัดความดัน,วัด ปรอท, ชังนำ้าหนัก,วัดส่วนสูง ฯลฯ ่ 3.การตรวจทางรังสี 4.การตรวจทางหองปฏิบติการั 5.การดูแล และทำาความสะอาดส่วนต่างๆของ ร่างกาย  การตรวจร่างกาย ทุกชนิด,การตรวจ สุขภาพ,การตรวจภาวะโภชนาการ,การตรวจเต้า นม, การตรวจวัดสายตา,การตรวจอื่นๆ ,การให้คำา
  • 30. แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ 4.) หัตถการงานสร้างเสริมสุขภาพหัตถการที่เป็นงาน สร้างเสริมสุขภาพ  เช่น  มาฉีดวัคซีน,ฉีดยาคุม กำาเนิด  จะมีหัตถการฉีดยา (หยอดยาโปลิโอไม่ ถือว่าเป็นหัตถการ), หัตถการใส่ห่วงอนามัย  เป็นต้น 5.) หัตถการแพทย์แผนไทย ผูที่จะทำาหัตถการ ้ แพทย์แผนไทยต้องเป็นผูผ่านการอบรมหรือจบ ้ หลักสูตรทางด้าน แพทย์แผนไทยโดยเฉพาะ  ดัง นั้น  การลงรหัสหัตถการแพทย์แผนไทย ทุกครั้ง จะ ต้องระบุเลขบัตรประจำาตัวประชาชน(13หลัก) ของผู้ ให้บริการแพทย์แผนไทยด้วยทุกครั้ง
  • 31. แนวทางการให้ร หัส หัต ถการ 6.) หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด ผู้ที่จะให้บริการ จะต้องเป็นนักกายภาพบำาบัดเท่านัน ้ รหัสหัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด ให้อ้างอิงตาม ICD9CM และ ICD10TM การลงรหัส หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด ทุก ครั้ง จะต้องระบุเลขบัตร ประจำาตัว ประชาชน(13หลัก) ของนักกายภาพบำาบัด ที่ให้ บริการด้วยทุกครั้ง