SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
COVID 19
Sutthiluck Kaewboonruen
COVID 19 (corona virus)
เป็นโรคอุบัติใหม่ ที่มีการระบาด อย่างรวดเร็ว
เป็นเชื้อไวรัส ชนิดหนึ่ง สามารถ กลายพันธุ์ ได้เร็ว มีหลายสายพันธ์
การติดต่อ เป็น ลักษณะ ของ ละออฝอยขนาดใหญ่ (Droplet)และการสัมผัส กับพื้นผิวที่มีการ
ปนเปื้อน (Contact )
การฆ่าเชื้อ :น้าสบู่,70% Alcohol,ความร้อนตั้งแต่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
ท่านมีความเสี่ยงหรือไม่
 ทุกคน มีสิทธิ์เป็นผู้รับเชื้อ และผู้แพร่เชื้อ
 การแพร่เชื้อ เกิด จาก “ คนคุ้นเคย “ และคาว่า “ ไม่เป็นไร”
 ท่านไปสถานที่เสี่ยงมาหรือไม่ :มีคนหนาแน่น มีการจัดกิจกรรมบันเทิง
 สถานที่ที่ใป ผู้คนมีการใส่หน้ากากอนามัยกันทุกคนหรือไม่
 ท่านปฏิบัติตัวในการป้องกันครบหรือไม่
 ใส่หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา
 ล้างมือ ทุกครั้ง ก่อนเข้าบ้าน ,ก่อนสัมผัสใบหน้า,จมูก,ปาก,รับประทานอาหาร
 ไม่ได้รับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น
 เว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตรในการพูดคุย
 ถ้าท่านปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันครบท่านจะเสี่ยงต่า
ย้า !!!! ป้องกันตัวจาก COVID 19 ทุกสายพันธ์
ใส่หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา (อย่างถูกวิธี )
ไม่กินข้าวร่วมโต๊ะ ร่วม ช้อน ร่วม แก้ว กับใคร
อยู่กันอย่าง ห่างๆ แบบ ห่วงๆ
ล้างมือ บ่อยๆ ไม่ว่าจะด้วย น้าสบู่ หรือ แอลกอฮอล์ เจล
อย่า เอา มือ ป้ายตา จมูก ปาก โดยไม่ทาความสะอาด ก่อน
กลับบ้าน รีบ อาบน้า เปลี่ยน เสื้อผ้า เป็นอย่างแรก
ระดับความเสี่ยงของผู้สัมผัสคนไข้ที่เป็นCOVID 19
ผู้ป่วย COVID 19
ผู้สัมผัสผู้ติดเชื้อ
มีความเสี่ยงสูง
- อยู่ใกล้กันโดยไม่ใส่หน้ากากอนามัย
- กินข้าวด้วยกัน
- กินน้าแก้วเดียวกัน
- พูดคุยกันในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5
นาที
ควรทาอย่างไร
- ถ้าไม่มีอาการตรวจหาเชื้อหลังสัมผัส
โรคประมาณวันที่ 5 ถ้าตรวจไม่พบเชื้อ
ไม่มีอาการกักตัว 14 วัน ไม่จาเป็นต้อง
ตรวจซ้า
ผู้สัมผัสบุคคลที่เสี่ยงสูง (ไม่ได้
สัมผัสผู้ติดเชื้อ)
-ถ้าไม่มีอาการไม่ต้องตรวจ,ไม่ต้อง
หยุดงาน
-ให้ใส่หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา
-ล้างมือสม่าเสมอ และสังเกตอาการ
-แยกรับประทานอาหาร เว้น
ระยะห่าง
-สังเกตุอาการตนเอง 14 วัน
วัคซีน ฉีดดีหรือไม่
วัคซีน ฉีด แล้วไม่ได้ การรันตี ว่า ไม่ติด แต่ จะช่วยลดความรุนแรง
 ถ้าติดหลังได้รับวัคซีนท่านก็สามารถแพร่เชื้อได้
ผลข้างเคียงของวัคซีน มี แต่ อาการรุนแรง มีน้อย ฉีด ดีกว่า ไม่ ฉีด
ตรวจพบว่าเป็น COVID 19 แต่ต้องอยู่บ้านเพราะเตียงเต็มทาอย่างไร
 แยกตัวเอง ออกจากครอบครัว เช่น
อยู่ในห้อง ส่วนตัวตลอดเวลา
ใช้ห้องน้าแยกจากผู้อื่น หากจาเป็นต้องใช้ร่วมกับผู้อื่นให้ใช้เป็นคนสุดท้าย
ไม่รับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น แยกจาน ชาม ช้อน ส้อม
ซักผ้าแยกจากผู้อื่น
 หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับบุคคลอื่นในที่พักอาศัย หากจาเป็นต้องเข้าใกล้ผู้อื่น ต้องสวมหน้ากาก
อนามัยและอยู่ห่างอย่างน้อย 1 เมตร
 ให้สังเกตอาการตนเอง และวัดอุณหภูมิทุกวัน (ถ้าเป็นไปได้)
 ถ้าอาการแย่ลง เช่น หอบเหนื่อย ไข้สูงลอย ไม่สามารถทากิจวัตรประจาวันได้ให้ติดต่อสถานพยาบาล
ใกล้บ้านหรือโรงพยาบาลที่รักษาอยู่
 เมื่อต้องเดินทางไปโรงพยาบาลให้ใช้รถยนต์ส่วนตัว กรณีไม่มีรถ ให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาและ
เปิดหน้าต่างรถ เพื่อเพิ่มการระบายอากาศ
กังวล อยากไปตรวจหา COVID 19 ได้มั๊ย
ถ้าไม่มีอาการ และ ประเมินแล้วความเสี่ยงต่า ไม่มีความจาเป็นที่จะไปตรวจ เพื่อความ
สบายใจ เพราะ จะเป็นการ Load งาน ของเจ้าหน้าที่ทางสาธารณสุข รวมถึงอาจไปรับ
เชื้อมาจากสถานพยาบาลที่ไปตรวจ ได้
ให้สังเกตุ อาการตนเอง และใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา เมื่ออยู่กับผู้อื่น

More Related Content

More from Sutthiluck Kaewboonrurn

การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนSutthiluck Kaewboonrurn
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตSutthiluck Kaewboonrurn
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการSutthiluck Kaewboonrurn
 

More from Sutthiluck Kaewboonrurn (11)

การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ICD 10
ICD 10ICD 10
ICD 10
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Service excellent update
Service excellent updateService excellent update
Service excellent update
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการ
 
Service excellent
Service  excellentService  excellent
Service excellent
 

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564

  • 2. COVID 19 (corona virus) เป็นโรคอุบัติใหม่ ที่มีการระบาด อย่างรวดเร็ว เป็นเชื้อไวรัส ชนิดหนึ่ง สามารถ กลายพันธุ์ ได้เร็ว มีหลายสายพันธ์ การติดต่อ เป็น ลักษณะ ของ ละออฝอยขนาดใหญ่ (Droplet)และการสัมผัส กับพื้นผิวที่มีการ ปนเปื้อน (Contact ) การฆ่าเชื้อ :น้าสบู่,70% Alcohol,ความร้อนตั้งแต่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
  • 3. ท่านมีความเสี่ยงหรือไม่  ทุกคน มีสิทธิ์เป็นผู้รับเชื้อ และผู้แพร่เชื้อ  การแพร่เชื้อ เกิด จาก “ คนคุ้นเคย “ และคาว่า “ ไม่เป็นไร”  ท่านไปสถานที่เสี่ยงมาหรือไม่ :มีคนหนาแน่น มีการจัดกิจกรรมบันเทิง  สถานที่ที่ใป ผู้คนมีการใส่หน้ากากอนามัยกันทุกคนหรือไม่  ท่านปฏิบัติตัวในการป้องกันครบหรือไม่  ใส่หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา  ล้างมือ ทุกครั้ง ก่อนเข้าบ้าน ,ก่อนสัมผัสใบหน้า,จมูก,ปาก,รับประทานอาหาร  ไม่ได้รับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น  เว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตรในการพูดคุย  ถ้าท่านปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันครบท่านจะเสี่ยงต่า
  • 4. ย้า !!!! ป้องกันตัวจาก COVID 19 ทุกสายพันธ์ ใส่หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา (อย่างถูกวิธี ) ไม่กินข้าวร่วมโต๊ะ ร่วม ช้อน ร่วม แก้ว กับใคร อยู่กันอย่าง ห่างๆ แบบ ห่วงๆ ล้างมือ บ่อยๆ ไม่ว่าจะด้วย น้าสบู่ หรือ แอลกอฮอล์ เจล อย่า เอา มือ ป้ายตา จมูก ปาก โดยไม่ทาความสะอาด ก่อน กลับบ้าน รีบ อาบน้า เปลี่ยน เสื้อผ้า เป็นอย่างแรก
  • 5. ระดับความเสี่ยงของผู้สัมผัสคนไข้ที่เป็นCOVID 19 ผู้ป่วย COVID 19 ผู้สัมผัสผู้ติดเชื้อ มีความเสี่ยงสูง - อยู่ใกล้กันโดยไม่ใส่หน้ากากอนามัย - กินข้าวด้วยกัน - กินน้าแก้วเดียวกัน - พูดคุยกันในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาที ควรทาอย่างไร - ถ้าไม่มีอาการตรวจหาเชื้อหลังสัมผัส โรคประมาณวันที่ 5 ถ้าตรวจไม่พบเชื้อ ไม่มีอาการกักตัว 14 วัน ไม่จาเป็นต้อง ตรวจซ้า ผู้สัมผัสบุคคลที่เสี่ยงสูง (ไม่ได้ สัมผัสผู้ติดเชื้อ) -ถ้าไม่มีอาการไม่ต้องตรวจ,ไม่ต้อง หยุดงาน -ให้ใส่หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา -ล้างมือสม่าเสมอ และสังเกตอาการ -แยกรับประทานอาหาร เว้น ระยะห่าง -สังเกตุอาการตนเอง 14 วัน
  • 6. วัคซีน ฉีดดีหรือไม่ วัคซีน ฉีด แล้วไม่ได้ การรันตี ว่า ไม่ติด แต่ จะช่วยลดความรุนแรง  ถ้าติดหลังได้รับวัคซีนท่านก็สามารถแพร่เชื้อได้ ผลข้างเคียงของวัคซีน มี แต่ อาการรุนแรง มีน้อย ฉีด ดีกว่า ไม่ ฉีด
  • 7. ตรวจพบว่าเป็น COVID 19 แต่ต้องอยู่บ้านเพราะเตียงเต็มทาอย่างไร  แยกตัวเอง ออกจากครอบครัว เช่น อยู่ในห้อง ส่วนตัวตลอดเวลา ใช้ห้องน้าแยกจากผู้อื่น หากจาเป็นต้องใช้ร่วมกับผู้อื่นให้ใช้เป็นคนสุดท้าย ไม่รับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น แยกจาน ชาม ช้อน ส้อม ซักผ้าแยกจากผู้อื่น  หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับบุคคลอื่นในที่พักอาศัย หากจาเป็นต้องเข้าใกล้ผู้อื่น ต้องสวมหน้ากาก อนามัยและอยู่ห่างอย่างน้อย 1 เมตร  ให้สังเกตอาการตนเอง และวัดอุณหภูมิทุกวัน (ถ้าเป็นไปได้)  ถ้าอาการแย่ลง เช่น หอบเหนื่อย ไข้สูงลอย ไม่สามารถทากิจวัตรประจาวันได้ให้ติดต่อสถานพยาบาล ใกล้บ้านหรือโรงพยาบาลที่รักษาอยู่  เมื่อต้องเดินทางไปโรงพยาบาลให้ใช้รถยนต์ส่วนตัว กรณีไม่มีรถ ให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาและ เปิดหน้าต่างรถ เพื่อเพิ่มการระบายอากาศ
  • 8. กังวล อยากไปตรวจหา COVID 19 ได้มั๊ย ถ้าไม่มีอาการ และ ประเมินแล้วความเสี่ยงต่า ไม่มีความจาเป็นที่จะไปตรวจ เพื่อความ สบายใจ เพราะ จะเป็นการ Load งาน ของเจ้าหน้าที่ทางสาธารณสุข รวมถึงอาจไปรับ เชื้อมาจากสถานพยาบาลที่ไปตรวจ ได้ ให้สังเกตุ อาการตนเอง และใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา เมื่ออยู่กับผู้อื่น