SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 15
โรคและอันตรายของการดำานำ้าและการรักษา
Hyperbaric Oxygen Therapy
พรเอนก ตาดทอง
มนุษย์เป็นนักสำารวจที่มีความทะเยอทะยานสูง ประกอบกับพื้นที่ผิว
ของโลกสามในสี่เป็นนำ้า จึงทำาให้มนุษย์พยายามที่จะลงไปสำารวจในนำ้า
มาตั้งแต่มีประวัติศาสตร์ของมนุษย์ขึ้นมาบนโลกนี้ อีกทั้งในภาวะ
ปัจจุบันปริมาณประชากรของโลกเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง ทำาให้มนุษย์
ต้องหาแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัยใหม่เพิ่มจากบนแผ่นดินอันได้แก่ใต้นำ้า
และใต้ดิน แต่ร่างกายของมนุษย์ไม่ได้ถูกสร้างให้ใช้ชีวิตภายใต้ความ
กดดันอันเกิดจากการอยู่ใต้นำ้าหรือใต้ดิน ปัญหาในร่างกายมนุษย์จึงเกิด
ขึ้น ปัญหาเหล่านี้คือที่มาของวิชาเวชศาสตร์ใต้นำ้าซึ่งจัดเป็นวิชาใหม่
เมื่อเทียบกับวิชาการแพทย์ในสาขาอื่น ทั้งนี้เนื่องจากการอยู่ใต้นำ้าหรือ
ใต้ดินยังไม่ถือเป็นเรื่องปกติสำาหรับมนุษย์ในสมัยนี้ วิชานี้จึงเป็นที่รู้จัก
และสนใจเฉพาะในกลุ่มของคนบางกลุ่มเท่านั้น เช่น นักดำานำ้า นัก
สำารวจใต้นำ้า หรือใต้ดิน คนทำางานใต้ดิน เป็นต้น หน่วยงานที่รับผิด
ชอบในการให้ความรู้ในด้านเวชศาสตร์ใต้นำ้าและดูแลสุขภาพของผู้
ปฏิบัติงานดังกล่าวจึงมีไม่มาก สำาหรับประเทศไทยมีเพียงหน่วยงาน
เดียวคือ กองเวชศาสตร์ใต้นำ้าและการบิน กรมแพทย์ทหารเรือ
ความรู้เบื้องต้นสำาหรับวิชาเวชศาสตร์ใต้นำ้า
มาตรวัด (Measurement)
อุณหภูมิ มาตรวัดอุณหภูมิในวิชาเวชศาสตร์ใต้นำ้าประกอบ
ด้วย 4 ระบบ คือ
Fahrenheit (F) มีจุดนำ้าเดือดที่ 212 และจุดเยือกแข็ง
ที่ 32
Celsius (C) มี จุ ด นำ้า เ ดื อ ด ที่ 100 แ ล ะ
จุดเยือกแข็งที่ 0
Kelvin (K) มี จุ ด นำ้า เ ดื อ ด ที่ 373 แ ล ะ
จุดเยือกแข็งที่ 273
Rankine (R) มี จุ ด นำ้า เ ดื อ ด ที่ 672 แ ล ะ
จุดเยือกแข็งที่ 492
ความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ
Kelvin ( K ) = C + 273
Rankine ( R ) = F + 460
การวัดปริมาตรของก๊าซ Standard cubic feet (scf) หมายถึง
ปริมาณของก๊าซภายใต้ความดันและอุณหภูมิที่กำาหนด เช่น 1 scf ของ
อากาศหมายถึง ปริมาณอากาศ 1 ลูกบาศก์ฟุต ที่อุณหภูมิ 60 องศา
ฟาเรนไฮท์ ที่ความดัน 14.696 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ความดัน (Pressure) หมายถึงแรงที่มากระทำาต่อหนึ่งหน่วย
พื้นที่ ในระบบอังกฤษใช้เป็นปอนด์ต่อหนึ่งตารางนิ้ว (PSI) และในระบบ
มาตรฐาน หรือ System International (SI) ใช้เป็นนิวตันต่อตาราง
เซนติเมตร (N/cm2
)
Atmospheric Pressure หมายถึงความดัน 1 บรรยากาศ
ซึ่งมีค่าเท่ากับ 14.7 psi. หรือความลึกของนำ้าทะเล 33 ฟุต (Feet in
seawater fsw.) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าทุกๆ ความลึก 33 ฟุตในนำ้าทะเล
ความดันของนำ้าจะเพิ่มขึ้น 1 บรรยากาศ
Gauge pressure หมายถึงค่าความดันที่อ่านได้จากมาตร
วัด ซึ่งเป็นค่าที่ไม่ได้รวมเอาความดันของบรรยากาศปกติด้วย
Absolute pressure หมายถึงค่าของความดันที่แท้จริงที่
กระทำาต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ Gauge pressure บวกกับ
Atmospheric pressure ตัวอย่างเช่น ที่ระดับความลึก 33 ฟุตของ
นำ้า ทะเล Gauge pressure จะเท่ากับ 1 บรรยากาศ เมื่อรวม
atmospheric pressure ซึ่งหมายถึงความดันบรรยากาศที่ระดับนำ้า
ทะเลจะได้ absolute pressure เท่ากับ 2 บรรยากาศ ในขณะที่ระดับ
ความลึก 33 ฟุตของนำ้าในทะเลสาบบนภูเขาสูง Gauge pressure
อาจวัดได้ 0.9 บรรยากาศเพราะมีความหนาแน่นน้อยกว่านำ้าทะเล และ
เมื่อรวม atmospheric pressure ซึ่งมีค่าประมาณ 0.7 บรรยากาศ
เนื่องจากอากาศเบาบางลง ค่า absolute pressure จะเท่ากับ 1.6
บรรยากาศ
โรคและอันตรายจากการดำานำ้าและการรักษา
อันตรายจากการดำานำ้าแบ่งเป็นหัวข้อตามการรักษาได้สองกลุ่มคือ
ความผิดปกติที่ไม่ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber และความ
ผิดปกติที่ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber ความผิดปกติที่ไม่
ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber1-4
1. Breathing Gas Disorders
1.1 Oxygen Deficiency (Hypoxia) มีอาการดังนี้คือ Lack
of concentration, Lack of muscle control, Inability to
perform delicate or skill-requiring tasks, Drowsiness,
Weakness, Euphoria, Loss of consciousness สาเหตุมักเกิด
จากการส่งอากาศหายใจให้นักดำานำ้าขัดข้องในกรณีที่ดำานำ้าแบบ
surface-supply ในกรณีที่นักดำานำ้าไม่สามารถโต้ตอบกับผู้ควบคุมได้
เป็นปกติ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเกิดจาก Oxygen deficiency
1.2 Carbon Monoxide Poisoning สาเหตุมักเกิดจากการ
ปนเปื้อนของอากาศที่หายใจกับท่อไอเสีย นักดำานำ้าจะมีอาการปวด
ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
1.3 Carbon Dioxide Toxicity (Hypercapnia) อาจมีการ
ขาดออกซิเจนร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ นักดำานำ้าอาจรู้สึกสับสนก่อนหมดสติ
การรักษากลุ่มอาการดังกล่าวทำาได้โดยให้หายใจด้วยออกซิเจน 100%
และยกเลิกการดำา
1.4 Oxygen Toxicity อาจเกิดได้ทั้ง Pulmonary
Oxygen Toxicity ห รือ CNS Oxygen Toxicity CNS Oxygen
Toxicity มีอาการดังนี้คือ Tunnel vision, Tinnitus, Nausea,
Vomiting, Muscle twitching, Irritability, Dizziness,
Convulsion โดยปกติการเกิด oxygen toxicity จะเกิดเมื่อนักดำานำ้า
ต้องหายใจด้วยออกซิเจนเกินกว่า 1.6 ata.ซึ่งมีค่าเท่ากับการหายใจ
ด้วยอากาศปกติในระดับความลึกประมาณ 220 ฟุต
1.5 Nitrogen Narcosis เกิดจากการหายใจเอา inert
gases ซึ่งปกติได้แก่ไนโตรเจนภายใต้ความกดดันขณะดำานำ้า ใน
บรรยากาศปกติไนโตรเจนไม่ได้ทำาปฏิกิริยาใดๆ กับร่างกาย แต่ภายใต้
ความกดดันที่เพิ่มขึ้น ไนโตรเจนจะมีผลต่อการทำางานของระบบประสาท
อาการของ Nitrogen Narcosis ได้แก่ Loss of judgement or
skill, A false feeling of well-being, Lack of concern for job
or safety, Apparent stupidity, Inappropriate laughter,
Tingling and vague numbness of lips, gums and leg การ
รักษา Nitrogen Narcosis ทำาได้โดยการลดความดันของไนโตรเจน
ซึ่งได้แก่ การลดระดับความลึกหรือเปลี่ยนก๊าซที่หายใจเป็นฮีเลี่ยม
(80% ฮีเลี่ยม 20% ออกซิเจน) แทนเมื่อมีการดำานำ้าลึก
2. Pulmonary Overinflation Syndromes (POIS)
Pulmonary Overinflation Syndromes หรือ POIS เป็นกลุ่ม
อาการที่เกิดจากการขยายตัวของก๊าซภายในปอดในขณะที่นักดำานำ้าดำา
ขึ้น ก๊าซภายในปอดจะขยายตัวจนอาจทำาให้เกิดอันตรายของปอดและ
ชีวิตได้ กลุ่มอาการนี้ประกอบด้วย
2.1 Mediastinal and Subcutaneous Emphysema เกิด
จากการขยายตัวของก๊าซทำาให้มีการฉีกขาดของเนื้อปอดเข้ามาใน
Mediastinum นักดำานำ้าจะมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ไอ เจ็บหน้าอก
เวลากลืน ร้าวไปที่คอและไหล่ เมื่อก๊าซนั้นขยายและเคลื่อนตัวจาก
Mediastinum เข้าสู่ผิวหนังบริเวณคอและไหล่ก็จะทำาให้เกิดอาการที่
เรียกว่า subcutaneous emphysema นักดำานำ้าจะเกิดอาการแน่น
บริเวณลำา คอ ไหล่ กลืนลำา บาก เสียงเปลี่ยน ในบางรายจะคลำา
crepitation ได้ชัดเจน ในกรณีที่เป็นไม่มากอาจให้การรักษาเพียง
symptomatic treatment แ ต่ ใ น ร า ย ที่ รุ น แ ร ง อ า จ ต้ อ ง ใ ช้
Hyperbaric chamber
2.2 Pneumothorax เป็นภาวะที่ก๊าซขยายตัวแล้วทำา ให้
visceral pleura มีการฉีกขาด ก๊าซที่หายใจจึงเข้าไปใน pleural
cavity นักดำานำ้าจะมีอาการเจ็บแปล๊บที่หน้าอกด้านใดด้านหนึ่ง บางครั้ง
ร้าวมาที่ไหล่ หลัง เมื่อหายใจเข้าอาการปวดจะมากขึ้น อาการเหล่านี้จะ
เป็นมากขึ้นเมื่อนักดำานำ้าดำาขึ้น เนื่องจากก๊าซในปอดขยายตัวมากขึ้น
ต า ม ค ว า ม ดั น ข อ ง นำ้า ที่ ล ด ล ง ก า ร รั ก ษ า ทำา ไ ด้ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ
Pneumothorax ทั่วไป อาจต้องพิจารณาทำา chest drain ในรายที่
เป็นมากหรือสงสัยว่าจะมีอาการของ Tension Pneumothorax
3. Barotrauma
Barotrauma หมายถึงกลุ่มอาการที่เกิดอันตรายกับร่างกายอัน
เนื่องมาจากความดันที่เพิ่มขึ้น กลุ่มอาการเหล่านี้จะมีอาการมากขึ้นเมื่อ
นักดำานำ้าดำาลง
4. Squeeze
4.1 Middle ear squeeze เป็น squeeze ที่พบได้บ่อยที่สุด
สาเหตุเกิดจากการอุดกั้นของ Eustachian tube หรือเกิดจากการ
พยายามทำา equalization ที่ไม่เหมาะสม พยาธิสภาพจะเกิดจากการ
ตึงตัวของ tympanic membrane จนอาจทำาให้มีการฉีกขาดของ
tympanic membrane ได้
4.2 External ear squeeze เกิดจากการอุดกั้นของรูหูหรือ
external ear ซึ่งอาจเกิดจากชุดที่นักดำานำ้าแต่งตัวการรู้เท่าไม่ถึง
การณ์พยายามใช้ ear plugs ในการดำานำ้าหรือนักดำานำ้ามี ear wax
มากจนอุดกั้นรูหูในขณะที่ Eustachian tube ทำางานได้เป็นปกติ
4.3 Sinus squeeze เกิดจากการอุดกั้นของ meatus ของ
sinus นั้นๆ
4.4 Lung squeeze เกิดจากการที่ก๊าซในปอดถูกอัดจนมี
ปริมาตรน้อยกว่า residual volume ซึ่งจะเกิดได้ในกรณีนักดำานำ้าดำา
นำ้าแบบ breathed diving เท่านั้น
4.5 Face mask squeeze เกิดจากการที่นักดำานำ้าไม่สามารถ
ปรับความดันในหน้ากากดำานำ้าให้เท่ากับความความดันภายนอกที่เกิด
จากความลึกของนำ้าได้ อีกปัญหาหนึ่งที่พบได้จากความรู้เท่าไม่ถึง
การณ์ของนักดำานำ้าคือการนำาเอาแว่นตาว่ายนำ้าหรือ goggles ไปใช้
ในการดำานำ้า แว่นตาว่ายนำ้าเป็นอุปกรณ์ที่ไม่สามารถปรับความดัน
ภายในได้เนื่องจากไม่ได้ครอบคลุมถึงรูจมูก เมื่อลงดำาจึงเกิด squeeze
ได้
ในการรักษา squeeze ทำาได้ด้วยการหยุดการดำาลง พยายาม
ทำา Valsava ในกรณีของ Middle ear หรือ Sinus squeeze ถ้า
อาการของ squeeze ยังไม่ดีขึ้น อาจต้องดำาขึ้นมาประมาณ 10 ฟุต
และพยายามทำา Valsava ซำ้าอีก ถ้ายังไม่ดีขึ้นอาจต้องยกเลิกการดำานำ้า
5. Gastrointestinal Distension เนื่องจากการขยายตัว
ของก๊าซ สาเหตุเกิดจากการที่นักดำานำ้ากลืนเอา ก๊าซที่หายใจเข้าไป
ขณะดำานำ้า ทำาให้มีปริมาณของก๊าซอยู่มากในกระเพาะอาหาร เมื่อนัก
ดำานำ้าดำาขึ้นก๊าซจะขยายตัวทำาให้รู้สึกแน่นท้อง
6. Ear Barotrauma Squeeze อาจทำาให้เกิด Middle
ear หรือ External ear squeeze ได้ ในกรณีที่มีความรุนแรงมากขึ้น
อาจทำาให้มีอันตรายต่ออวัยวะใกล้เคียงอื่นได้ ได้แก่ แก้วหูฉีก เมื่อเกิด
squeeze นักดำานำ้าจะมีอาการปวดหูมาก เมื่อมีแก้วหูฉีกอาการปวดจะ
หายไปในทันที ถ้านำ้าเข้าไปใน Middle ear อาจทำาให้เกิด vertigo
ได้ Inner Ear Barotrauma เกิดจากการ ฉีกข าด ข อ ง round
window หรือ oval window ซึ่งเป็น membrane กั้นระหว่าง
middle ear กับ inner ear นักดำานำ้าจะมีอาการวิงเวียน (vertigo)
hearing loss และ tinnitus
7. Disorders of Higher Function and
Consciousness
เป็นกลุ่มอาการสำาหรับนักดำานำ้าที่มีผลกระทบต่อสมอง อาจเริ่มต้น
จากมีอาการวิงเวียนจนกระทั่งถึงหมดสติได้ การยกเลิกการดำาและขึ้นสู่
ผิวนำ้าอาจทำาให้มีพยาธิสภาพมากขึ้น
8. Vertigo แบ่งออกเป็น Transient และ Persistent
vertigo
Transient vertigo จะเกิดขึ้นนานเกินไม่ 1 นาที สาเหตุที่พบ
บ่อยคือ Caloric vertigo ซึ่งเกิดจากมีนำ้าเย็นเข้าไปกระตุ้นในหูข้าง
หนึ่ง และ Alternobaric vertigo ซึ่งเกิดจากความดันในช่องหูสอง
ข้างไม่เท่ากัน ส่วน Persistent vertigo มักเป็นนานกว่า 1 นาที
สาเหตุอาจเกิดจาก inner ear barotrauma, decompression
sickness หรือ arterial gas embolism
9. Thermal stress เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ
ของนำ้ากับอุณหภูมิของนักดำานำ้า ปัญหาของ Thermal stress จึงมีได้
ทั้ง Hyperthermia และ Hypothermia
Hyperthermia อาการน้อยถึงปานกลางทำาให้เกิดปวดศีรษะ
ด้านหน้า คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลียมากกว่าปกติ ถ้าเป็นรุนแรงนักดำา
นำ้า จ ะ มี อ า ก า ร disorientation, tremors ห ม ด ส ติ ห รื อ ชั ก
Hypothermia อาการน้อยนักดำานำ้าจะมีอาการ slurred speech,
imbalance and poor judgement ในรายที่เป็นรุนแรงนักดำานำ้าจะ
มี อ า ก า ร ม า ก ขึ้ น คื อ shivering, decreased consciousness,
irregular heartbeat, shallow pulse หรือ respiration
ความผิดปกติที่ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber
1. Arterial Gas Embolism (AGE) เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่ม
Pulmonary Overinflation Syndromes เนื่องจากพยาธิสภาพเริ่ม
จากการขยายตัวของก๊าซในปอดจนทำาให้มีการฉีกขาดของถุงลม ก๊าซ
จะเข้าไปในระบบไหลเวียนโลหิตกลายเป็นฟองอากาศเรียกว่า emboli
ใน AGE สาเหตุอาจเกิดจากนักดำานำ้าพยายามกลั้นหายใจขณะดำาขึ้น
หรือนักดำานำ้ามีพยาธิสภาพที่ปอดเช่น lung abscess, lung tumor,
lung cysts เป็นต้น เมื่อนักดำานำ้าดำาขึ้น air emboli ในระบบไหล
เวียนโลหิตจะขยายตัว มีขนาดใหญ่ขึ้นจนสามารถอุดกั้นทางเดินโลหิต
ในตำาแหน่งนั้นๆ ของร่างกายได้ ตำาแหน่งที่พบบ่อยที่สุดคือระบบ
ประสาทส่วนกลาง เนื่องจากมี blood pool สูงสุดในร่างกาย
เนื่องจากพยาธิสภาพเกิดจากการอุดกั้นทางเดินโลหิตโดยฟอง
อากาศ ดังนั้นอาการและอาการแสดงจึงเป็นได้หลายลักษณะ นักดำานำ้า
อาจจะหมดสติในขณะดำาขึ้น ดังนั้นในกรณีที่นักดำานำ้าที่หายใจด้วย
compressed air (SCUBA or surface-supplied) หมดสติในระยะ
เวลาตั้งแต่ดำาขึ้นจนถึง 10 นาทีบนผิวนำ้า ให้สงสัยไว้ก่อนว่าจะเป็น
AGE นักดำานำ้าที่เมื่อดำาขึ้นแล้วมีอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง เช่น
ชา อ่อนแรง และคิดช้า ก็อาจคิดว่าเป็น AGE ได้ ข้อสังเกตของ AGE
คือ ระยะเวลาที่เกิดจะรวดเร็วมาก ถ้าเกิน 10 นาทีหลังจากดำาถึงผิวนำ้า
แล้วมีอาการมักจะไม่ใช่ AGE อาการมักเป็นรุนแรง มักเป็นอาการทาง
สมอง นักดำาที่มีอาการปวดข้อหลังดำานำ้าเสร็จมักจะไม่ใช่ AGE ความเร็ว
ของการดำาขึ้น โดยทั่วไปจะอยู่ในอัตรา 1-2 ฟุตต่อวินาที ต้องไม่เร็วไป
กว่านี้และมีการหายใจออกอย่างต่อเนื่อง นักดำานำ้าที่มีปัจจัยที่ทำาให้
ความยืดหยุ่นของปอดเสียไปเช่น สูบบุหรี่ อายุมาก มีประวัติว่าพยาธิ
สภาพที่ปอดเช่น Lung infection, Lung trauma เป็นต้น
การรักษาจึงจำาเป็นที่จะต้องใช้ Hyperbaric Chamber เพื่อเพิ่ม
ความดันให้กับนักดำานำ้าทั้งนี้ก็เพื่อให้ความดันที่เพิ่มขึ้นทำาให้ฟองอากาศ
มีขนาดเล็กลงจนสามารถผ่านในทางเดินโลหิตได้ อย่างไรก็ตามก่อนที่
จะนำานักดำานำ้าไปรักษาด้วย Hyperbaric Chamber การทำา Basic
life support ก็เป็นสิ่งจำาเป็นที่ลืมไม่ได้ การรักษาด้วย Hyperbaric
Chamber จะเริ่มต้นที่ compression ในระดับความลึก 60 ฟุต ให้
นักดำานำ้าหายใจด้วยออกซิเจน 100% ถ้าอาการดีขึ้นก็ให้รักษาตาม
U.S. Navy Diving Manual Table 6 (รูปที่ 15.1) แต่ถ้าอาการไม่ดี
ขึ้น ให้รักษาด้วย Table 6A
รูปที่ 15.1 U.S. Navy Diving Manual Table 6 and 6A
ภายหลังจากการรักษาด้วย Table 6 หรือ Table 6A แล้ว ถ้าผู้
ป่วยยังมีพยาธิสภาพหลงเหลืออยู่อาจให้การรักษาด้วย HBO (Table
9) ต่อได้อีกจนกว่าอาการจะเป็นที่น่าพอใจ
2. Decompression Sickness (DCS) เป็นโรคอีกโรคหนึ่งที่
เกิดจากการมีฟองอากาศในระบบไหลเวียนโลหิต แต่สาเหตุแตกต่าง
จาก AGE เมื่อนักดำานำ้าดำานำ้าลงไปลึกๆ และนาน ก๊าซที่หายใจจะละลาย
ในเนื้อเยื่อมากขึ้นตามกฏของ Henry ก๊าซในปริมาณที่มากจะละลาย
ในเนื้อเยื่อด้วยปริมาณที่แตกต่างกัน ในไขมันจะละลายได้ในปริมาณที่
สูงมากเมื่อเทียบกับกล้ามเนื้อ เมื่อนักดำานำ้าเลิกดำาหมายถึงความดันจะลด
ลงกลับสู่สภาวะปกติ ก๊าซที่ละลายอยู่ในเนื้อเยื่อจะค่อยๆ กลับเข้าสู่ระบบ
ไหลเวียนโลหิตและเกิดเป็นฟองอากาศขึ้นในระบบไหลเวียนโลหิต
เนื่องจากการคืนกลับของก๊าซต้องอาศัยระยะเวลา ดังนั้นอาการของ
DCS จะไม่เกิดขึ้นในทันที ระยะเวลาที่ให้นึกถึง DCS จะอยู่ในช่วงที่
กว้างมากคือ ตั้งแต่นักดำานำ้าดำาขึ้นจนถึง 12 ชั่วโมง ดังนั้นการเฝ้าระวัง
หลังจากดำานำ้าเสร็จสิ้นเป็นเรื่องที่จำาเป็นอย่างยิ่ง
อาการและอาการแสดงของ DCS แบ่งตามอาการได้เป็น
Type I Decompression Sickness (Mild type) จะ
ประกอบด้วยกลุ่มอาการดังต่อไปนี้
1. Musculoskeletal Pain-Only Symptoms เป็นกลุ่ม
อาการที่พบได้บ่อยที่สุดของ DCS อาการที่พบ
บ่อยที่สุดคือปวดข้อ ข้อที่พบบ่อยที่สุดคือ ข้อศอก ข้อมือ ข้อเข่า และข้อ
เท้า ลักษณะของอาการปวดคือนักดำาจะมาด้วยอาการปวดที่ค่อยๆ เพิ่ม
ขึ้นปวดลึกๆ บอกตำาแหน่งได้ยาก บางครั้งปวดบริเวณกล้าม เนื้อ และ
อาการจะหายดีถ้าได้นวดหรือกดลงไปในบริเวณนั้น ข้อสังเกตุที่ใช้ใน
การแยกจากอาการของข้ออักเสบคือ เมื่อมีการเคลื่อนไหวจะไม่เจ็บข้อ
มากขึ้นซึ่งต่างจากข้ออักเสบทั่วไป
2. Cutaneous (Skin) Symptoms อาการที่พบบ่อยที่สุดใน
กลุ่มนี้คืออาการคัน โดยปกติอาการคันอย่างเดียวมักจะหายเองและไม่
ต้องการการรักษาด้วย Hyperbaric Chamber อาจพบผื่นได้ซึ่งมักจะ
หายเองเช่นกันยกเว้น แต่การเกิด skin mottling or marbling
(cutis marmorata) มั ก จ ะ เ ป็ น อ า ก า ร เ ริ่ ม ต้ น ข อ ง severe
decompression sickness ซึ่ ง จำา เ ป็ น ต้ อ ง ใ ห้ ก า ร รั ก ษ า ด้ ว ย
Hyperbaric Chamber
3. Lymphatic Symptoms เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินนำ้า
เหลืองโดยฟองอากาศนักดำานำ้าจะมีอาการปวดตามตำาแหน่งที่มีการอุด
ตัน การรักษาด้วย Hyperbaric Chamber เพื่อลดความเจ็บปวดของ
นักดำานำ้าซึ่งได้ผลเป็นอย่างดี
2. Type II Decompression Sickness (Mild type) ใ น
ระยะแรกของ Type II DCS อาการจะไม่ชัดเจน นักดำานำ้าอาจรู้สึกเพียง
ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลียมากกว่าปกติเล็กน้อย นักดำานำ้าจึงมักไม่ค่อย
ใส่ใจ ต่อมาเมื่อมีอาการเดินการได้ยินหรือการขับถ่ายไม่ปกติจึงแจ้งให้
แพทย์ทราบ ใน Type II DCS จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
Neurological, Inner ear (Staggers) แ ล ะ Cardiopulmonary
(Chokes) symptoms
2.1 Neurological Symptoms เป็นกลุ่มอาการที่เกิดได้ทุก
ระดับของระบบประสาท อาการชา แขนขาอ่อนแรง หรือการขยับแขน
ขาไม่ได้ สติปัญญาเปลี่ยนไป หรือการเปลี่ยนไปของระบบสมองเช่น
ความคิด อารมณ์
2.2 Inner Ear Symptoms เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “Staggers”
นั ก ดำา นำ้า จ ะ มี อ า ก า ร Tinnitus, Hearing loss, vertigo,
dizziness, nausea, และ vomiting Inner ear decompression
sickness มักเกิดกับการดำาประเภทที่ใช้ ฮีเลี่ยมแทนไนโตรเจน
2.3 Cardiopulmonary Symptoms เ รี ย ก อี ก อ ย่ า ง ว่ า
“Chokes” เกิดจากการมีฟองอากาศในเส้นเลือดทำาให้มีอาการเจ็บ
หน้าอกซึ่งจะเป็นมากขึ้นเมื่อหายใจเข้า มีอาการไอ หอบ เมื่อตรวจ
ร่างกายจะพบลักษณะของ lung congestion ถ้ารักษาไม่ทันจะเกิด
complete circulatory collapse, loss of consciousness และ
เสียชีวิตในที่สุด
ระยะเวลาของการเกิด DCS จะพบว่าร้อยละ 42 เกิดขึ้นภายใน 1
ชั่วโมง ร้อยละ 60 เกิดขึ้นภายใน 3 ชั่วโมง ร้อยละ 83 เกิดขึ้นภายใน
8 ชั่วโมงและร้อยละ 98 เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง
การรักษา
เมื่อวินิจฉัยว่าเป็น DCS type I แล้วให้เริ่มต้นการรักษาที่ 60 ฟุต
นาน 10 นาที ถ้าอาการดีขึ้นให้รักษาด้วย U.S. Navy diving
manual Table 5 (รูปที่ 15.2) แต่ถ้าอาการไม่ดีให้รักษาด้วย Table
6 ส่วน DCS type II ให้การรักษาเช่นเดียวกับ AGE
รูปที่ 15.2 U.S. Navy diving manual Table 5
Hyperbaric Oxygen therapy
Hyperbaric Oxygen Therapy คือการรักษาโรคหรือภาวะต่างๆ
ด้วยการนำาผู้ป่วยเข้าสู่สภาพแวดล้อมที่มีความกดดันบรรยากาศมากกว่า
ปกติและให้ผู้ป่วยหายใจด้วยออกซิเจนความดันสูงเพื่อเพิ่มปริมาณ
ออกซิเจนให้กับเนื้อเยื่อ
เลือดประกอบด้วยส่วนใหญ่ๆ 2 ส่วนคือ เม็ดเลือด และนำ้าเลือด
(plasma) โดยปกติหน้าที่นำาออกซิเจนจะเป็นของเม็ดเลือดแดง ในเม็ด
เลือดแดงที่ประกอบด้วย hemoglobin ซึ่งมีหน้าที่จับออกซิเจนและนำา
ไปปล่อยให้กับเนื้อเยื่อ plasma จะไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนำา
ออกซิเจนแต่อย่างใด ถ้าเราเพิ่มความดันให้กับเลือด ตามกฏของ
Henry เราจะพบว่าปริมาณของออกซิเจนที่ละลายเพิ่มขึ้นใน plasma
เนื่องจากความดันที่เพิ่มขึ้นมีปริมาณเพียงพอที่จะทำาให้เนื้อเยื่ออุดมไป
ด้วยออกซิเจน
ต า ร า ง ที่ 15.1 แ ส ด ง ป ริ ม า ณ ข อ ง อ อ ก ซิ เ จ น ที่ จั บ กั บ
Hemoglobin และที่ละลายใน Plasma
ชนิดของก๊าซ
ที่หายใจ
ความลึก
1 ATA =
33 FSW.
ออกซิเจนใน
Hb (มล.)
ออกซิเจนใน
Plasma
อากาศ 1 ATA 19.8 0.3
อ อ ก ซิ เ จ น
100%
1 ATA
2 ATA
3 ATA
20.4
20.5
20.4
1.9
4.44
6.45
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าด้วยกรรมวิธี Hyperbaric Oxygen
Therapy ทำาให้เราสามารถใช้ plasma เป็นตัวนำา ออกซิเจน ไปยัง
เนื้อเยื่อได้อีกทางหนึ่ง
ต า ม ข้ อ บ่ ง ชี้ ข อ ง UHMS ( Undersea and Hyperbaric
Medicine Society ) 1996 ส รุ ป ไ ว้ ดั ง นี้ คื อ Air or gas
embolism, CO poisoning or smoke inhalation, Gas
gangrene, Crush injury or traumatic ischemia, Selected
problem wound, Decompression Sickness, Exceptional
blood loss, Necrotizing soft tissue infection,
Osteomyelitis, Radiation tissue damage, Skin grafts and
flaps, Thermal burns และ Intracranial abscess วิธีการรักษา
ด้วย HBO ทำาได้โดยใช้ Hyperbaric chamber รักษาโดยใช้ U.S.
Navy Diving Manual Table 9 (รูปที่ 15.3)
รูปที่ 15.3 U.S. Navy Diving Manual Table 9
เอกสารอ้างอิง
1. Naval Sea Systems Command. U.S. Navy Diving
Manual Revision 4 Change A. Direction of Commander,
Naval Sea Systems Command, 1999.
2. Undersea and Hyperbaric Medicine Society.
Available at www.uhms.org.
3. Brubakk A, Neuman T, Bennett P, Elliott D, eds.
Bennett and Elliotts' Physiology and Medicine of Diving,
5th
ed. Saunders, 2002.
U.S. Navy Diving Manual. Available at
http://www.coralspringsscuba.com/miscellaneous/
usn_manual.htm.

More Related Content

What's hot

กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009
Thorsang Chayovan
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
Taraya Srivilas
 
โครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุงโครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุงSarinya Tunrongchang
 
Drug induced liver injury
Drug induced liver injuryDrug induced liver injury
Drug induced liver injury
Utai Sukviwatsirikul
 
New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
Dong Dang
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
AuMi Pharmaza
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
สมใจ จันสุกสี
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
Chutchavarn Wongsaree
 
Drug for-int
Drug for-intDrug for-int
Drug for-int
FoungZanz Luffyz
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs used in lactation
Drugs used in lactationDrugs used in lactation
Drugs used in lactation
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010

What's hot (20)

Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
โครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุงโครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุง
 
Drug induced liver injury
Drug induced liver injuryDrug induced liver injury
Drug induced liver injury
 
New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
Drug for-int
Drug for-intDrug for-int
Drug for-int
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Drugs used in lactation
Drugs used in lactationDrugs used in lactation
Drugs used in lactation
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
Snake Bite
Snake BiteSnake Bite
Snake Bite
 

Viewers also liked

การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
Utai Sukviwatsirikul
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
songsri
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Sirinoot Jantharangkul
 
PICO exercise
PICO exercise PICO exercise
PICO exercise
IAU Dent
 
PICO question
PICO questionPICO question
PICO question
IAU Dent
 
PICO Research Question
PICO Research QuestionPICO Research Question
PICO Research Question
Notre Dame De Chartres Hospital
 

Viewers also liked (6)

การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
PICO exercise
PICO exercise PICO exercise
PICO exercise
 
PICO question
PICO questionPICO question
PICO question
 
PICO Research Question
PICO Research QuestionPICO Research Question
PICO Research Question
 

Similar to Hyperbaric oxygen therapy

โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
Krongdai Unhasuta
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Bodyyinyinyin
 
งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Narenthorn EMS Center
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1
Wichai Likitponrak
 

Similar to Hyperbaric oxygen therapy (20)

โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Body
 
งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืด
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
Sinusitis
SinusitisSinusitis
Sinusitis
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอด
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Hyperbaric oxygen therapy

  • 1. บทที่ 15 โรคและอันตรายของการดำานำ้าและการรักษา Hyperbaric Oxygen Therapy พรเอนก ตาดทอง มนุษย์เป็นนักสำารวจที่มีความทะเยอทะยานสูง ประกอบกับพื้นที่ผิว ของโลกสามในสี่เป็นนำ้า จึงทำาให้มนุษย์พยายามที่จะลงไปสำารวจในนำ้า มาตั้งแต่มีประวัติศาสตร์ของมนุษย์ขึ้นมาบนโลกนี้ อีกทั้งในภาวะ ปัจจุบันปริมาณประชากรของโลกเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง ทำาให้มนุษย์ ต้องหาแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัยใหม่เพิ่มจากบนแผ่นดินอันได้แก่ใต้นำ้า และใต้ดิน แต่ร่างกายของมนุษย์ไม่ได้ถูกสร้างให้ใช้ชีวิตภายใต้ความ กดดันอันเกิดจากการอยู่ใต้นำ้าหรือใต้ดิน ปัญหาในร่างกายมนุษย์จึงเกิด ขึ้น ปัญหาเหล่านี้คือที่มาของวิชาเวชศาสตร์ใต้นำ้าซึ่งจัดเป็นวิชาใหม่ เมื่อเทียบกับวิชาการแพทย์ในสาขาอื่น ทั้งนี้เนื่องจากการอยู่ใต้นำ้าหรือ ใต้ดินยังไม่ถือเป็นเรื่องปกติสำาหรับมนุษย์ในสมัยนี้ วิชานี้จึงเป็นที่รู้จัก และสนใจเฉพาะในกลุ่มของคนบางกลุ่มเท่านั้น เช่น นักดำานำ้า นัก สำารวจใต้นำ้า หรือใต้ดิน คนทำางานใต้ดิน เป็นต้น หน่วยงานที่รับผิด ชอบในการให้ความรู้ในด้านเวชศาสตร์ใต้นำ้าและดูแลสุขภาพของผู้ ปฏิบัติงานดังกล่าวจึงมีไม่มาก สำาหรับประเทศไทยมีเพียงหน่วยงาน เดียวคือ กองเวชศาสตร์ใต้นำ้าและการบิน กรมแพทย์ทหารเรือ ความรู้เบื้องต้นสำาหรับวิชาเวชศาสตร์ใต้นำ้า มาตรวัด (Measurement) อุณหภูมิ มาตรวัดอุณหภูมิในวิชาเวชศาสตร์ใต้นำ้าประกอบ ด้วย 4 ระบบ คือ Fahrenheit (F) มีจุดนำ้าเดือดที่ 212 และจุดเยือกแข็ง ที่ 32 Celsius (C) มี จุ ด นำ้า เ ดื อ ด ที่ 100 แ ล ะ จุดเยือกแข็งที่ 0 Kelvin (K) มี จุ ด นำ้า เ ดื อ ด ที่ 373 แ ล ะ จุดเยือกแข็งที่ 273 Rankine (R) มี จุ ด นำ้า เ ดื อ ด ที่ 672 แ ล ะ จุดเยือกแข็งที่ 492 ความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ Kelvin ( K ) = C + 273 Rankine ( R ) = F + 460
  • 2. การวัดปริมาตรของก๊าซ Standard cubic feet (scf) หมายถึง ปริมาณของก๊าซภายใต้ความดันและอุณหภูมิที่กำาหนด เช่น 1 scf ของ อากาศหมายถึง ปริมาณอากาศ 1 ลูกบาศก์ฟุต ที่อุณหภูมิ 60 องศา ฟาเรนไฮท์ ที่ความดัน 14.696 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ความดัน (Pressure) หมายถึงแรงที่มากระทำาต่อหนึ่งหน่วย พื้นที่ ในระบบอังกฤษใช้เป็นปอนด์ต่อหนึ่งตารางนิ้ว (PSI) และในระบบ มาตรฐาน หรือ System International (SI) ใช้เป็นนิวตันต่อตาราง เซนติเมตร (N/cm2 ) Atmospheric Pressure หมายถึงความดัน 1 บรรยากาศ ซึ่งมีค่าเท่ากับ 14.7 psi. หรือความลึกของนำ้าทะเล 33 ฟุต (Feet in seawater fsw.) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าทุกๆ ความลึก 33 ฟุตในนำ้าทะเล ความดันของนำ้าจะเพิ่มขึ้น 1 บรรยากาศ Gauge pressure หมายถึงค่าความดันที่อ่านได้จากมาตร วัด ซึ่งเป็นค่าที่ไม่ได้รวมเอาความดันของบรรยากาศปกติด้วย Absolute pressure หมายถึงค่าของความดันที่แท้จริงที่ กระทำาต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ Gauge pressure บวกกับ Atmospheric pressure ตัวอย่างเช่น ที่ระดับความลึก 33 ฟุตของ นำ้า ทะเล Gauge pressure จะเท่ากับ 1 บรรยากาศ เมื่อรวม atmospheric pressure ซึ่งหมายถึงความดันบรรยากาศที่ระดับนำ้า ทะเลจะได้ absolute pressure เท่ากับ 2 บรรยากาศ ในขณะที่ระดับ ความลึก 33 ฟุตของนำ้าในทะเลสาบบนภูเขาสูง Gauge pressure อาจวัดได้ 0.9 บรรยากาศเพราะมีความหนาแน่นน้อยกว่านำ้าทะเล และ เมื่อรวม atmospheric pressure ซึ่งมีค่าประมาณ 0.7 บรรยากาศ เนื่องจากอากาศเบาบางลง ค่า absolute pressure จะเท่ากับ 1.6 บรรยากาศ โรคและอันตรายจากการดำานำ้าและการรักษา อันตรายจากการดำานำ้าแบ่งเป็นหัวข้อตามการรักษาได้สองกลุ่มคือ ความผิดปกติที่ไม่ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber และความ ผิดปกติที่ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber ความผิดปกติที่ไม่ ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber1-4 1. Breathing Gas Disorders 1.1 Oxygen Deficiency (Hypoxia) มีอาการดังนี้คือ Lack of concentration, Lack of muscle control, Inability to perform delicate or skill-requiring tasks, Drowsiness, Weakness, Euphoria, Loss of consciousness สาเหตุมักเกิด จากการส่งอากาศหายใจให้นักดำานำ้าขัดข้องในกรณีที่ดำานำ้าแบบ
  • 3. surface-supply ในกรณีที่นักดำานำ้าไม่สามารถโต้ตอบกับผู้ควบคุมได้ เป็นปกติ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเกิดจาก Oxygen deficiency 1.2 Carbon Monoxide Poisoning สาเหตุมักเกิดจากการ ปนเปื้อนของอากาศที่หายใจกับท่อไอเสีย นักดำานำ้าจะมีอาการปวด ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน 1.3 Carbon Dioxide Toxicity (Hypercapnia) อาจมีการ ขาดออกซิเจนร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ นักดำานำ้าอาจรู้สึกสับสนก่อนหมดสติ การรักษากลุ่มอาการดังกล่าวทำาได้โดยให้หายใจด้วยออกซิเจน 100% และยกเลิกการดำา 1.4 Oxygen Toxicity อาจเกิดได้ทั้ง Pulmonary Oxygen Toxicity ห รือ CNS Oxygen Toxicity CNS Oxygen Toxicity มีอาการดังนี้คือ Tunnel vision, Tinnitus, Nausea, Vomiting, Muscle twitching, Irritability, Dizziness, Convulsion โดยปกติการเกิด oxygen toxicity จะเกิดเมื่อนักดำานำ้า ต้องหายใจด้วยออกซิเจนเกินกว่า 1.6 ata.ซึ่งมีค่าเท่ากับการหายใจ ด้วยอากาศปกติในระดับความลึกประมาณ 220 ฟุต 1.5 Nitrogen Narcosis เกิดจากการหายใจเอา inert gases ซึ่งปกติได้แก่ไนโตรเจนภายใต้ความกดดันขณะดำานำ้า ใน บรรยากาศปกติไนโตรเจนไม่ได้ทำาปฏิกิริยาใดๆ กับร่างกาย แต่ภายใต้ ความกดดันที่เพิ่มขึ้น ไนโตรเจนจะมีผลต่อการทำางานของระบบประสาท อาการของ Nitrogen Narcosis ได้แก่ Loss of judgement or skill, A false feeling of well-being, Lack of concern for job or safety, Apparent stupidity, Inappropriate laughter, Tingling and vague numbness of lips, gums and leg การ รักษา Nitrogen Narcosis ทำาได้โดยการลดความดันของไนโตรเจน ซึ่งได้แก่ การลดระดับความลึกหรือเปลี่ยนก๊าซที่หายใจเป็นฮีเลี่ยม (80% ฮีเลี่ยม 20% ออกซิเจน) แทนเมื่อมีการดำานำ้าลึก 2. Pulmonary Overinflation Syndromes (POIS) Pulmonary Overinflation Syndromes หรือ POIS เป็นกลุ่ม อาการที่เกิดจากการขยายตัวของก๊าซภายในปอดในขณะที่นักดำานำ้าดำา ขึ้น ก๊าซภายในปอดจะขยายตัวจนอาจทำาให้เกิดอันตรายของปอดและ ชีวิตได้ กลุ่มอาการนี้ประกอบด้วย 2.1 Mediastinal and Subcutaneous Emphysema เกิด จากการขยายตัวของก๊าซทำาให้มีการฉีกขาดของเนื้อปอดเข้ามาใน Mediastinum นักดำานำ้าจะมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ไอ เจ็บหน้าอก เวลากลืน ร้าวไปที่คอและไหล่ เมื่อก๊าซนั้นขยายและเคลื่อนตัวจาก Mediastinum เข้าสู่ผิวหนังบริเวณคอและไหล่ก็จะทำาให้เกิดอาการที่
  • 4. เรียกว่า subcutaneous emphysema นักดำานำ้าจะเกิดอาการแน่น บริเวณลำา คอ ไหล่ กลืนลำา บาก เสียงเปลี่ยน ในบางรายจะคลำา crepitation ได้ชัดเจน ในกรณีที่เป็นไม่มากอาจให้การรักษาเพียง symptomatic treatment แ ต่ ใ น ร า ย ที่ รุ น แ ร ง อ า จ ต้ อ ง ใ ช้ Hyperbaric chamber 2.2 Pneumothorax เป็นภาวะที่ก๊าซขยายตัวแล้วทำา ให้ visceral pleura มีการฉีกขาด ก๊าซที่หายใจจึงเข้าไปใน pleural cavity นักดำานำ้าจะมีอาการเจ็บแปล๊บที่หน้าอกด้านใดด้านหนึ่ง บางครั้ง ร้าวมาที่ไหล่ หลัง เมื่อหายใจเข้าอาการปวดจะมากขึ้น อาการเหล่านี้จะ เป็นมากขึ้นเมื่อนักดำานำ้าดำาขึ้น เนื่องจากก๊าซในปอดขยายตัวมากขึ้น ต า ม ค ว า ม ดั น ข อ ง นำ้า ที่ ล ด ล ง ก า ร รั ก ษ า ทำา ไ ด้ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ Pneumothorax ทั่วไป อาจต้องพิจารณาทำา chest drain ในรายที่ เป็นมากหรือสงสัยว่าจะมีอาการของ Tension Pneumothorax 3. Barotrauma Barotrauma หมายถึงกลุ่มอาการที่เกิดอันตรายกับร่างกายอัน เนื่องมาจากความดันที่เพิ่มขึ้น กลุ่มอาการเหล่านี้จะมีอาการมากขึ้นเมื่อ นักดำานำ้าดำาลง 4. Squeeze 4.1 Middle ear squeeze เป็น squeeze ที่พบได้บ่อยที่สุด สาเหตุเกิดจากการอุดกั้นของ Eustachian tube หรือเกิดจากการ พยายามทำา equalization ที่ไม่เหมาะสม พยาธิสภาพจะเกิดจากการ ตึงตัวของ tympanic membrane จนอาจทำาให้มีการฉีกขาดของ tympanic membrane ได้ 4.2 External ear squeeze เกิดจากการอุดกั้นของรูหูหรือ external ear ซึ่งอาจเกิดจากชุดที่นักดำานำ้าแต่งตัวการรู้เท่าไม่ถึง การณ์พยายามใช้ ear plugs ในการดำานำ้าหรือนักดำานำ้ามี ear wax มากจนอุดกั้นรูหูในขณะที่ Eustachian tube ทำางานได้เป็นปกติ 4.3 Sinus squeeze เกิดจากการอุดกั้นของ meatus ของ sinus นั้นๆ 4.4 Lung squeeze เกิดจากการที่ก๊าซในปอดถูกอัดจนมี ปริมาตรน้อยกว่า residual volume ซึ่งจะเกิดได้ในกรณีนักดำานำ้าดำา นำ้าแบบ breathed diving เท่านั้น 4.5 Face mask squeeze เกิดจากการที่นักดำานำ้าไม่สามารถ ปรับความดันในหน้ากากดำานำ้าให้เท่ากับความความดันภายนอกที่เกิด จากความลึกของนำ้าได้ อีกปัญหาหนึ่งที่พบได้จากความรู้เท่าไม่ถึง การณ์ของนักดำานำ้าคือการนำาเอาแว่นตาว่ายนำ้าหรือ goggles ไปใช้ ในการดำานำ้า แว่นตาว่ายนำ้าเป็นอุปกรณ์ที่ไม่สามารถปรับความดัน
  • 5. ภายในได้เนื่องจากไม่ได้ครอบคลุมถึงรูจมูก เมื่อลงดำาจึงเกิด squeeze ได้ ในการรักษา squeeze ทำาได้ด้วยการหยุดการดำาลง พยายาม ทำา Valsava ในกรณีของ Middle ear หรือ Sinus squeeze ถ้า อาการของ squeeze ยังไม่ดีขึ้น อาจต้องดำาขึ้นมาประมาณ 10 ฟุต และพยายามทำา Valsava ซำ้าอีก ถ้ายังไม่ดีขึ้นอาจต้องยกเลิกการดำานำ้า 5. Gastrointestinal Distension เนื่องจากการขยายตัว ของก๊าซ สาเหตุเกิดจากการที่นักดำานำ้ากลืนเอา ก๊าซที่หายใจเข้าไป ขณะดำานำ้า ทำาให้มีปริมาณของก๊าซอยู่มากในกระเพาะอาหาร เมื่อนัก ดำานำ้าดำาขึ้นก๊าซจะขยายตัวทำาให้รู้สึกแน่นท้อง 6. Ear Barotrauma Squeeze อาจทำาให้เกิด Middle ear หรือ External ear squeeze ได้ ในกรณีที่มีความรุนแรงมากขึ้น อาจทำาให้มีอันตรายต่ออวัยวะใกล้เคียงอื่นได้ ได้แก่ แก้วหูฉีก เมื่อเกิด squeeze นักดำานำ้าจะมีอาการปวดหูมาก เมื่อมีแก้วหูฉีกอาการปวดจะ หายไปในทันที ถ้านำ้าเข้าไปใน Middle ear อาจทำาให้เกิด vertigo ได้ Inner Ear Barotrauma เกิดจากการ ฉีกข าด ข อ ง round window หรือ oval window ซึ่งเป็น membrane กั้นระหว่าง middle ear กับ inner ear นักดำานำ้าจะมีอาการวิงเวียน (vertigo) hearing loss และ tinnitus 7. Disorders of Higher Function and Consciousness เป็นกลุ่มอาการสำาหรับนักดำานำ้าที่มีผลกระทบต่อสมอง อาจเริ่มต้น จากมีอาการวิงเวียนจนกระทั่งถึงหมดสติได้ การยกเลิกการดำาและขึ้นสู่ ผิวนำ้าอาจทำาให้มีพยาธิสภาพมากขึ้น 8. Vertigo แบ่งออกเป็น Transient และ Persistent vertigo Transient vertigo จะเกิดขึ้นนานเกินไม่ 1 นาที สาเหตุที่พบ บ่อยคือ Caloric vertigo ซึ่งเกิดจากมีนำ้าเย็นเข้าไปกระตุ้นในหูข้าง หนึ่ง และ Alternobaric vertigo ซึ่งเกิดจากความดันในช่องหูสอง ข้างไม่เท่ากัน ส่วน Persistent vertigo มักเป็นนานกว่า 1 นาที สาเหตุอาจเกิดจาก inner ear barotrauma, decompression sickness หรือ arterial gas embolism 9. Thermal stress เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ของนำ้ากับอุณหภูมิของนักดำานำ้า ปัญหาของ Thermal stress จึงมีได้ ทั้ง Hyperthermia และ Hypothermia Hyperthermia อาการน้อยถึงปานกลางทำาให้เกิดปวดศีรษะ ด้านหน้า คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลียมากกว่าปกติ ถ้าเป็นรุนแรงนักดำา
  • 6. นำ้า จ ะ มี อ า ก า ร disorientation, tremors ห ม ด ส ติ ห รื อ ชั ก Hypothermia อาการน้อยนักดำานำ้าจะมีอาการ slurred speech, imbalance and poor judgement ในรายที่เป็นรุนแรงนักดำานำ้าจะ มี อ า ก า ร ม า ก ขึ้ น คื อ shivering, decreased consciousness, irregular heartbeat, shallow pulse หรือ respiration ความผิดปกติที่ต้องรักษาด้วย Hyperbaric Chamber 1. Arterial Gas Embolism (AGE) เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่ม Pulmonary Overinflation Syndromes เนื่องจากพยาธิสภาพเริ่ม จากการขยายตัวของก๊าซในปอดจนทำาให้มีการฉีกขาดของถุงลม ก๊าซ จะเข้าไปในระบบไหลเวียนโลหิตกลายเป็นฟองอากาศเรียกว่า emboli ใน AGE สาเหตุอาจเกิดจากนักดำานำ้าพยายามกลั้นหายใจขณะดำาขึ้น หรือนักดำานำ้ามีพยาธิสภาพที่ปอดเช่น lung abscess, lung tumor, lung cysts เป็นต้น เมื่อนักดำานำ้าดำาขึ้น air emboli ในระบบไหล เวียนโลหิตจะขยายตัว มีขนาดใหญ่ขึ้นจนสามารถอุดกั้นทางเดินโลหิต ในตำาแหน่งนั้นๆ ของร่างกายได้ ตำาแหน่งที่พบบ่อยที่สุดคือระบบ ประสาทส่วนกลาง เนื่องจากมี blood pool สูงสุดในร่างกาย เนื่องจากพยาธิสภาพเกิดจากการอุดกั้นทางเดินโลหิตโดยฟอง อากาศ ดังนั้นอาการและอาการแสดงจึงเป็นได้หลายลักษณะ นักดำานำ้า อาจจะหมดสติในขณะดำาขึ้น ดังนั้นในกรณีที่นักดำานำ้าที่หายใจด้วย compressed air (SCUBA or surface-supplied) หมดสติในระยะ เวลาตั้งแต่ดำาขึ้นจนถึง 10 นาทีบนผิวนำ้า ให้สงสัยไว้ก่อนว่าจะเป็น AGE นักดำานำ้าที่เมื่อดำาขึ้นแล้วมีอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ชา อ่อนแรง และคิดช้า ก็อาจคิดว่าเป็น AGE ได้ ข้อสังเกตของ AGE คือ ระยะเวลาที่เกิดจะรวดเร็วมาก ถ้าเกิน 10 นาทีหลังจากดำาถึงผิวนำ้า แล้วมีอาการมักจะไม่ใช่ AGE อาการมักเป็นรุนแรง มักเป็นอาการทาง สมอง นักดำาที่มีอาการปวดข้อหลังดำานำ้าเสร็จมักจะไม่ใช่ AGE ความเร็ว ของการดำาขึ้น โดยทั่วไปจะอยู่ในอัตรา 1-2 ฟุตต่อวินาที ต้องไม่เร็วไป กว่านี้และมีการหายใจออกอย่างต่อเนื่อง นักดำานำ้าที่มีปัจจัยที่ทำาให้ ความยืดหยุ่นของปอดเสียไปเช่น สูบบุหรี่ อายุมาก มีประวัติว่าพยาธิ สภาพที่ปอดเช่น Lung infection, Lung trauma เป็นต้น
  • 7. การรักษาจึงจำาเป็นที่จะต้องใช้ Hyperbaric Chamber เพื่อเพิ่ม ความดันให้กับนักดำานำ้าทั้งนี้ก็เพื่อให้ความดันที่เพิ่มขึ้นทำาให้ฟองอากาศ มีขนาดเล็กลงจนสามารถผ่านในทางเดินโลหิตได้ อย่างไรก็ตามก่อนที่ จะนำานักดำานำ้าไปรักษาด้วย Hyperbaric Chamber การทำา Basic life support ก็เป็นสิ่งจำาเป็นที่ลืมไม่ได้ การรักษาด้วย Hyperbaric Chamber จะเริ่มต้นที่ compression ในระดับความลึก 60 ฟุต ให้ นักดำานำ้าหายใจด้วยออกซิเจน 100% ถ้าอาการดีขึ้นก็ให้รักษาตาม U.S. Navy Diving Manual Table 6 (รูปที่ 15.1) แต่ถ้าอาการไม่ดี ขึ้น ให้รักษาด้วย Table 6A รูปที่ 15.1 U.S. Navy Diving Manual Table 6 and 6A ภายหลังจากการรักษาด้วย Table 6 หรือ Table 6A แล้ว ถ้าผู้ ป่วยยังมีพยาธิสภาพหลงเหลืออยู่อาจให้การรักษาด้วย HBO (Table 9) ต่อได้อีกจนกว่าอาการจะเป็นที่น่าพอใจ 2. Decompression Sickness (DCS) เป็นโรคอีกโรคหนึ่งที่ เกิดจากการมีฟองอากาศในระบบไหลเวียนโลหิต แต่สาเหตุแตกต่าง จาก AGE เมื่อนักดำานำ้าดำานำ้าลงไปลึกๆ และนาน ก๊าซที่หายใจจะละลาย ในเนื้อเยื่อมากขึ้นตามกฏของ Henry ก๊าซในปริมาณที่มากจะละลาย ในเนื้อเยื่อด้วยปริมาณที่แตกต่างกัน ในไขมันจะละลายได้ในปริมาณที่ สูงมากเมื่อเทียบกับกล้ามเนื้อ เมื่อนักดำานำ้าเลิกดำาหมายถึงความดันจะลด ลงกลับสู่สภาวะปกติ ก๊าซที่ละลายอยู่ในเนื้อเยื่อจะค่อยๆ กลับเข้าสู่ระบบ ไหลเวียนโลหิตและเกิดเป็นฟองอากาศขึ้นในระบบไหลเวียนโลหิต เนื่องจากการคืนกลับของก๊าซต้องอาศัยระยะเวลา ดังนั้นอาการของ DCS จะไม่เกิดขึ้นในทันที ระยะเวลาที่ให้นึกถึง DCS จะอยู่ในช่วงที่ กว้างมากคือ ตั้งแต่นักดำานำ้าดำาขึ้นจนถึง 12 ชั่วโมง ดังนั้นการเฝ้าระวัง หลังจากดำานำ้าเสร็จสิ้นเป็นเรื่องที่จำาเป็นอย่างยิ่ง อาการและอาการแสดงของ DCS แบ่งตามอาการได้เป็น Type I Decompression Sickness (Mild type) จะ ประกอบด้วยกลุ่มอาการดังต่อไปนี้
  • 8. 1. Musculoskeletal Pain-Only Symptoms เป็นกลุ่ม อาการที่พบได้บ่อยที่สุดของ DCS อาการที่พบ บ่อยที่สุดคือปวดข้อ ข้อที่พบบ่อยที่สุดคือ ข้อศอก ข้อมือ ข้อเข่า และข้อ เท้า ลักษณะของอาการปวดคือนักดำาจะมาด้วยอาการปวดที่ค่อยๆ เพิ่ม ขึ้นปวดลึกๆ บอกตำาแหน่งได้ยาก บางครั้งปวดบริเวณกล้าม เนื้อ และ อาการจะหายดีถ้าได้นวดหรือกดลงไปในบริเวณนั้น ข้อสังเกตุที่ใช้ใน การแยกจากอาการของข้ออักเสบคือ เมื่อมีการเคลื่อนไหวจะไม่เจ็บข้อ มากขึ้นซึ่งต่างจากข้ออักเสบทั่วไป 2. Cutaneous (Skin) Symptoms อาการที่พบบ่อยที่สุดใน กลุ่มนี้คืออาการคัน โดยปกติอาการคันอย่างเดียวมักจะหายเองและไม่ ต้องการการรักษาด้วย Hyperbaric Chamber อาจพบผื่นได้ซึ่งมักจะ หายเองเช่นกันยกเว้น แต่การเกิด skin mottling or marbling (cutis marmorata) มั ก จ ะ เ ป็ น อ า ก า ร เ ริ่ ม ต้ น ข อ ง severe decompression sickness ซึ่ ง จำา เ ป็ น ต้ อ ง ใ ห้ ก า ร รั ก ษ า ด้ ว ย Hyperbaric Chamber 3. Lymphatic Symptoms เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินนำ้า เหลืองโดยฟองอากาศนักดำานำ้าจะมีอาการปวดตามตำาแหน่งที่มีการอุด ตัน การรักษาด้วย Hyperbaric Chamber เพื่อลดความเจ็บปวดของ นักดำานำ้าซึ่งได้ผลเป็นอย่างดี 2. Type II Decompression Sickness (Mild type) ใ น ระยะแรกของ Type II DCS อาการจะไม่ชัดเจน นักดำานำ้าอาจรู้สึกเพียง ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลียมากกว่าปกติเล็กน้อย นักดำานำ้าจึงมักไม่ค่อย ใส่ใจ ต่อมาเมื่อมีอาการเดินการได้ยินหรือการขับถ่ายไม่ปกติจึงแจ้งให้ แพทย์ทราบ ใน Type II DCS จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ Neurological, Inner ear (Staggers) แ ล ะ Cardiopulmonary (Chokes) symptoms 2.1 Neurological Symptoms เป็นกลุ่มอาการที่เกิดได้ทุก ระดับของระบบประสาท อาการชา แขนขาอ่อนแรง หรือการขยับแขน ขาไม่ได้ สติปัญญาเปลี่ยนไป หรือการเปลี่ยนไปของระบบสมองเช่น ความคิด อารมณ์ 2.2 Inner Ear Symptoms เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “Staggers” นั ก ดำา นำ้า จ ะ มี อ า ก า ร Tinnitus, Hearing loss, vertigo, dizziness, nausea, และ vomiting Inner ear decompression sickness มักเกิดกับการดำาประเภทที่ใช้ ฮีเลี่ยมแทนไนโตรเจน 2.3 Cardiopulmonary Symptoms เ รี ย ก อี ก อ ย่ า ง ว่ า “Chokes” เกิดจากการมีฟองอากาศในเส้นเลือดทำาให้มีอาการเจ็บ หน้าอกซึ่งจะเป็นมากขึ้นเมื่อหายใจเข้า มีอาการไอ หอบ เมื่อตรวจ
  • 9. ร่างกายจะพบลักษณะของ lung congestion ถ้ารักษาไม่ทันจะเกิด complete circulatory collapse, loss of consciousness และ เสียชีวิตในที่สุด ระยะเวลาของการเกิด DCS จะพบว่าร้อยละ 42 เกิดขึ้นภายใน 1 ชั่วโมง ร้อยละ 60 เกิดขึ้นภายใน 3 ชั่วโมง ร้อยละ 83 เกิดขึ้นภายใน 8 ชั่วโมงและร้อยละ 98 เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง การรักษา เมื่อวินิจฉัยว่าเป็น DCS type I แล้วให้เริ่มต้นการรักษาที่ 60 ฟุต นาน 10 นาที ถ้าอาการดีขึ้นให้รักษาด้วย U.S. Navy diving manual Table 5 (รูปที่ 15.2) แต่ถ้าอาการไม่ดีให้รักษาด้วย Table 6 ส่วน DCS type II ให้การรักษาเช่นเดียวกับ AGE รูปที่ 15.2 U.S. Navy diving manual Table 5 Hyperbaric Oxygen therapy Hyperbaric Oxygen Therapy คือการรักษาโรคหรือภาวะต่างๆ ด้วยการนำาผู้ป่วยเข้าสู่สภาพแวดล้อมที่มีความกดดันบรรยากาศมากกว่า
  • 10. ปกติและให้ผู้ป่วยหายใจด้วยออกซิเจนความดันสูงเพื่อเพิ่มปริมาณ ออกซิเจนให้กับเนื้อเยื่อ เลือดประกอบด้วยส่วนใหญ่ๆ 2 ส่วนคือ เม็ดเลือด และนำ้าเลือด (plasma) โดยปกติหน้าที่นำาออกซิเจนจะเป็นของเม็ดเลือดแดง ในเม็ด เลือดแดงที่ประกอบด้วย hemoglobin ซึ่งมีหน้าที่จับออกซิเจนและนำา ไปปล่อยให้กับเนื้อเยื่อ plasma จะไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนำา ออกซิเจนแต่อย่างใด ถ้าเราเพิ่มความดันให้กับเลือด ตามกฏของ Henry เราจะพบว่าปริมาณของออกซิเจนที่ละลายเพิ่มขึ้นใน plasma เนื่องจากความดันที่เพิ่มขึ้นมีปริมาณเพียงพอที่จะทำาให้เนื้อเยื่ออุดมไป ด้วยออกซิเจน ต า ร า ง ที่ 15.1 แ ส ด ง ป ริ ม า ณ ข อ ง อ อ ก ซิ เ จ น ที่ จั บ กั บ Hemoglobin และที่ละลายใน Plasma ชนิดของก๊าซ ที่หายใจ ความลึก 1 ATA = 33 FSW. ออกซิเจนใน Hb (มล.) ออกซิเจนใน Plasma อากาศ 1 ATA 19.8 0.3 อ อ ก ซิ เ จ น 100% 1 ATA 2 ATA 3 ATA 20.4 20.5 20.4 1.9 4.44 6.45 ดังนั้นจะเห็นได้ว่าด้วยกรรมวิธี Hyperbaric Oxygen Therapy ทำาให้เราสามารถใช้ plasma เป็นตัวนำา ออกซิเจน ไปยัง เนื้อเยื่อได้อีกทางหนึ่ง ต า ม ข้ อ บ่ ง ชี้ ข อ ง UHMS ( Undersea and Hyperbaric Medicine Society ) 1996 ส รุ ป ไ ว้ ดั ง นี้ คื อ Air or gas
  • 11. embolism, CO poisoning or smoke inhalation, Gas gangrene, Crush injury or traumatic ischemia, Selected problem wound, Decompression Sickness, Exceptional blood loss, Necrotizing soft tissue infection, Osteomyelitis, Radiation tissue damage, Skin grafts and flaps, Thermal burns และ Intracranial abscess วิธีการรักษา ด้วย HBO ทำาได้โดยใช้ Hyperbaric chamber รักษาโดยใช้ U.S. Navy Diving Manual Table 9 (รูปที่ 15.3) รูปที่ 15.3 U.S. Navy Diving Manual Table 9 เอกสารอ้างอิง 1. Naval Sea Systems Command. U.S. Navy Diving Manual Revision 4 Change A. Direction of Commander, Naval Sea Systems Command, 1999. 2. Undersea and Hyperbaric Medicine Society. Available at www.uhms.org. 3. Brubakk A, Neuman T, Bennett P, Elliott D, eds. Bennett and Elliotts' Physiology and Medicine of Diving, 5th ed. Saunders, 2002. U.S. Navy Diving Manual. Available at http://www.coralspringsscuba.com/miscellaneous/ usn_manual.htm.