SlideShare a Scribd company logo
1
คําแนะนําการใช้บทเรียนสําเร็จรูปแบบเส้นตรง
ให้นักเรียนศึกษาคําแนะนําการใช้บทเรียนสําเร็จรูปให้เข้าใจ ปฏิบัติตามขั้นตอน
ต่อไปนี้
1. ทําความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้ของบทเรียนสําเร็จรูปให้เข้าใจ
2. ทําแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียน
3. ศึกษาเนื้อหาของบทเรียนสําเร็จรูปทีละกรอบ ไม่ควรรีบร้อนเกินไป และไม่ให้
ข้ามกรอบ
4. เมื่อเข้าใจเนื้อหาของบทเรียนในแต่ละกรอบแล้ว ให้ทําแบบฝึกหัดในแต่ละ
กรอบโดยเขียนคําตอบในกระดาษคําตอบที่แจกให้
5. ดูเฉลยคําตอบในแต่ละกรอบ ซึ่งจะปรากฏในกรอบถัดไป ว่านักเรียนตอบถูก
หรือไม่ ไม่ควรดูเฉลยคําตอบก่อน
6. ถ้านักเรียนตอบถูกให้เรียนในกรอบถัดไป แต่ถ้านักเรียนตอบผิดให้นักเรียน
ศึกษาทําความเข้าใจใหม่ จนกระทั่งเข้าใจและตอบถูกจึงเรียนในกรอบถัดไป
7. เมื่ออ่านบทเรียนสําเร็จรูปแล้ว ให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน
8. ตรวจคําตอบด้วยตัวเอง ถ้าพบว่านักเรียนถูกไม่ถึง 7 ใน 10 ข้อ ให้ศึกษา
บทเรียนสําเร็จรูปนั้น แล้วทําการทดสอบอีกครั้ง จนผ่านเกณฑ์
รับทราบข้อตกลงแล้วนะครับ
2
สาระสําคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช
ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
....................................................................
สาระสําคัญ
การจําแนกสิ่งมีชีวิตสามารถใช้ลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตเป็นเกณฑ์ใน
การจําแนก สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว
จะมีหน้าที่การทํางานที่คล้ายคลึงกัน
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเป็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว
สามารถทําหน้าที่เป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตอยู่ได้
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อน จะประกอบด้วยเซลล์
หลายเซลล์มารวมกลุ่มกันเป็นอวัยวะ มีหน้าที่เฉพาะ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้
2. อธิบายลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้
3. เปรียบเทียบลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลาย
เซลล์ได้
อย่าลืมทําแบบทดสอบ
ก่อนเรียนนะครับ
3
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
คําชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
รวม 10 คะแนน เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนทําทุกข้อ เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกากบาท ลง
ในกระดาษคําตอบที่แจกให้ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน
..................................................................................
1. เซลล์หลายๆ เซลล์ ทํางานร่วมกัน คือข้อใด
ก. เนื้อเยื่อ
ข. อวัยวะ
ค. สัตว์
ง. พืช
2. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างเป็น 2 ฝาประกบกันพอดี ค◌ือข้อใด
ก. อะมีบา
ข. ยูกลีนา
ค. ไดอะตอม
ง. คลอเรลลา
3. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ก. มีโครงสร้างสลับซับซ้อน
ข. ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์
ค. มีลักษณะรูปร่างที่คล้ายกันทุกเซลล์
ง. เซลล์แต่ละเซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน
4
4. ข้อใดจัดเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ก. แบคทีเรีย
ข. โพรโตซัว
ค. พารามีเซียม
ง. เซลล์กล้ามเนื้อ
5. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
ก. อะมีบา และยูกลีนา
ข. แบคทีเรีย และโพรโตซัว
ค. ยูกลีนา และโพรโตซัว
ง. อะมีบา และแบคทีเรีย
6. จากข้อ 5 เราสามารถใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภทของเซลล์
ก. ที่อยู่อาศัย
ข. ลักษณะและสี
ค. นับจํานวนเซลล์
ง. มีและไม่มีนิวเคลียส
7. ข้อใด หมายถึง ระบบอวัยวะ ของสัตว์
ก. ระบบหายใจ
ข. ระบบคายนํ้า
ค. ระบบท่อลําเลียง
ง. ระบบสังเคราะห์ด้วยแสง
8. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะอย่างไร
ก. มีโครงสร้างซับซ้อน
ข. เซลล์ทํางานประสานกัน
ค. เซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน
ง. มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันทุกเซลล์
5
9. โพรโตซัว ในข้อใดที่จัดเป็นพวกที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่
ก. อะมีบา
ข. ยูกลีนา
ค. ไดอะตอม
ง. พารามีเซียม
10. การที่เซลล์ทํางานร่วมกันเป็นระบบมีผลดีต่อร่างกายของมนุษย์อย่างไร
ก. เจริญเติบโตเต็มที่
ข. มีความปลอดภัยสูง
ค. มีการทํางานอย่างเป็นระบบ
ง. ทําให้มีภูมิต้านทานโรคได้ดี
ตั้งใจหน่อยนะครับ
6
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์
...............................................................................
1. ก
2. ค
3. ค
4. ง
5. ข
6. ง
7. ก
8. ง
9. ก
10. ค
สอบไม่ผ่านก็ไม่ต้องกังวลนะ
ครับ ศึกษาจากบทเรียนสําเร็จรูป
แล้วลองสอบใหม่นะครับ
7
ทฤษฎีเซลล์
มัตทิอัส ชไลเดน นักพฤกษศาสตร์ ชาวเยอรมันและเทโอดอร์ ชวันน์ นักสัตว
วิทยาชาวเยอรมัน ได้ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ ได้กล่าวไว้ว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
ประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด” ทฤษฎีเซลล์ปัจจุบัน
ได้ครอบคลุมความสําคัญ 3 ประการ คือ
1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ซึ่งภายในมีสาร
พันธุกรรมและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม ทําให้สิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยู่ได้
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทํางาน
ภายในโครงสร้างของเซลล์
3. เซลล์มีกําเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม แม้ว่า
ชีวิตแรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิต แต่นักชีววิทยายังคงถือว่าการเพิ่มขึ้นของ
จํานวนเซลล์เป็นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน
กรอบที่ 1
คําถาม หน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดคือ
8
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น และเป็นพืชเซลล์เดียวที่
nucleus ไม่มีเยื่อหุ้มซึ่งเรียกว่า prokaryotic cell และไม่มีคลอโรฟิลล์ สืบพันธุ์โดยวิธีการ
แบ่งเซลล์ (binary fission) ผนังเซลล์เป็นสารประกอบไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่
แบคทีเรีย มีรูปร่างเป็น 3 แบบ คือ รูปท่อน (แบซิลลัส) ทรงกลม (คอคดัส)
และแบบเกลียว (สไปริลลัม)
ภาพแบคทีเรียรูปร่างกลมและท่อน
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จะประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว มองด้วยตาเปล่าไม่
เห็น และสามารถทําหน้าที่เป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์ได้
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. แบคทีเรีย
2. โพรโตซัว เช่น อะมีบา พารามีเซียม
เฉลยกรอบที่ 1 คือ เซลล์
กรอบที่ 2
คําถาม แบคทีเรียมีรูปร่างกี่แบบ
9
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เป็นพวกโพรโตซัว สาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน มีลักษณะคล้าย
สัตว์เคลื่อนที่ได้ บางชนิดมีคลอโรฟิลล์ มีนิวเคลียสที่แท้จริง เช่น ยูกลีนา พารามีเซียม
อะมีบา ไดอะตอม ฯลฯ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. มีรูปร่างที่แน่นอน 2. มีรูปร่างที่ไม่
แน่นอน
ภาพพารามีเซียม ภาพอะมีบา
ภาพยูกลีนา ภาพไดอะตอม
เฉลยกรอบที่ 2 3 แบบ คือ รูปท่อน ทรงกลมและแบบเกลียว
กรอบที่ 3
คําถาม สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างที่ไม่แน่นอนได้แก่..
10
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างไม่แน่นอน
ภาพยูกลีนา
ยูกลีนา (Euglena) รูปร่างไม่แน่นอน เซลล์ไม่แข็งแรงและไม่มีผนังเซลล์
เคลื่อนที่โดยใช้แฟลกเจลลัม (เคลื่อนที่โดยการพัดโบก) ภายในเซลล์มีนิวเคลียส
คลอโรพลาสต์ฟูดแวคิวโอลและอายสปอต
ภาพอะมีบา
อะมีบา (Ameba) มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่โดยการไหล
ตามของเหลวในไซโทพลาสซึม พบได้ในแหล่งนํ้าธรรมชาติตามบ่อหรือแหล่งนํ้าทั่วๆไป
อาหารของอะมีบาคือสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กกว่า เช่น แบคทีเรีย สืบพันธ์โดยการ
แบ่งตัวออกเป็นสองส่วน
เฉลยกรอบที่ 3 อะมีบา
กรอบที่ 4
คําถาม ยูกลีนาเคลื่อนที่ได้อย่างไร
11
ฃ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างแน่นอน
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างที่แน่นอน ได้แก่ พารามีเซียม สาหร่ายสีเขียว
แกมนํ้าเงิน จําพวก ไดอะตอม
ภาพพารามีเซียม
พารามีเซียมเป็นพวกโพรโตซัว เซลล์เดียว รูปร่างคล้ายรองเท้าแตะ อาศัยในนํ้าจืด
ตามบ่อ บึง ท้องร่อง ที่มีใบไม้เศษสิ่งต่างๆ เน่าเปื่อย เคลื่อนที่ด้วยซิเรียข้างลําตัว
เฉลยกรอบที่ 4 ใช้แฟลกเจลลัม หรือแส้โบกพัดไปมา
คําถาม พารามีเซียมเคลื่อนที่ได้อย่างไร
กรอบที่ 5
12
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีโครงสร้างสลับซับซ้อนและประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์
โดยแต่ละเซลล์ทําหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งแต่ละชนิดก็จะทําหน้าที่แตกต่างกันไป แต่มีการ
ประสานกันของเซลล์ทั้งหมดที่ประกอบกันเป็นอวัยวะและระบบต่างๆ ซึ่งทําให้สิ่งมีชีวิต
นั้นๆ สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้
เฉลยกรอบที่ 5 ใช้ซิเรียข้างลําตัวโบกพัด
กรอบที่ 6
คําถาม สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างไร
ประกอบด้วยเซลล์
หลายเซลล์
เซลล์มี
โครงสร้างที่สลับ
ซับ ซ้อน
ลักษณะของ
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
เซลล์แต่ละเซลล์
ทําหน้าที่ต่างกัน
มีการทํางานประสานกัน
ของเซลล์ทั้งหมด
13
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ซึ่งเซลล์ของพืชแต่ละส่วนมีหน้าที่แตกต่างกันออกไป
เช่น เซลล์ปากใบควบคุมปริมาณนํ้า เซลล์รากใช้ดูดนํ้า เป็นต้น
ภาพละอองเรณูของดอกชบา
ทําหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
ภาพเซลล์คุมปากใบ
เซลล์คุมมีหน้าที่ปิดและเปิดปากใบ
เพื่อควบคุมปริมาณนํ้าในต้นพืช
เฉลยกรอบที่ 6 มีโครงสร้างสลับซับซ้อน
คําถาม เซลล์คุมทําหน้าที่อะไร
กรอบที่ 7
14
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ชั้นตํ่าหรือสัตว์ชั้นสูง เซลล์แต่ละ
ส่วนมีหน้าที่เฉพาะและทํางานประสานกันอย่างมีระบบ เป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบต่างๆ
ในร่างกาย
ภาพเซลล์เม็ดเลือดแดง(ไม่มีนิวเคลียส) ภาพเซลล์อสุจิ
ภาพเซลล์ไข่คน ภาพเซลล์ประสาทของคน
เฉลยกรอบที่ 7 ควบคุมปริมาณนํ้าในต้นพืช
กรอบที่ 8
คําถาม เซลล์เม็ดเลือดแดงขาดโครงสร้างใด
15
เซลล์เนื้อเยื่อของสัตว์
เซลล์หลายเซลล์ทําหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ เป็นอวัยวะและระบบต่างๆ
ภาพเซลล์กล้ามเนื้อลายของคน
ใช้สําหรับการเคลื่อนไหว
ภาพเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ
เป็นอวัยวะภายใน เช่น ลําไส้ ปอด
ภาพเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจคน
เฉลยกรอบที่ 8 นิวเคลียส
กรอบที่ 9
คําถาม เซลล์กล้ามเนื้อชนิดใดที่เหมาะต่อการเคลื่อนไหว
16
ระบบของเซลล์สิ่งมีชีวิต
การที่เซลล์สามารถทํางานร่วมกันอย่างมีระบบ ทําให้เกิดการทํางานของอวัยวะ
ต่างๆ มีผลดีต่อมนุษย์ เพราะทําให้ร่างกายทํางานอย่างเป็นระบบ ระบบอวัยวะทํางาน
ร่วมกันกลายเป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้
ภาพ การจัดเรียงระบบเซลล์สิ่งมีชีวิต (มนุษย์)
เฉลยกรอบที่ 9 เซลล์กล้ามเนื้อลาย พบที่ แขน ขา
กรอบที่ 10
คําถาม เซลล์หลายๆ เซลล์ทํางานร่วมกันเรียกว่า
17
การจัดระบบการทํางานของเซลล์สิ่งมีชีวิต
การทํางานที่สัมพันธ์กันของเซลล์หลายๆ เซลล์ เป็นอวัยวะ เป็นระบบ
ต่างๆ สิ่งมีชีวิตจึงสามารถดํารงชีวิตได้
เฉลยกรอบที่ 10 เนื้อเยื่อ
กรอบที่ 11 กรอบสรุป
ศึกษาจบแล้วครับ ต่อไป
เรามาทําแบบทดสอบวัด
ความรู้กันนะครับ
ในร่างกายสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ (cell)
เนื้อเยื่อหลายๆ กลุ่มทํางานร่วมกันเป็นอวัยวะ
อวัยวะหลายๆ อวัยวะทํางานร่วมกันเป็น ระบบอวัยวะ (Organ system)
ระบบอวัยวะทํางานร่วมกันเป็นสิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตอยู่ได้
18
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
คําชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
รวม 10 คะแนน เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนทําทุกข้อ เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกากบาท ลง
ในกระดาษคําตอบที่แจกให้ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน
..................................................................................
1. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะอย่างไร
ก. มีโครงสร้างซับซ้อน
ข. เซลล์ทํางานประสานกัน
ค. เซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน
ง. มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันทุกเซลล์
2. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
ก. อะมีบา และยูกลีนา
ข. แบคทีเรีย และโพรโตซัว
ค. ยูกลีนา และโพรโตซัว
ง. อะมีบา และแบคทีเรีย
3. จากข้อ 2 เราสามารถใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภทของเซลล์
ก. ที่อยู่อาศัย
ข. ลักษณะและสี
ค. นับจํานวนเซลล์
ง. มีและไม่มีนิวเคลียส
19
4. โพรโตซัว ในข้อใดที่จัดเป็นพวกที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่
ก. อะมีบา
ข. ยูกลีนา
ค. ไดอะตอม
ง. พารามีเซียม
5. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างเป็น 2 ฝาประกบกันพอดี ค◌ือข้อใด
ก. อะมีบา
ข. ยูกลีนา
ค. ไดอะตอม
ง. คลอเรลลา
6. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ก. มีโครงสร้างสลับซับซ้อน
ข. ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์
ค. มีลักษณะรูปร่างที่คล้ายกันทุกเซลล์
ง. เซลล์แต่ละเซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน
7. ข้อใดจัดเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ก. แบคทีเรีย
ข. โพรโตซัว
ค. พารามีเซียม
ง. เซลล์กล้ามเนื้อ
8. เซลล์หลายๆ เซลล์ ทํางานร่วมกัน เรียกว่าอะไร
ก. เนื้อเยื่อ
ข. อวัยวะ
ค. สัตว์
ง. พืช
20
9. ข้อใด หมายถึง ระบบอวัยวะ ของสัตว์
ก. ระบบหายใจ
ข. ระบบคายนํ้า
ค. ระบบท่อลําเลียง
ง. ระบบสังเคราะห์ด้วยแสง
10. การที่เซลล์ทํางานร่วมกันเป็นระบบมีผลดีต่อร่างกายของมนุษย์อย่างไร
ก. เจริญเติบโตเต็มที่
ข. มีความปลอดภัยสูง
ค. มีการทํางานอย่างเป็นระบบ
ง. ทําให้มีภูมิต้านทานโรคได้ดี
ตั้งใจหน่อยนะครับ
21
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์
...............................................................................
1. ง
2. ข
3. ง
4. ก
5. ค
6. ค
7. ง
8. ก
9. ก
10. ค
สอบไม่ผ่านก็ไม่ต้องกังวลนะ
ครับ ศึกษาจากบทเรียนสําเร็จรูป
แล้วลองสอบใหม่นะครับ
22
บรรณานุกรม
ประดับ นาคแก้ว และคณะ. หนังสือเรียนแม็ค กลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ :
บริษัทรัตน์ธราการพิมพ์ จํากัด. 2550.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ.
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดํารงชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. 2548.
. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุ สภาลาดพร้าว. 2550.
อักษร ศรีเปล่งและคณะ. ชีววิทยา 2 โครงการตําราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
มูลนิธิ สอวน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์จํากัด
,2551.
23
บทเรียนสําเร็จรูปแบบเส้นตรง
หน่วยการเรียนรู้ หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์
สมนึก แก้วจันทร์
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อําเภอวังวิเศษ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตรัง เขต 2
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
24

More Related Content

What's hot

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
Dnavaroj Dnaka
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
Niwat Yod
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
dnavaroj
 

What's hot (20)

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 

Similar to ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต

Basic cell
Basic cellBasic cell
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Wichai Likitponrak
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
Wichai Likitponrak
 

Similar to ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต (20)

001 3
001 3001 3
001 3
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
4
44
4
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 

More from สมใจ จันสุกสี

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
สมใจ จันสุกสี
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
สมใจ จันสุกสี
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
สมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
สมใจ จันสุกสี
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
สมใจ จันสุกสี
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
สมใจ จันสุกสี
 
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่ Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
สมใจ จันสุกสี
 
Asking and giving personal information
Asking and giving personal informationAsking and giving personal information
Asking and giving personal information
สมใจ จันสุกสี
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
สมใจ จันสุกสี
 
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
สมใจ จันสุกสี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
สมใจ จันสุกสี
 
Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint Expertpro powerpoint
Present continuous tense 1
Present continuous tense 1Present continuous tense 1
Present continuous tense 1
สมใจ จันสุกสี
 
Singular and plural
Singular and pluralSingular and plural
This, that , these , those
This, that , these , thoseThis, that , these , those
This, that , these , those
สมใจ จันสุกสี
 
there is / there and prepositions
there is / there and prepositionsthere is / there and prepositions
there is / there and prepositions
สมใจ จันสุกสี
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
สมใจ จันสุกสี
 
Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3
สมใจ จันสุกสี
 
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
สมใจ จันสุกสี
 
ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58
ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58
ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58
สมใจ จันสุกสี
 

More from สมใจ จันสุกสี (20)

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
 
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่ Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
 
Asking and giving personal information
Asking and giving personal informationAsking and giving personal information
Asking and giving personal information
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
 
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
 
Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint
 
Present continuous tense 1
Present continuous tense 1Present continuous tense 1
Present continuous tense 1
 
Singular and plural
Singular and pluralSingular and plural
Singular and plural
 
This, that , these , those
This, that , these , thoseThis, that , these , those
This, that , these , those
 
there is / there and prepositions
there is / there and prepositionsthere is / there and prepositions
there is / there and prepositions
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
 
Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3
 
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
 
ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58
ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58
ประกาศเชิญชวนรับเหมาก่อสร้าง 58
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต

  • 1. 1 คําแนะนําการใช้บทเรียนสําเร็จรูปแบบเส้นตรง ให้นักเรียนศึกษาคําแนะนําการใช้บทเรียนสําเร็จรูปให้เข้าใจ ปฏิบัติตามขั้นตอน ต่อไปนี้ 1. ทําความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้ของบทเรียนสําเร็จรูปให้เข้าใจ 2. ทําแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียน 3. ศึกษาเนื้อหาของบทเรียนสําเร็จรูปทีละกรอบ ไม่ควรรีบร้อนเกินไป และไม่ให้ ข้ามกรอบ 4. เมื่อเข้าใจเนื้อหาของบทเรียนในแต่ละกรอบแล้ว ให้ทําแบบฝึกหัดในแต่ละ กรอบโดยเขียนคําตอบในกระดาษคําตอบที่แจกให้ 5. ดูเฉลยคําตอบในแต่ละกรอบ ซึ่งจะปรากฏในกรอบถัดไป ว่านักเรียนตอบถูก หรือไม่ ไม่ควรดูเฉลยคําตอบก่อน 6. ถ้านักเรียนตอบถูกให้เรียนในกรอบถัดไป แต่ถ้านักเรียนตอบผิดให้นักเรียน ศึกษาทําความเข้าใจใหม่ จนกระทั่งเข้าใจและตอบถูกจึงเรียนในกรอบถัดไป 7. เมื่ออ่านบทเรียนสําเร็จรูปแล้ว ให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 8. ตรวจคําตอบด้วยตัวเอง ถ้าพบว่านักเรียนถูกไม่ถึง 7 ใน 10 ข้อ ให้ศึกษา บทเรียนสําเร็จรูปนั้น แล้วทําการทดสอบอีกครั้ง จนผ่านเกณฑ์ รับทราบข้อตกลงแล้วนะครับ
  • 2. 2 สาระสําคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ .................................................................... สาระสําคัญ การจําแนกสิ่งมีชีวิตสามารถใช้ลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตเป็นเกณฑ์ใน การจําแนก สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว จะมีหน้าที่การทํางานที่คล้ายคลึงกัน สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเป็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว สามารถทําหน้าที่เป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตอยู่ได้ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อน จะประกอบด้วยเซลล์ หลายเซลล์มารวมกลุ่มกันเป็นอวัยวะ มีหน้าที่เฉพาะ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้ 2. อธิบายลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ 3. เปรียบเทียบลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลาย เซลล์ได้ อย่าลืมทําแบบทดสอบ ก่อนเรียนนะครับ
  • 3. 3 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ คําชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนทําทุกข้อ เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกากบาท ลง ในกระดาษคําตอบที่แจกให้ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน .................................................................................. 1. เซลล์หลายๆ เซลล์ ทํางานร่วมกัน คือข้อใด ก. เนื้อเยื่อ ข. อวัยวะ ค. สัตว์ ง. พืช 2. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างเป็น 2 ฝาประกบกันพอดี ค◌ือข้อใด ก. อะมีบา ข. ยูกลีนา ค. ไดอะตอม ง. คลอเรลลา 3. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ก. มีโครงสร้างสลับซับซ้อน ข. ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ค. มีลักษณะรูปร่างที่คล้ายกันทุกเซลล์ ง. เซลล์แต่ละเซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน
  • 4. 4 4. ข้อใดจัดเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ก. แบคทีเรีย ข. โพรโตซัว ค. พารามีเซียม ง. เซลล์กล้ามเนื้อ 5. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ก. อะมีบา และยูกลีนา ข. แบคทีเรีย และโพรโตซัว ค. ยูกลีนา และโพรโตซัว ง. อะมีบา และแบคทีเรีย 6. จากข้อ 5 เราสามารถใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภทของเซลล์ ก. ที่อยู่อาศัย ข. ลักษณะและสี ค. นับจํานวนเซลล์ ง. มีและไม่มีนิวเคลียส 7. ข้อใด หมายถึง ระบบอวัยวะ ของสัตว์ ก. ระบบหายใจ ข. ระบบคายนํ้า ค. ระบบท่อลําเลียง ง. ระบบสังเคราะห์ด้วยแสง 8. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะอย่างไร ก. มีโครงสร้างซับซ้อน ข. เซลล์ทํางานประสานกัน ค. เซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน ง. มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันทุกเซลล์
  • 5. 5 9. โพรโตซัว ในข้อใดที่จัดเป็นพวกที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่ ก. อะมีบา ข. ยูกลีนา ค. ไดอะตอม ง. พารามีเซียม 10. การที่เซลล์ทํางานร่วมกันเป็นระบบมีผลดีต่อร่างกายของมนุษย์อย่างไร ก. เจริญเติบโตเต็มที่ ข. มีความปลอดภัยสูง ค. มีการทํางานอย่างเป็นระบบ ง. ทําให้มีภูมิต้านทานโรคได้ดี ตั้งใจหน่อยนะครับ
  • 6. 6 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ ............................................................................... 1. ก 2. ค 3. ค 4. ง 5. ข 6. ง 7. ก 8. ง 9. ก 10. ค สอบไม่ผ่านก็ไม่ต้องกังวลนะ ครับ ศึกษาจากบทเรียนสําเร็จรูป แล้วลองสอบใหม่นะครับ
  • 7. 7 ทฤษฎีเซลล์ มัตทิอัส ชไลเดน นักพฤกษศาสตร์ ชาวเยอรมันและเทโอดอร์ ชวันน์ นักสัตว วิทยาชาวเยอรมัน ได้ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ ได้กล่าวไว้ว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด” ทฤษฎีเซลล์ปัจจุบัน ได้ครอบคลุมความสําคัญ 3 ประการ คือ 1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ซึ่งภายในมีสาร พันธุกรรมและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม ทําให้สิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยู่ได้ 2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทํางาน ภายในโครงสร้างของเซลล์ 3. เซลล์มีกําเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม แม้ว่า ชีวิตแรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิต แต่นักชีววิทยายังคงถือว่าการเพิ่มขึ้นของ จํานวนเซลล์เป็นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน กรอบที่ 1 คําถาม หน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดคือ
  • 8. 8 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น และเป็นพืชเซลล์เดียวที่ nucleus ไม่มีเยื่อหุ้มซึ่งเรียกว่า prokaryotic cell และไม่มีคลอโรฟิลล์ สืบพันธุ์โดยวิธีการ แบ่งเซลล์ (binary fission) ผนังเซลล์เป็นสารประกอบไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่ แบคทีเรีย มีรูปร่างเป็น 3 แบบ คือ รูปท่อน (แบซิลลัส) ทรงกลม (คอคดัส) และแบบเกลียว (สไปริลลัม) ภาพแบคทีเรียรูปร่างกลมและท่อน สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จะประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว มองด้วยตาเปล่าไม่ เห็น และสามารถทําหน้าที่เป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์ได้ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. แบคทีเรีย 2. โพรโตซัว เช่น อะมีบา พารามีเซียม เฉลยกรอบที่ 1 คือ เซลล์ กรอบที่ 2 คําถาม แบคทีเรียมีรูปร่างกี่แบบ
  • 9. 9 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เป็นพวกโพรโตซัว สาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน มีลักษณะคล้าย สัตว์เคลื่อนที่ได้ บางชนิดมีคลอโรฟิลล์ มีนิวเคลียสที่แท้จริง เช่น ยูกลีนา พารามีเซียม อะมีบา ไดอะตอม ฯลฯ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. มีรูปร่างที่แน่นอน 2. มีรูปร่างที่ไม่ แน่นอน ภาพพารามีเซียม ภาพอะมีบา ภาพยูกลีนา ภาพไดอะตอม เฉลยกรอบที่ 2 3 แบบ คือ รูปท่อน ทรงกลมและแบบเกลียว กรอบที่ 3 คําถาม สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างที่ไม่แน่นอนได้แก่..
  • 10. 10 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างไม่แน่นอน ภาพยูกลีนา ยูกลีนา (Euglena) รูปร่างไม่แน่นอน เซลล์ไม่แข็งแรงและไม่มีผนังเซลล์ เคลื่อนที่โดยใช้แฟลกเจลลัม (เคลื่อนที่โดยการพัดโบก) ภายในเซลล์มีนิวเคลียส คลอโรพลาสต์ฟูดแวคิวโอลและอายสปอต ภาพอะมีบา อะมีบา (Ameba) มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่โดยการไหล ตามของเหลวในไซโทพลาสซึม พบได้ในแหล่งนํ้าธรรมชาติตามบ่อหรือแหล่งนํ้าทั่วๆไป อาหารของอะมีบาคือสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กกว่า เช่น แบคทีเรีย สืบพันธ์โดยการ แบ่งตัวออกเป็นสองส่วน เฉลยกรอบที่ 3 อะมีบา กรอบที่ 4 คําถาม ยูกลีนาเคลื่อนที่ได้อย่างไร
  • 11. 11 ฃ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างแน่นอน สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างที่แน่นอน ได้แก่ พารามีเซียม สาหร่ายสีเขียว แกมนํ้าเงิน จําพวก ไดอะตอม ภาพพารามีเซียม พารามีเซียมเป็นพวกโพรโตซัว เซลล์เดียว รูปร่างคล้ายรองเท้าแตะ อาศัยในนํ้าจืด ตามบ่อ บึง ท้องร่อง ที่มีใบไม้เศษสิ่งต่างๆ เน่าเปื่อย เคลื่อนที่ด้วยซิเรียข้างลําตัว เฉลยกรอบที่ 4 ใช้แฟลกเจลลัม หรือแส้โบกพัดไปมา คําถาม พารามีเซียมเคลื่อนที่ได้อย่างไร กรอบที่ 5
  • 12. 12 สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีโครงสร้างสลับซับซ้อนและประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ โดยแต่ละเซลล์ทําหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งแต่ละชนิดก็จะทําหน้าที่แตกต่างกันไป แต่มีการ ประสานกันของเซลล์ทั้งหมดที่ประกอบกันเป็นอวัยวะและระบบต่างๆ ซึ่งทําให้สิ่งมีชีวิต นั้นๆ สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ เฉลยกรอบที่ 5 ใช้ซิเรียข้างลําตัวโบกพัด กรอบที่ 6 คําถาม สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างไร ประกอบด้วยเซลล์ หลายเซลล์ เซลล์มี โครงสร้างที่สลับ ซับ ซ้อน ลักษณะของ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เซลล์แต่ละเซลล์ ทําหน้าที่ต่างกัน มีการทํางานประสานกัน ของเซลล์ทั้งหมด
  • 13. 13 พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ซึ่งเซลล์ของพืชแต่ละส่วนมีหน้าที่แตกต่างกันออกไป เช่น เซลล์ปากใบควบคุมปริมาณนํ้า เซลล์รากใช้ดูดนํ้า เป็นต้น ภาพละอองเรณูของดอกชบา ทําหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ภาพเซลล์คุมปากใบ เซลล์คุมมีหน้าที่ปิดและเปิดปากใบ เพื่อควบคุมปริมาณนํ้าในต้นพืช เฉลยกรอบที่ 6 มีโครงสร้างสลับซับซ้อน คําถาม เซลล์คุมทําหน้าที่อะไร กรอบที่ 7
  • 14. 14 สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ชั้นตํ่าหรือสัตว์ชั้นสูง เซลล์แต่ละ ส่วนมีหน้าที่เฉพาะและทํางานประสานกันอย่างมีระบบ เป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบต่างๆ ในร่างกาย ภาพเซลล์เม็ดเลือดแดง(ไม่มีนิวเคลียส) ภาพเซลล์อสุจิ ภาพเซลล์ไข่คน ภาพเซลล์ประสาทของคน เฉลยกรอบที่ 7 ควบคุมปริมาณนํ้าในต้นพืช กรอบที่ 8 คําถาม เซลล์เม็ดเลือดแดงขาดโครงสร้างใด
  • 15. 15 เซลล์เนื้อเยื่อของสัตว์ เซลล์หลายเซลล์ทําหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ เป็นอวัยวะและระบบต่างๆ ภาพเซลล์กล้ามเนื้อลายของคน ใช้สําหรับการเคลื่อนไหว ภาพเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ เป็นอวัยวะภายใน เช่น ลําไส้ ปอด ภาพเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจคน เฉลยกรอบที่ 8 นิวเคลียส กรอบที่ 9 คําถาม เซลล์กล้ามเนื้อชนิดใดที่เหมาะต่อการเคลื่อนไหว
  • 16. 16 ระบบของเซลล์สิ่งมีชีวิต การที่เซลล์สามารถทํางานร่วมกันอย่างมีระบบ ทําให้เกิดการทํางานของอวัยวะ ต่างๆ มีผลดีต่อมนุษย์ เพราะทําให้ร่างกายทํางานอย่างเป็นระบบ ระบบอวัยวะทํางาน ร่วมกันกลายเป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ ภาพ การจัดเรียงระบบเซลล์สิ่งมีชีวิต (มนุษย์) เฉลยกรอบที่ 9 เซลล์กล้ามเนื้อลาย พบที่ แขน ขา กรอบที่ 10 คําถาม เซลล์หลายๆ เซลล์ทํางานร่วมกันเรียกว่า
  • 17. 17 การจัดระบบการทํางานของเซลล์สิ่งมีชีวิต การทํางานที่สัมพันธ์กันของเซลล์หลายๆ เซลล์ เป็นอวัยวะ เป็นระบบ ต่างๆ สิ่งมีชีวิตจึงสามารถดํารงชีวิตได้ เฉลยกรอบที่ 10 เนื้อเยื่อ กรอบที่ 11 กรอบสรุป ศึกษาจบแล้วครับ ต่อไป เรามาทําแบบทดสอบวัด ความรู้กันนะครับ ในร่างกายสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ (cell) เนื้อเยื่อหลายๆ กลุ่มทํางานร่วมกันเป็นอวัยวะ อวัยวะหลายๆ อวัยวะทํางานร่วมกันเป็น ระบบอวัยวะ (Organ system) ระบบอวัยวะทํางานร่วมกันเป็นสิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตอยู่ได้
  • 18. 18 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ คําชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนทําทุกข้อ เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกากบาท ลง ในกระดาษคําตอบที่แจกให้ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน .................................................................................. 1. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะอย่างไร ก. มีโครงสร้างซับซ้อน ข. เซลล์ทํางานประสานกัน ค. เซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน ง. มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันทุกเซลล์ 2. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ก. อะมีบา และยูกลีนา ข. แบคทีเรีย และโพรโตซัว ค. ยูกลีนา และโพรโตซัว ง. อะมีบา และแบคทีเรีย 3. จากข้อ 2 เราสามารถใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภทของเซลล์ ก. ที่อยู่อาศัย ข. ลักษณะและสี ค. นับจํานวนเซลล์ ง. มีและไม่มีนิวเคลียส
  • 19. 19 4. โพรโตซัว ในข้อใดที่จัดเป็นพวกที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่ ก. อะมีบา ข. ยูกลีนา ค. ไดอะตอม ง. พารามีเซียม 5. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างเป็น 2 ฝาประกบกันพอดี ค◌ือข้อใด ก. อะมีบา ข. ยูกลีนา ค. ไดอะตอม ง. คลอเรลลา 6. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ก. มีโครงสร้างสลับซับซ้อน ข. ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ค. มีลักษณะรูปร่างที่คล้ายกันทุกเซลล์ ง. เซลล์แต่ละเซลล์ทําหน้าที่แตกต่างกัน 7. ข้อใดจัดเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ก. แบคทีเรีย ข. โพรโตซัว ค. พารามีเซียม ง. เซลล์กล้ามเนื้อ 8. เซลล์หลายๆ เซลล์ ทํางานร่วมกัน เรียกว่าอะไร ก. เนื้อเยื่อ ข. อวัยวะ ค. สัตว์ ง. พืช
  • 20. 20 9. ข้อใด หมายถึง ระบบอวัยวะ ของสัตว์ ก. ระบบหายใจ ข. ระบบคายนํ้า ค. ระบบท่อลําเลียง ง. ระบบสังเคราะห์ด้วยแสง 10. การที่เซลล์ทํางานร่วมกันเป็นระบบมีผลดีต่อร่างกายของมนุษย์อย่างไร ก. เจริญเติบโตเต็มที่ ข. มีความปลอดภัยสูง ค. มีการทํางานอย่างเป็นระบบ ง. ทําให้มีภูมิต้านทานโรคได้ดี ตั้งใจหน่อยนะครับ
  • 21. 21 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ ............................................................................... 1. ง 2. ข 3. ง 4. ก 5. ค 6. ค 7. ง 8. ก 9. ก 10. ค สอบไม่ผ่านก็ไม่ต้องกังวลนะ ครับ ศึกษาจากบทเรียนสําเร็จรูป แล้วลองสอบใหม่นะครับ
  • 22. 22 บรรณานุกรม ประดับ นาคแก้ว และคณะ. หนังสือเรียนแม็ค กลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัทรัตน์ธราการพิมพ์ จํากัด. 2550. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับ กระบวนการดํารงชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. 2548. . หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุ สภาลาดพร้าว. 2550. อักษร ศรีเปล่งและคณะ. ชีววิทยา 2 โครงการตําราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์จํากัด ,2551.
  • 23. 23 บทเรียนสําเร็จรูปแบบเส้นตรง หน่วยการเรียนรู้ หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ สมนึก แก้วจันทร์ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อําเภอวังวิเศษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตรัง เขต 2 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 24. 24