SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
Foreign body aspiration
            การสําลักวัตถุแปลกปลอมในทางเดินหายใจเด็ก เปนปญหาที่พบไดเสมอและสามารถทําใหเกิดอันตรายถึงชีวิตได โดยอัตรา
ตายประมาณ 2-10% ขึ้นอยูกับอายุ ตําแหนงและชนิดของวัตถุแปลกปลอม ในปจจุบันถึงแมอัตราการเสียชีวิตจะลดลงเรื่อย ๆ เนื่องจาก
ความกาวหนาในดานเทคโนโลยีของอุปกรณตาง ๆ ตลอดจนการเผยแพรความรูดานการปองกันและการชวยเหลือเบื้องตนแตก็ยังพบ
อุบัติการณของภาวะนี้ไดไมนอย
ระบาดวิทยา
อายุ การสําลักวัตถุแปลกปลอมสวนใหญเกิดในเด็กเล็กอายุนอยกวา 3 ป เนื่องจากวัยนี้ยังมีฟนกรามที่ไมสมบูรณทําใหการบดเคี้ยวทําได
ไมดีรวมกับเปนวัยที่ชอบหยิบของเขาปากและวิ่งเลนหรือรอยตะโกนขณะมีของอยูในปาก
เพศ เด็กชายพบมากกวาเด็กหญิงซึ่งอาจเปนเพราะมีนิสยซุกซนมากกวา
                                                   ั
ชนิดของวัตถุแปลกปลอม สวนใหญเปนอาหาร(organic substances) ไดแก ถั่วชนิดตาง ๆ ผลไม เศษอาหาร สวนนอยเปนinorganic
substancesไดแก ชิ้นสวนของเลน เศษพลาสติก เข็ม ยางลบ ปลอกปากกา เปนตน
ตําแหนงของวัตถุแปลกปลอม รอยละ 80-90% อยูบริเวณทางเดินหายใจสวนบนโดยสวนใหญพบบริเวณ main bronchus หรือ segmental
bronchus และมักพบเพียง 1 ตําแหนง
การวินิจฉัย
           การวินิจฉัยภาวะสําลักวัตถุแปลกปลอมอาศัยประวัติการสําลักวัตถุแปลกปลอมจากคนเลี้ยง พอ แม ผูเห็นเหตุการณ รวมกับ
การตรวจรางกายและภาพรังสีประกอบกัน โดยในแตละสวนมีความไวและความจําเพาะดังตาราง
                                          ความไว ( % )                            ความจําเพาะ ( % )
ประวัติสําลัก                             96                                      76
อาการและอาการแสดง                         84.2                                    11.7
ภาพรังสีทรวงอกผิดปกติ                     70.3                                    62.5
ประวัติ
    ประวัติการสําลักวัตถุแปลกปลอมเปนสิ่งสําคัญที่สุดที่จะชวยประกอบการวินิจฉัยเนืองจากสวนใหญผูปวยมักมีประวัติสําลักวัตถุสิ่ง
                                                                                  ่
แปลกปลอมโดยพบประมาณมากกวา 50 % สําหรับอาการนั้นขึ้นอยูกับขนาด ชนิด ตําแหนงและลักษณะของสิ่งแปลกปลอม ความรุนแรง
ของการอุดกั้นทางเดินหายใจ ระยะเวลาที่สิ่งแปลกปลอมติดอยู โดยทั่วไปอาการของผูปวยสามารถแบงออกเปน 3 ระยะ
    1. stage of aspiration ผูปวยจะสําลักและขยอนทันที ตามดวยอาการไออยางรุนแรงจนเขียว(coughing spell)อาจมีอาการหายใจ
         ลําบาก เสียงแหบ เสียง stridor หรือ wheezing รวมดวย ในรายที่สิ่งแปลกปลอมขนาดใหญอุดบริเวณกลองเสียงหรือ subglottis
         ทําใหผูปวยเขียวหมดสติทันทีและอาจเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วหากไมไดรับการชวยเหลือทันที
    2. latent period อาการตาง ๆ จะหายไปจนใกลเคียงกับปกติเนื่องจากมีการปรับตัวของ surface sensory receptors ของทางเดิน
         หายใจ ใชเวลาเปนชั่วโมงหรืออาจยาวเปนเดือนได
    3. stage of complication จะเริ่มปรากฎอาการของภาวะแทรกซอนเกิดขึ้นเชน ไอเรื้อรัง ปอดอักเสบ ถุงลมปอดแฟบ ผีในปอด ลม
         ในชองเยื่อหุมปอดเปนตน
ตรวจรางกาย
            อาการแสดงขึ้นกับตําแหนงและความรุนแรงของการอุดกั้นทางเดินหายใจของวัตถุแปลกปลอม ดังตาราง
ตําแหนงของวัตถุแปลกปลอม            อาการและอาการแสดง
Supraglottic                        Cough, dyspnea, drooling, gagging, voice change
Larynx                              Stridor, cough, voice change, severe respiratory distress
Intrathoracic trachea               Expiratory wheeze, inspiratory noise
Extrathoracic trachea               Inspiratory strdor, expiratory noise
bronchus                           Cough, localized breath sounds or wheeze, hyper-resonance
esophagus                          Drooling, dysphagia, stridor, respiratory distress
นอกจากนี้อาการแสดงยังขึ้นอยูกับภาวะแทรกซอนที่เกิดตามหลังการสําลักวัตถุแปลกปลอมดวย
การตรวจทางรังสีวิทยา
     1.    ภาพรังสีทรวงอกทา AP(anteroposterior) หรือ PA(posteroanterior)ในขณะหายใจเขา(inspiration)และหายใจออก(expiration)
           2 ทาเพื่อเปรียบเทียบกันสวนกรณีเด็กเล็กมากและไมใหความรวมมือในการถายภาพรังสีควรถายทา right และ left lateral
           decubitus การเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติไดแก hyperaeration, atelectasis, infiltration เปนตน
     2.    airway film ควรพิจารณาถายภาพรังสีทา AP และ lateral neck ในรายที่มีอาการของการอุดกั้นของหลอดลม ความผิดปกติที่พบ
           ไดแก การเปลี่ยนแปลงขนาดของ airway(focal narrowing), soft tissue ขางเคียงบวม(focal enlargement), อาจพบ radio-
           opaque foreign body ใน airway
     3.    fluoroscopy มีประโยชนมากกรณีเด็กเล็กไมใหความรวมมือในการถายฟลม และชวยในรายที่ภาพรังสีทรวงอกไมพบความ
           ผิดปกติ ซึ่งfluoroscopy มีความไว(sensitivity)รอยละ100 แตมีความจําเพาะเพียงรอยละ 71กรณีสงสัยมีสิ่งแปลกปลอมใน
           mainbronchus
     4.    การตรวจทางรังสีอื่น ๆ เชน CT, MRI, ventilation-perfusion scan
การวินิจฉัยแยกโรค
            ขึ้นอยูกับชนิด ขนาดและตําแหนงที่อุดตันของสิ่งแปลกปลอม จากอาการและอาการแสดงที่พบสามารถใหการวินิจฉัยแยกโรค
เปน 2 กลุม ดังนี้
      1. ในรายที่มีอาการเฉียบพลัน ตองวินิจฉัยแยกโรคจาก bronchial asthma, acute bronchitis, bronchiolitis, laryngitis, croupและ
            retropharyngeal abscess
      2. ในรายที่ใหการวินิจฉัยโรคไดชา อาจมีลักษณะอาการคลายโรคเหลานี้คือ bronchial asthma, chronic bronchitis,
            recurrent/persistent pneumonia, atelectasis, pulmonary emphysema, lung abscess, endobronchial tuberculosis และ bronchial
            granuloma
แนวทางการชวยเหลือเบื้องตน
           การชวยเหลือเบื้องตนขึ้นกับอายุเด็กและภาวะอุดตันของทางเดินหายใจดังนี้
           1. เด็กทุกกลุมอายุที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจไมเต็มที่ ยังหายใจไดเอง พูดได ไอไดแรงดี ควรแนะนําใหเด็กไอแรง ๆ
                เพื่อใหวัตถุแปลกปลอมหลุดออกมา หามใชนิ้วมือเขาไปควานหาวัตถุแปลกปลอมในปากและคอโดยที่ยังมองไมเห็น
                เพราะอาจดันใหวัตถุแปลกปลอมที่คางอยูในคอเคลื่อนลึกลงไป ทําใหเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจอยางเต็มที่ได
           2. เด็กอายุตากวา 1 ป ที่มีอาการแสดงของทางเดินหายใจอุดตันเต็มที่ คือไอไมได รองไมมีเสียง หายใจไมสะดวก หนาเขียว
                           ่ํ
                และอาจหมดสติ ใหทําการชวยเหลือวิธี “ five back blows and five chest thrusts” ตามขั้นตอนดังนี้
           2.1 จับเด็กนอนคว่ําหนาบนแขนของผูใหการชวยเหลือ ใหศีรษะต่ํากวาลําตัว ใชมือจับบริเวณขากรรไกรของเด็กเพื่อยึดให
                ศีรษะและคอของเด็กนิ่งไมเคลื่อนไหว (ในรายที่เด็กตัวโต อาจจับเด็กนอนคว่ําบนตักโดยใหศีรษะต่ํากวาลําตัว)
           2.2 ใชสนฝามือตบแรง ๆ บริเวณทรวงอกดานหลังระหวางกระดุกสะบักตอเนื่อง 5 ครั้ง ดังรูป
2.3 ถายังหายใจไมไดใหใชมือและแขนอีกขางของผูใหการชวยเหลือจับศีรษะและแผนหลังของเด็กใหอยูระหวางแขนทั้ง 2
    ขาง แลวพลิกตัวเด็กกลับมานอนหงาย

2.4 ใชนิ้วมือ 2 นิ้วกระแทกหนาอกเด็กบริเวณ sternum สวนลางต่ํากวาระดับ nipples เล็กนอย (การกระแทกทําเชนเดียวกับ
    การทํา Cardiopulmonary resuscitation) ทําติดตอกัน 5 ครั้ง ดังรูป




       ถาวัตถุแปลกปลอมยังไมหลุดออกจากทางเดินหายใจใหทําซ้ําขอ 2.1-2.4 จนกระทั่งวัตถุแปลกปลอมหลุดออกมาไดหรือ
เด็กหมดสติ
       ในกรณีเด็กหมดสติ ใหยกคางขึ้นโดยใช tongue-jaw lift technique เปดปาก ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมในปากใหใชนิ้วมือ
หยิบออกและชวยหายใจตอจนหายใจไดเองแตถาวัตถุแปลกปลอมยังคางอยูใหทํา five back blows and five chest thrusts ซ้ํา
และชวยหายใจแลวรีบนําสงโรงพยาบาล
3. เด็กอายุมากกวา 1 ปที่มีอาการแสดงของทางเดินหายใจอุดตันเด็มที่
3.1 Heimlich maneuver หรือ subdiaphragmatic abdominal thrusts สําหรับเด็กที่ยังรูสึกตัว
มีขั้นตอนดังนี้
   1) ยืนขางหลังเด็กสอดแขนใตรักแรของเด็กเพื่อโอบรอบลําตัวเด็กบริเวณเอว
   2) กํามือขางหนึ่งใหดานนิ้วหัวแมมือ วางบนทองเด็กบริเวณกึ่งกลางสูงกวาสะดือเล็กนอย ใกลกับปลายของกระดูก
          หนาอก (Xyphoid process)
3) ใชอีกมือจับมือขางที่กําอยูแลวกระแทกขึ้นดานบนเร็ว ๆ เปนจังหวะตอเนื่องกัน 5 ครั้ง ดังรูป (ระวังอยากระแทกโดน
                 xyphoid process และขอบลางของกระดูกซี่โครงสุดทาย เพื่อปองกันไมใหมีการบาดเจ็บของอวัยวะภายในชองทอง)




              4)     เปดดูภายในชองปากโดยวิธี tongue-jaw lift technique ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมใหหยิบออกแลวชวยหายใจจนเด็ก
                    หายใจไดเอง แตถายังมีวัตถุแปลกปลอมคางอยูใหทํา Heimlich maneuverซ้ําจนกระทั่งสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา
                    หรือเด็กหมดสติไป
         3.2 abdominal thrusts สําหรับเด็กที่ไมรูสึกตัว
         มีขั้นตอนดังนี้
            1) จับเด็กนอนหงาย เปดปากโดย tongue-jaw lift technique ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมอยูในปากใหหยิบออก หามใชนิ้วมือ
                 ควานหาโดยมองไมเห็น
            2) นั่งคุกเขาดานขางของเด็กหรือครอมตัวเด็ก
            3) วางสนฝามือบนหนาทองเด็กบริเวณกึงกลางสูงกวาสะดือเล็กนอย ใกลกับปลายของกระดูกหนาอก (Xyphoid process)
                                                     ่
                 แลวใชมืออีกขางวางทับแลวกระแทกเร็ว ๆ ขึ้นดานบนประมาณ 5 ครั้ง ดังรูป




           4) เปดปากโดยวิธี tongue-jaw lift technique ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมหลุดออกมาใหหยิบออกแลวชวยหายใจจนเด็กหายใจ
              ไดเอง แตถายังมีวัตถุแปลกปลอมคางอยูใหทํา abdominal thrustsซ้ําจนกระทั่งสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาและชวยหายใจ
              ตอไป
การรักษา
    1.     การสองกลองหลอดลม (bronchoscopy)
           วิธีที่ปลอดภัยที่สุดคือ การใช ventilating rigid bronchoscope ภายใต general anesthesia โดยใหผูปวยหายใจเองและให
           หลีกเลี่ยงการใช positive pressure ventilation เพราะจะทําใหสิ่งแปลกปลอมถูกดันเขาไปลึกมากขึ้นรวมทั้งอาจเกิด
           hyperexpansion ของปอดได
ในระหวางสองกลองหลอดลมจําเปนตองสองดูหลอดลมคอทั้ง 2 ขางดวยเสมอเพราะมีโอกาสที่จะพบสิ่งแปลกปลอมได
          มากกวา 1 ชิ้นและควรระมัดระวังไมใหมีการแตกหรือแยกของสิ่งแปลกปลอมขณะกําจัดออก ภายหลังการกําจัดสิ่ง
          แปลกปลอมออกแลวควรสองกลองซ้าอีกครั้งเพื่อตรวจดูวายังคงมีสิ่งแปลกปลอมตกคางอยูหรือไม ในบางรายที่ยงคงมีอาการ
                                               ํ                                                                        ั
          แสดงปรากฎหรือภาพรังสีทรวงอกผิดปกติ อาจจําเปนตองทําการสองกลองหลอดลมซ้ําในภายหลัง
          หมายเหตุ ไมควรทํากายภาพบําบัดทรวงอก(chest physiotherapyไดแก inhalation, postural drainage และ percussion)ในผูปวย
          ที่มีหรือสงสัยวาจะมีการสําลักวัตถุแปลกปลอมกอนการสองกลองอยางเด็ดขาดเนื่องจากอาจทําใหเกิดการอุดกั้นของทางเดิน
          หายใจชนิดสมบูรณและเกิดหัวใจหยุดเตนได ใหพิจารณาทําภายหลังการสองกลองแลว เพื่อชวยระบายเสมหะคั่งคางและ
          แกปญหาปอดแฟบ(atelectasis)
     2.   การผาตัด open thoracotomy
          ทํากรณีที่วัตถุแปลกปลอมเขาไปติดอยูบริเวณหลอดลมสวนปลายไมสามารถกําจัดไดโดยการสองกลอง หรือกรณีมีสิ่ง
          แปลกปลอมติดอยูเปนเวลานานทําใหเกิดการอักเสบเรื้อรังเกิด granulation tissue และ fibrosis ซึ่งเสี่ยงตอการเกิดการฉีกขาด
          ของหลอดลมในระหวางการสองกลอง หรือในรายที่เกิดภาวะแทรกซอนขึ้นเชน hemoptysis, persistent/recurrent pneumonia,
          atelectasis, bronchiectasis ของปอดสวนใดสวนหนึ่งที่จําเปนตองไดรับกรผาตัดวิธี open thoracotomy เพื่อตัดปอดสวนนั้น ๆ
          ออก
การปองกัน
            การปองกันเปนสิ่งสําคัญที่สุดและไดผลดีที่สุดในการลดอุบัติการณของภาวะนี้ ปจจัยเสียงตอการสําลักขึ้นกับชนิดและ
                                                                                                 ่
ลักษณะของสิ่งแปลกปลอม ลักษณะทางกายวิภาคของทางเดินหายใจ อายุ และพัฒนาการของเด็ก สิ่งแวดลอม ตลอดจนการศึกษาของบิดา
มารดาหรือผูปกครอง ดังนั้นในเด็กอายุต่ํากวา 4 ป ไมควรใหอาหารที่มีลักษณะกลม ลื่นและแข็งซึ่งตองมีการบดเคี้ยว เชน ถั่ว ผลไมทมี
                                                                                                                                ี่
เมล็ด ลูกกวาด ลูกชิ้นไสกรอก อาหารที่มีเศษกระดูกหรือกางปลาติดอยู หมากฝรั่ง ควรตัดอาหารใหเปนชิ้นเล็ก ๆ พอดีคํา และฝกเด็กเคี้ยว
อาหารใหละเอียดกอนกลืนและควรเฝาระวังไมใหเด็กวิ่งเลน กระโดด หรือพูดคุยหัวเราะขณะเคียวอาหาร หลีกเลี่ยงของเลนที่มีขนาดเล็ก
                                                                                              ้
ซึ่งเด็กอาจนําเอาเขาปากและสําลักได เชน เหรียญ กระดุม ลูกปด แบตเตอรี่ เข็มกลัด ลูกโปง เปนตน เลือกอาหารและของเลนทีเ่ หมาะสม
กับวัยของเด็ก และเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนที่ถกตอง
                                                         ู
ภาวะแทรกซอน
            การเกิดภาวะแทรกซอนหลังจากมีวัตถุแปลกปลอมคางอยูในทางเดินหายใจนั้นพบไดรอยละ 2-40 % ขึ้นอยูกับความรุนแรง
                                                                
ของการอุดกั้นทางเดินหายใจและระยะเวลาที่วัตถุแปลกปลอมติดอยูกลาวคือถาสิ่งแปลกปลอมคางอยูนานโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจะ
ยิ่งสูงขึ้น
            ภาวะแทรกซอนที่รุนแรงไดแก การอุดกั้นทางเดินหายใจชนิดสมบูรณ ซึ่งถาไมใหการรักษาทันทีจะเกิด cardiac arrest และถึง
ชีวิตได สวนภาวะแทรกซอนที่พบบอยที่สุดคือ ภาวะติดเชือของทางเดินหายใจและปอด โดยอาจมีภาวะติดเชื้อของทางเดินหายใจอยูนาน
                                                      ้
หรือเปนหลายครั้งจนในที่สุดกลายเปน bronchiectasis นอกจากนี้ยังมีภาวะแทรกซอนอื่น ๆ ที่พบไดเชน persistent asthma-like symptom,
croup, pneumothorax และ atelectasis เปนตน
            สําหรับภาวะแทรกซอนที่เกิดตามหลังการรักษานั้นพบไดประมาณรอยละ 1-26 สวนใหญพบหลังการสองกลองหลอดลม
ไดแก hypoxemia, bleeding, bronchospasm, bronchial mucosal edema, atelectasis, pneumonia, laceration หรือ perforation of
tracheobronchial tree ทําใหเกิดpneumothorax, pneumomediastinum, subcutaneous emphysema, seizure, subglottic หรือ laryngeal
edema, cardiopulmonary arrest หรืออาจเสียชีวิตได
เอกสารอางอิง
    1.   Cotton RT, Rutter MJ. Foreign body aspiration.In: Chernick V, Boat TF, Wilmott RW, Bush A. Kendig’s disorders of the
         respiratory tract in children. 7th ed. Philadelphia:WB Saunders;2006.p.610-5.
    2.   guidelines 2000 for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiovascular care.Circulation 2000;102:276-8.
    3.   พนิดา ศรีสันต. Foreign body aspiration. อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ, ดุสิต สถาวร, จิตลัดดา ดีโรจนวงศ, ธีรชัย ฉันทโรจนศิริ.
         Pediatric pulmonology & respiratory care: a current practice.กรุงเทพฯ, บียอนด เอ็นเทอรไพรซ;2001.p.401-411.
    4. Holinger LD. Foreign bodies of the airway. In: Behrman RE, Kliegman RM, Jenson HB, eds. Nelson’s
       Textbook of Pediatrics. 17th ed. Philadelphia: WB saunders;2004.p.1410-1.

More Related Content

What's hot

โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 

What's hot (8)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 

Similar to Foreign Body

นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
หัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติหัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติvora kun
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116vora kun
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 

Similar to Foreign Body (20)

นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
หัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติหัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติ
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียง
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
Cpr newversion
Cpr newversionCpr newversion
Cpr newversion
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 

Foreign Body

  • 1. Foreign body aspiration การสําลักวัตถุแปลกปลอมในทางเดินหายใจเด็ก เปนปญหาที่พบไดเสมอและสามารถทําใหเกิดอันตรายถึงชีวิตได โดยอัตรา ตายประมาณ 2-10% ขึ้นอยูกับอายุ ตําแหนงและชนิดของวัตถุแปลกปลอม ในปจจุบันถึงแมอัตราการเสียชีวิตจะลดลงเรื่อย ๆ เนื่องจาก ความกาวหนาในดานเทคโนโลยีของอุปกรณตาง ๆ ตลอดจนการเผยแพรความรูดานการปองกันและการชวยเหลือเบื้องตนแตก็ยังพบ อุบัติการณของภาวะนี้ไดไมนอย ระบาดวิทยา อายุ การสําลักวัตถุแปลกปลอมสวนใหญเกิดในเด็กเล็กอายุนอยกวา 3 ป เนื่องจากวัยนี้ยังมีฟนกรามที่ไมสมบูรณทําใหการบดเคี้ยวทําได ไมดีรวมกับเปนวัยที่ชอบหยิบของเขาปากและวิ่งเลนหรือรอยตะโกนขณะมีของอยูในปาก เพศ เด็กชายพบมากกวาเด็กหญิงซึ่งอาจเปนเพราะมีนิสยซุกซนมากกวา ั ชนิดของวัตถุแปลกปลอม สวนใหญเปนอาหาร(organic substances) ไดแก ถั่วชนิดตาง ๆ ผลไม เศษอาหาร สวนนอยเปนinorganic substancesไดแก ชิ้นสวนของเลน เศษพลาสติก เข็ม ยางลบ ปลอกปากกา เปนตน ตําแหนงของวัตถุแปลกปลอม รอยละ 80-90% อยูบริเวณทางเดินหายใจสวนบนโดยสวนใหญพบบริเวณ main bronchus หรือ segmental bronchus และมักพบเพียง 1 ตําแหนง การวินิจฉัย การวินิจฉัยภาวะสําลักวัตถุแปลกปลอมอาศัยประวัติการสําลักวัตถุแปลกปลอมจากคนเลี้ยง พอ แม ผูเห็นเหตุการณ รวมกับ การตรวจรางกายและภาพรังสีประกอบกัน โดยในแตละสวนมีความไวและความจําเพาะดังตาราง ความไว ( % ) ความจําเพาะ ( % ) ประวัติสําลัก 96 76 อาการและอาการแสดง 84.2 11.7 ภาพรังสีทรวงอกผิดปกติ 70.3 62.5 ประวัติ ประวัติการสําลักวัตถุแปลกปลอมเปนสิ่งสําคัญที่สุดที่จะชวยประกอบการวินิจฉัยเนืองจากสวนใหญผูปวยมักมีประวัติสําลักวัตถุสิ่ง ่ แปลกปลอมโดยพบประมาณมากกวา 50 % สําหรับอาการนั้นขึ้นอยูกับขนาด ชนิด ตําแหนงและลักษณะของสิ่งแปลกปลอม ความรุนแรง ของการอุดกั้นทางเดินหายใจ ระยะเวลาที่สิ่งแปลกปลอมติดอยู โดยทั่วไปอาการของผูปวยสามารถแบงออกเปน 3 ระยะ 1. stage of aspiration ผูปวยจะสําลักและขยอนทันที ตามดวยอาการไออยางรุนแรงจนเขียว(coughing spell)อาจมีอาการหายใจ ลําบาก เสียงแหบ เสียง stridor หรือ wheezing รวมดวย ในรายที่สิ่งแปลกปลอมขนาดใหญอุดบริเวณกลองเสียงหรือ subglottis ทําใหผูปวยเขียวหมดสติทันทีและอาจเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วหากไมไดรับการชวยเหลือทันที 2. latent period อาการตาง ๆ จะหายไปจนใกลเคียงกับปกติเนื่องจากมีการปรับตัวของ surface sensory receptors ของทางเดิน หายใจ ใชเวลาเปนชั่วโมงหรืออาจยาวเปนเดือนได 3. stage of complication จะเริ่มปรากฎอาการของภาวะแทรกซอนเกิดขึ้นเชน ไอเรื้อรัง ปอดอักเสบ ถุงลมปอดแฟบ ผีในปอด ลม ในชองเยื่อหุมปอดเปนตน ตรวจรางกาย อาการแสดงขึ้นกับตําแหนงและความรุนแรงของการอุดกั้นทางเดินหายใจของวัตถุแปลกปลอม ดังตาราง ตําแหนงของวัตถุแปลกปลอม อาการและอาการแสดง Supraglottic Cough, dyspnea, drooling, gagging, voice change Larynx Stridor, cough, voice change, severe respiratory distress Intrathoracic trachea Expiratory wheeze, inspiratory noise Extrathoracic trachea Inspiratory strdor, expiratory noise
  • 2. bronchus Cough, localized breath sounds or wheeze, hyper-resonance esophagus Drooling, dysphagia, stridor, respiratory distress นอกจากนี้อาการแสดงยังขึ้นอยูกับภาวะแทรกซอนที่เกิดตามหลังการสําลักวัตถุแปลกปลอมดวย การตรวจทางรังสีวิทยา 1. ภาพรังสีทรวงอกทา AP(anteroposterior) หรือ PA(posteroanterior)ในขณะหายใจเขา(inspiration)และหายใจออก(expiration) 2 ทาเพื่อเปรียบเทียบกันสวนกรณีเด็กเล็กมากและไมใหความรวมมือในการถายภาพรังสีควรถายทา right และ left lateral decubitus การเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติไดแก hyperaeration, atelectasis, infiltration เปนตน 2. airway film ควรพิจารณาถายภาพรังสีทา AP และ lateral neck ในรายที่มีอาการของการอุดกั้นของหลอดลม ความผิดปกติที่พบ ไดแก การเปลี่ยนแปลงขนาดของ airway(focal narrowing), soft tissue ขางเคียงบวม(focal enlargement), อาจพบ radio- opaque foreign body ใน airway 3. fluoroscopy มีประโยชนมากกรณีเด็กเล็กไมใหความรวมมือในการถายฟลม และชวยในรายที่ภาพรังสีทรวงอกไมพบความ ผิดปกติ ซึ่งfluoroscopy มีความไว(sensitivity)รอยละ100 แตมีความจําเพาะเพียงรอยละ 71กรณีสงสัยมีสิ่งแปลกปลอมใน mainbronchus 4. การตรวจทางรังสีอื่น ๆ เชน CT, MRI, ventilation-perfusion scan การวินิจฉัยแยกโรค ขึ้นอยูกับชนิด ขนาดและตําแหนงที่อุดตันของสิ่งแปลกปลอม จากอาการและอาการแสดงที่พบสามารถใหการวินิจฉัยแยกโรค เปน 2 กลุม ดังนี้ 1. ในรายที่มีอาการเฉียบพลัน ตองวินิจฉัยแยกโรคจาก bronchial asthma, acute bronchitis, bronchiolitis, laryngitis, croupและ retropharyngeal abscess 2. ในรายที่ใหการวินิจฉัยโรคไดชา อาจมีลักษณะอาการคลายโรคเหลานี้คือ bronchial asthma, chronic bronchitis, recurrent/persistent pneumonia, atelectasis, pulmonary emphysema, lung abscess, endobronchial tuberculosis และ bronchial granuloma แนวทางการชวยเหลือเบื้องตน การชวยเหลือเบื้องตนขึ้นกับอายุเด็กและภาวะอุดตันของทางเดินหายใจดังนี้ 1. เด็กทุกกลุมอายุที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจไมเต็มที่ ยังหายใจไดเอง พูดได ไอไดแรงดี ควรแนะนําใหเด็กไอแรง ๆ เพื่อใหวัตถุแปลกปลอมหลุดออกมา หามใชนิ้วมือเขาไปควานหาวัตถุแปลกปลอมในปากและคอโดยที่ยังมองไมเห็น เพราะอาจดันใหวัตถุแปลกปลอมที่คางอยูในคอเคลื่อนลึกลงไป ทําใหเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจอยางเต็มที่ได 2. เด็กอายุตากวา 1 ป ที่มีอาการแสดงของทางเดินหายใจอุดตันเต็มที่ คือไอไมได รองไมมีเสียง หายใจไมสะดวก หนาเขียว ่ํ และอาจหมดสติ ใหทําการชวยเหลือวิธี “ five back blows and five chest thrusts” ตามขั้นตอนดังนี้ 2.1 จับเด็กนอนคว่ําหนาบนแขนของผูใหการชวยเหลือ ใหศีรษะต่ํากวาลําตัว ใชมือจับบริเวณขากรรไกรของเด็กเพื่อยึดให ศีรษะและคอของเด็กนิ่งไมเคลื่อนไหว (ในรายที่เด็กตัวโต อาจจับเด็กนอนคว่ําบนตักโดยใหศีรษะต่ํากวาลําตัว) 2.2 ใชสนฝามือตบแรง ๆ บริเวณทรวงอกดานหลังระหวางกระดุกสะบักตอเนื่อง 5 ครั้ง ดังรูป
  • 3. 2.3 ถายังหายใจไมไดใหใชมือและแขนอีกขางของผูใหการชวยเหลือจับศีรษะและแผนหลังของเด็กใหอยูระหวางแขนทั้ง 2 ขาง แลวพลิกตัวเด็กกลับมานอนหงาย 2.4 ใชนิ้วมือ 2 นิ้วกระแทกหนาอกเด็กบริเวณ sternum สวนลางต่ํากวาระดับ nipples เล็กนอย (การกระแทกทําเชนเดียวกับ การทํา Cardiopulmonary resuscitation) ทําติดตอกัน 5 ครั้ง ดังรูป ถาวัตถุแปลกปลอมยังไมหลุดออกจากทางเดินหายใจใหทําซ้ําขอ 2.1-2.4 จนกระทั่งวัตถุแปลกปลอมหลุดออกมาไดหรือ เด็กหมดสติ ในกรณีเด็กหมดสติ ใหยกคางขึ้นโดยใช tongue-jaw lift technique เปดปาก ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมในปากใหใชนิ้วมือ หยิบออกและชวยหายใจตอจนหายใจไดเองแตถาวัตถุแปลกปลอมยังคางอยูใหทํา five back blows and five chest thrusts ซ้ํา และชวยหายใจแลวรีบนําสงโรงพยาบาล 3. เด็กอายุมากกวา 1 ปที่มีอาการแสดงของทางเดินหายใจอุดตันเด็มที่ 3.1 Heimlich maneuver หรือ subdiaphragmatic abdominal thrusts สําหรับเด็กที่ยังรูสึกตัว มีขั้นตอนดังนี้ 1) ยืนขางหลังเด็กสอดแขนใตรักแรของเด็กเพื่อโอบรอบลําตัวเด็กบริเวณเอว 2) กํามือขางหนึ่งใหดานนิ้วหัวแมมือ วางบนทองเด็กบริเวณกึ่งกลางสูงกวาสะดือเล็กนอย ใกลกับปลายของกระดูก หนาอก (Xyphoid process)
  • 4. 3) ใชอีกมือจับมือขางที่กําอยูแลวกระแทกขึ้นดานบนเร็ว ๆ เปนจังหวะตอเนื่องกัน 5 ครั้ง ดังรูป (ระวังอยากระแทกโดน xyphoid process และขอบลางของกระดูกซี่โครงสุดทาย เพื่อปองกันไมใหมีการบาดเจ็บของอวัยวะภายในชองทอง) 4) เปดดูภายในชองปากโดยวิธี tongue-jaw lift technique ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมใหหยิบออกแลวชวยหายใจจนเด็ก หายใจไดเอง แตถายังมีวัตถุแปลกปลอมคางอยูใหทํา Heimlich maneuverซ้ําจนกระทั่งสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา หรือเด็กหมดสติไป 3.2 abdominal thrusts สําหรับเด็กที่ไมรูสึกตัว มีขั้นตอนดังนี้ 1) จับเด็กนอนหงาย เปดปากโดย tongue-jaw lift technique ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมอยูในปากใหหยิบออก หามใชนิ้วมือ ควานหาโดยมองไมเห็น 2) นั่งคุกเขาดานขางของเด็กหรือครอมตัวเด็ก 3) วางสนฝามือบนหนาทองเด็กบริเวณกึงกลางสูงกวาสะดือเล็กนอย ใกลกับปลายของกระดูกหนาอก (Xyphoid process) ่ แลวใชมืออีกขางวางทับแลวกระแทกเร็ว ๆ ขึ้นดานบนประมาณ 5 ครั้ง ดังรูป 4) เปดปากโดยวิธี tongue-jaw lift technique ถาเห็นวัตถุแปลกปลอมหลุดออกมาใหหยิบออกแลวชวยหายใจจนเด็กหายใจ ไดเอง แตถายังมีวัตถุแปลกปลอมคางอยูใหทํา abdominal thrustsซ้ําจนกระทั่งสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาและชวยหายใจ ตอไป การรักษา 1. การสองกลองหลอดลม (bronchoscopy) วิธีที่ปลอดภัยที่สุดคือ การใช ventilating rigid bronchoscope ภายใต general anesthesia โดยใหผูปวยหายใจเองและให หลีกเลี่ยงการใช positive pressure ventilation เพราะจะทําใหสิ่งแปลกปลอมถูกดันเขาไปลึกมากขึ้นรวมทั้งอาจเกิด hyperexpansion ของปอดได
  • 5. ในระหวางสองกลองหลอดลมจําเปนตองสองดูหลอดลมคอทั้ง 2 ขางดวยเสมอเพราะมีโอกาสที่จะพบสิ่งแปลกปลอมได มากกวา 1 ชิ้นและควรระมัดระวังไมใหมีการแตกหรือแยกของสิ่งแปลกปลอมขณะกําจัดออก ภายหลังการกําจัดสิ่ง แปลกปลอมออกแลวควรสองกลองซ้าอีกครั้งเพื่อตรวจดูวายังคงมีสิ่งแปลกปลอมตกคางอยูหรือไม ในบางรายที่ยงคงมีอาการ ํ ั แสดงปรากฎหรือภาพรังสีทรวงอกผิดปกติ อาจจําเปนตองทําการสองกลองหลอดลมซ้ําในภายหลัง หมายเหตุ ไมควรทํากายภาพบําบัดทรวงอก(chest physiotherapyไดแก inhalation, postural drainage และ percussion)ในผูปวย ที่มีหรือสงสัยวาจะมีการสําลักวัตถุแปลกปลอมกอนการสองกลองอยางเด็ดขาดเนื่องจากอาจทําใหเกิดการอุดกั้นของทางเดิน หายใจชนิดสมบูรณและเกิดหัวใจหยุดเตนได ใหพิจารณาทําภายหลังการสองกลองแลว เพื่อชวยระบายเสมหะคั่งคางและ แกปญหาปอดแฟบ(atelectasis) 2. การผาตัด open thoracotomy ทํากรณีที่วัตถุแปลกปลอมเขาไปติดอยูบริเวณหลอดลมสวนปลายไมสามารถกําจัดไดโดยการสองกลอง หรือกรณีมีสิ่ง แปลกปลอมติดอยูเปนเวลานานทําใหเกิดการอักเสบเรื้อรังเกิด granulation tissue และ fibrosis ซึ่งเสี่ยงตอการเกิดการฉีกขาด ของหลอดลมในระหวางการสองกลอง หรือในรายที่เกิดภาวะแทรกซอนขึ้นเชน hemoptysis, persistent/recurrent pneumonia, atelectasis, bronchiectasis ของปอดสวนใดสวนหนึ่งที่จําเปนตองไดรับกรผาตัดวิธี open thoracotomy เพื่อตัดปอดสวนนั้น ๆ ออก การปองกัน การปองกันเปนสิ่งสําคัญที่สุดและไดผลดีที่สุดในการลดอุบัติการณของภาวะนี้ ปจจัยเสียงตอการสําลักขึ้นกับชนิดและ ่ ลักษณะของสิ่งแปลกปลอม ลักษณะทางกายวิภาคของทางเดินหายใจ อายุ และพัฒนาการของเด็ก สิ่งแวดลอม ตลอดจนการศึกษาของบิดา มารดาหรือผูปกครอง ดังนั้นในเด็กอายุต่ํากวา 4 ป ไมควรใหอาหารที่มีลักษณะกลม ลื่นและแข็งซึ่งตองมีการบดเคี้ยว เชน ถั่ว ผลไมทมี ี่ เมล็ด ลูกกวาด ลูกชิ้นไสกรอก อาหารที่มีเศษกระดูกหรือกางปลาติดอยู หมากฝรั่ง ควรตัดอาหารใหเปนชิ้นเล็ก ๆ พอดีคํา และฝกเด็กเคี้ยว อาหารใหละเอียดกอนกลืนและควรเฝาระวังไมใหเด็กวิ่งเลน กระโดด หรือพูดคุยหัวเราะขณะเคียวอาหาร หลีกเลี่ยงของเลนที่มีขนาดเล็ก ้ ซึ่งเด็กอาจนําเอาเขาปากและสําลักได เชน เหรียญ กระดุม ลูกปด แบตเตอรี่ เข็มกลัด ลูกโปง เปนตน เลือกอาหารและของเลนทีเ่ หมาะสม กับวัยของเด็ก และเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนที่ถกตอง ู ภาวะแทรกซอน การเกิดภาวะแทรกซอนหลังจากมีวัตถุแปลกปลอมคางอยูในทางเดินหายใจนั้นพบไดรอยละ 2-40 % ขึ้นอยูกับความรุนแรง  ของการอุดกั้นทางเดินหายใจและระยะเวลาที่วัตถุแปลกปลอมติดอยูกลาวคือถาสิ่งแปลกปลอมคางอยูนานโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจะ ยิ่งสูงขึ้น ภาวะแทรกซอนที่รุนแรงไดแก การอุดกั้นทางเดินหายใจชนิดสมบูรณ ซึ่งถาไมใหการรักษาทันทีจะเกิด cardiac arrest และถึง ชีวิตได สวนภาวะแทรกซอนที่พบบอยที่สุดคือ ภาวะติดเชือของทางเดินหายใจและปอด โดยอาจมีภาวะติดเชื้อของทางเดินหายใจอยูนาน ้ หรือเปนหลายครั้งจนในที่สุดกลายเปน bronchiectasis นอกจากนี้ยังมีภาวะแทรกซอนอื่น ๆ ที่พบไดเชน persistent asthma-like symptom, croup, pneumothorax และ atelectasis เปนตน สําหรับภาวะแทรกซอนที่เกิดตามหลังการรักษานั้นพบไดประมาณรอยละ 1-26 สวนใหญพบหลังการสองกลองหลอดลม ไดแก hypoxemia, bleeding, bronchospasm, bronchial mucosal edema, atelectasis, pneumonia, laceration หรือ perforation of tracheobronchial tree ทําใหเกิดpneumothorax, pneumomediastinum, subcutaneous emphysema, seizure, subglottic หรือ laryngeal edema, cardiopulmonary arrest หรืออาจเสียชีวิตได
  • 6. เอกสารอางอิง 1. Cotton RT, Rutter MJ. Foreign body aspiration.In: Chernick V, Boat TF, Wilmott RW, Bush A. Kendig’s disorders of the respiratory tract in children. 7th ed. Philadelphia:WB Saunders;2006.p.610-5. 2. guidelines 2000 for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiovascular care.Circulation 2000;102:276-8. 3. พนิดา ศรีสันต. Foreign body aspiration. อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ, ดุสิต สถาวร, จิตลัดดา ดีโรจนวงศ, ธีรชัย ฉันทโรจนศิริ. Pediatric pulmonology & respiratory care: a current practice.กรุงเทพฯ, บียอนด เอ็นเทอรไพรซ;2001.p.401-411. 4. Holinger LD. Foreign bodies of the airway. In: Behrman RE, Kliegman RM, Jenson HB, eds. Nelson’s Textbook of Pediatrics. 17th ed. Philadelphia: WB saunders;2004.p.1410-1.