SlideShare a Scribd company logo
สูตรการคานวณใน Excel 2003
1
1. ประเภทของสูตรคานวณ
 สูตรคานวณแบบ Formula
เป็นสูตรคานวณอย่างง่ายไม่ซับซ้อน โดยใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ เช่น +(บวก) –(ลบ) *(คูณ) /(หาร)
และ ^ (ยกกาลัง) สูตรคานวณขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย = เสมอ ตามด้วยค่าตัวแปร 2 หรือมากกว่าสองตัว ตัวแปร
แต่ละตัวถูกคั่นด้วยตัวดาเนินการ ซึ่งอาจจะเป็นค่าคงที่ ข้อความ ตาแหน่งเซล ชื่อเซล หรือฟังก์ชั่นก็ได้ โดยใช้ตัว
ดาเนินการมาประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์บนเซลที่เลือกไว้
ตัวอย่าง
=5*10 หมายถึง นา 5 ไปคุณกับ 10
=A2*B2 หมายถึง นาค่าตัวเลขที่เก็บในเซล A2 ไป
คูณกับค่าตัวเลขในเซล B2
 สูตรคานวณแบบ Function
คือการสร้างสูตรคานวณด้วย Function (ฟังก์ชัน) คานวณต่าง ๆ ที่ได้ออกแบบและติดตั้งมาในโปรแกรม
Excel เรียบร้อยแล้ว
ตัวอย่าง
=SUM(B2:B5) หมายถึง ให้หาผลรวมจากค่าในเซล
B1 จนถึง B5
=AVERAGE(B2:B5) หมายถึง ให้หาค่าเฉลี่ยตัวเลข
จากค่าในเซล B2 ถึง B5
2. องค์ประกอบภายในสูตรคานวณ
o ตัวควบคุม-> เครื่องหมาย ( ) ใช้จัดลาดับ
ก่อนหลังของการดาเนินการให้กับสูตร
o ตัวดาเนินการ -> เครื่องหมายทาง
คณิตศาสตร์เพื่อใช้ในการคานวณ เช่น +(บวก) –
(ลบ) *(คูณ) /(หาร) และ ^ (ยกกาลัง)
o ฟังก์ชัน -> ฟังก์ชันหรือสูตรสาเร็จในการคานวณ ซึ่งมีทั้งฟังก์ชันพื้นฐาน เช่น SUM, AVERAGE, MIN, MAX
หรือฟังก์ชันขั้นสูง เช่น DB, FV, PMT, NPER
สูตรคานวณและฟังก์ชั่น ตอนที่ 1
สูตรการคานวณใน Excel 2003
2
3. ตัวดาเนินการในการคานวณ
 ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง
% เปอร์เซ็นต์ 10%
^ เลขชี้กาลัง 5^2 (หรือ 5*5)
* การคูณ 2*3
/ การหาร 6/3
+ การบวก 3-2
- การลบ 5-2 หรือ -1
 ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง
= เท่ากับ A1=B1
> มากกว่า A1>B1
< น้อยกว่า A1<B1< font>
>= มากกว่าหรือเท่ากับ A1>=B1
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ A1<=B1
<> ไม่เท่ากับ A1<>B1
 ตัวดาเนินการข้อความ
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง
& เชื่อมหรือนาคา 2 คามาต่อกันทาให้เกิดค่า
ข้อความต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียว
"Tele" & "phone"
ผลลัพธ์เป็น Telephone
 ตัวดาเนินการอ้างอิง
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง
: (จุดคู่) ตัวดาเนินการช่วง โดยจะอ้างอิงเป็นช่วง
ระหว่างจุดอ้างอิงที่หนึ่งกับจุดอ้างอิงที่สอง
A1:A5
, (จุลภาค) ตัวดาเนินการส่วนรวม ซึ่งเป็นตัวรวมการอ้างอิง
หลาย ๆ ชุดเข้าด้วยกันเป็นการอ้างอิงหนึ่งชุด
SUM(B1:B5,C1:C5)
(ช่องว่างเดียว) ตัวดาเนินการส่วนร่วม ซึ่งเป็นตัวสร้างการ
อ้างอิงไปยังเซลล์ที่มีอยู่ในช่วงการอ้างอิงทั้ง
สองชุด
SUM(B1:B5 A5:D7)
ในตัวอย่างนี้B5, B6 และ B7
อยู่ในช่วงของทั้งสอง
สูตรการคานวณใน Excel 2003
3
4. การสร้างสูตรคานวณ
สูตรคานวณใน Excel จะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย = เสมอ มีวิธีดังนี้
1. คลิกที่เซลที่จะใส่สูตร
2. พิมพ์เครื่องหมาย = ตามด้วยสูตรคานวณ โดยพิมพ์ลงในเซลหรือแถบสูตรก็ได้ เช่น = B3*C3
3. คลิกที่ปุ่ม หรือกดปุ่ม Enter ที่คีย์บอร์ด หากต้องการพิมพ์สูตรใหม่ให้คลิกปุ่ม Cancel หรือกดคีย์
Esc บนคีย์บอร์ด เพื่อยกเลิกสูตร
5. การเลือกเซลมาคานวณด้วยเมาส์
นอกจากการพิมพ์ตาแหน่งเซลอ้างอิงแล้วเราสามารถใช้เมาส์คลิกเลือกเซลเพื่อนามาอ้างอิงในสูตรได้ ซึ่ง
แม่นยาและรวดเร็วและป้ องกันความผิดพลาดได้มากกว่า ดังตัวอย่าง
สูตรการคานวณใน Excel 2003
4
6. การคัดลอกสูตรคานวณ
 การคัดลอกสูตรด้วยเมาส์
เหมาะกับการคัดลอกสูตรไปยังเซลที่อยู่ติดกัน
 การพิมพ์สูตรและคัดลอกพร้อมกัน
เราสามารถสร้างสูตรคานวณและสั่งคัดลอกได้ภายในการทางานแค่ครั้งเดียวได้ดังนี้
 การคัดลอกสูตรข้ามเวิร์กชีต
1. คลิกที่ขวาเซลสูตรต้นฉบับแล้วคลิกเลือก Copy
2. คลิกเลือกที่เวิร์กชีตปลายทางอีกชีตหนึ่ง
3. เลือกที่พื้นที่เซลที่จะวางสูตร
4. คลิกขวาที่เซลนั้นแล้วเลือก Paste
สูตรการคานวณใน Excel 2003
5
7. การอ้างอิงเซลที่ใช้ในสูตร
 การอ้างอิงเซลแบบสัมพัทธ์ (Relative Reference)
การอ้างอิงแบบสัมพัทธ์ คือ การอ้างอิงไปที่เซลล์ใดหรือช่วงเซลล์ใดก็ตามเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การ
ย้ายหรือคัดลอกสูตร จะทาให้ตาแหน่งการอ้างอิงเปลี่ยนแปลงไปตามความสัมพัทธ์ของการย้ายหรือคัดลอก
ตัวอย่างเช่น
 การอ้างอิงเซลแบบสัมบูรณ์ (Absolute Reference)
การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์คือ การล็อคตาแหน่งของการอ้างอิงโดยใช้เครื่องหมายดอลลาร์ ($) หรือที่เรียกกัน
โดยทั่วไปว่า สตริง โดยใส่เข้าไปในตาแหน่งของเซลล์ที่ถูกอ้างอิง ซึ่งเมื่อมีการย้ายหรือคัดลอกสูตร ตาแหน่งที่ถูก
อ้างอิงจะไม่เปลี่ยนแปลง จากตารางเดิมจะแสดงให้เห็นผลลัพธ์จากการใช้การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์ดังนี้
การอ้างชื่อเซล ความหมาย
$C$3 เซล C3 อย่างเฉพาะเจาะจง
$A3 เซลในคอลัมน์ A อย่างเฉพาะเจาะจง (แถวเปลี่ยนแปลงได้)
A$3 เซลในแถวที่ 3 อย่างเฉพาะเจาะจง (คอลัมน์เปลี่ยนแปลงได้)
$D$5:$D$12 กลุ่มเซล D5 ถึง D12 อย่างเฉพาะเจาะจง
Sheet1!$D$1:$D$5 กลุ่มเซล D1 ถึง D5 ในเวิร์กชีตชื่อ sheet1 อย่างเฉพาะเจาะจง
สูตรการคานวณใน Excel 2003
6
8. วิธีการอ้างอิงเซล
 อ้างอิงเซลที่อยู่ในเวิร์คชีต(Sheet) เดียวกัน
เป็นการใช้ข้อมูลของเซลที่อยู่ในเวิร์คชีตเดียวกันในการคานวณ
โดยสูตรที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วยตาแหน่งอ้างอิงของเซล
 อ้างอิงเซลที่อยู่ต่างเวิร์คชีตกัน
เราสามารถสร้างสูตรโดยใช้ข้อมูลจากเวิร์คชีตอื่นในการ
คานวณ โดยสูตรที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วย ชื่อเวิร์คชีต แล้วตาม
ด้วยเครื่องหมาย ! และ ตาแหน่งอ้างอิงของเซล
การอ้างอิงเซลที่อยู่ต่างเวิร์คชีตกัน ให้คลิกเซลที่ต้องการอ้างอิงได้เลย โปรแกรมจะลิงค์ให้อัตโนมัติ ตัวอย่าง
ต้องการหาผลรวมของเงินเดือนพนักงานทุกเดือนไว้ที่เวิร์คชีตชื่อ รวมเงินเดือน54 โดยที่จะมีการสรุปเงินเดือนใน
แต่ละเดือนไว้คนละเวิร์คชีต ตั้งชื่อเวิร์คชีตตามชื่อเดือน เช่น เงินเดือนมกราคม เงินเดือนกุมภาพันธ์
1. คลิกที่เซลในเวิร์คชีตที่
ต้องการคานวณเงินเดือน
แล้วพิมพ์สูตร ในที่นี้คือ
=SUM(
2. คลิกที่เวิร์คชีต เงินเดือน
มกราคมแล้วลากเมาส์คลุม
เซลที่ต้องการนามาคานวณ
3. กด Enter จะได้ผลรวม
เงินเดือนของเดือนมกราคม
สูตรการคานวณใน Excel 2003
7
 อ้างอิงเซลที่อยู่ต่างไฟล์กัน
เมื่อใช้ข้อมูลในไฟล์อื่นในการสร้างสูตร สามารถทา
ได้ โดย จะมีชื่อไฟล์ที่ถูกลิงค์อยู่ในเครื่องหมาย [ ] ตาม
ด้วยชื่อเวิร์คชีต และตาแหน่งอ้างอิงของเซลจะต้องใส่
เครื่องหมาย $ ซึ่งเป็นการล๊อคเซลตาแหน่งเซล
ต้องการหาผลรวมของเงินเดือนพนักงานทุกเดือนไว้ที่เวิร์คชีตชื่อไฟล์ชื่อ excel2.xls โดยมีเวิร์คชีตชื่อ รวม
เงินเดือน54 โดยที่จะมีเวิร์คชีตการสรุปเงินเดือนไว้ในไฟล์ชื่อ ดึงข้อมูลข้ามไฟล์.xls ที่เวิร์คชีตชื่อ sheet1 จะมี
วิธีการอ้างอิงเซลข้ามไฟล์ดังนี้
1. คลิกที่เซลในเวิร์คชีตที่ต้องการคานวณเงินเดือน แล้วพิมพ์สูตร ในที่นี้คือ =SUM(
2. คลิกไฟล์ที่ชื่อ ดึงข้อมูลข้ามไฟล์ ที่เปิดไว้แล้ว ที่เวิร์คชีตชื่อ sheet1 แล้วลากเมาส์คลุมเซลที่
ต้องการนามาคานวณ
3. กด Enter จะได้ผลรวมเงินเดือนของเดือนมกราคม ออกมาปรากฏอยู่เซลที่พิมพ์สูตรในไฟล์
excel2.xls ในเวิร์คชีต ชื่อ อ้างอิงเซลข้ามไฟล์
 อ้างอิงโดยใช้ชื่อกลุ่มเซล
เราสามารถตั้งชื่อให้กับกลุ่มของเซล เพื่อนาไปใช้อ้างอิงในสูตรได้ ซึ่งจะทา
ให้สะดวกต่อการใช้งานยิ่งขึ้น โดยสูตรที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วยชื่อกลุ่มเซล
โดยลากเมาส์คลุมที่กลุ่มเซลที่ต้องการแล้วคลิกที่เมนู Insert > Name>Define
ป้ อนชื่อที่ต้องการ กด OK และเรียกใช้โดย
สูตรการคานวณใน Excel 2003
8
ตัวอย่าง ต้องการสร้างสูตรคานวณผลรวมเงินเดือนของพนักงานทุกคน สามารถกาหนดกลุ่มเซลที่แสดงเงินเดือน
ของพนักงาน เพื่อนาชื่อมาอ้างอิงตอนสร้างสูตรโดยใช้ฟังก์ชัน SUM ได้ดังนี้
1. ลากเมาส์คลุมกลุ่มเซลที่แสดงเงินเดือนของพนักงานแต่ละคนในที่นี้คือ B2 ถึง B9 แล้วคลิกที่เมนู Insert
> Name > Define
2. จะได้กล่อง Define Name เพื่อให้พิมพ์ชื่อเซลที่ต้องการในที่นี้พิมพ์ชื่อเชลล์คือ salary แล้วกด OK
3. พิมพ์สูตรลงช่องเซลที่ต้องการในที่นี้คือ เซล B10 พิมพ์สูตร =SUM( แล้วคลิกที่Insert>Name>Paste เพื่อ
เลือกที่เซลที่กาหนดไว้ก่อนหน้า
4. คลิกที่ชื่อเซล salary แล้วกดปุ่ม OK ชื่อเซลจะปรากฏในสูตร =SUM(salary) แล้วกดปุ่ม Enter จะได้
ผลลัพธ์ออกมา
9. การสร้างสูตรคานวณ
 การพิมพ์สูตรด้วยตัวเอง
1. คลิกเมาส์ลงในเซลที่จะให้แสดงผลลัพธ์
2. จากนั้นคลิกที่แถบสูตร พิมพ์สูตรตามตัวอย่างคือ =B2-(C2+D2+E2)
3. เสร็จแล้วกดปุ่ม Enter จะได้ผลลัพธ์ออกมา
สูตรการคานวณใน Excel 2003
9
10. สูตรแบบอาร์เรย์
หลักการ คือ สร้างสูตรเพียงสูตรเดียวในเซลที่ต้องการหาผลลัพธ์ จากนั้นโปรแกรมจะคานวณออกมาแสดง
เฉพาะเซลที่เลือกไว้เท่านั้น
 กฎการใช้สูตรอาร์เรย์
- ต้องกดคีย์ Ctrl+Shift+Enter เพื่อนาสูตรลงไปในเซลที่เลือกเสมอ
- ต้องเลือกช่วงของเซลเพื่อที่จะใช้แสดงผลลัพธ์ไว้ก่อนที่จะสร้างสูตร
- เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเนื้อหาหรือในเซลผลลัพธ์ของสูตรอาร์เรย์ได้ยกเว้นนาสูตรขึ้นมา
แก้ไขแล้วกดคีย์ Ctrl+Shift+Enter นาสูตรกลับลงไปใหม่อีกครั้ง
- การย้ายหรือลบสูตรอาร์เรย์ ต้องย้ายและลงทีเดียวทั้งหมด ไม่สามารถย้ายหรือลบสูตรบางส่วนได้
สูตรการคานวณใน Excel 2003
10
 การสร้างสูตรอาร์เรย์แบบเซลเดียว
1. คลิกที่เซลที่จะให้แสดงผลลัพธ์
2. พิมพ์สูตรที่บริเวณแถบสูตร คือ =SUM(C2:C7*D2:D9)
3. กดปุ่ม Ctrl+Shift+Enter พร้อมกันทุกครั้งเมื่อพิมพ์สูตรจบโปรแกรมจะสร้าง {} ครอบสูตรให้อัตโนมัติ
4. ผลลัพธ์จะได้แสดงขึ้นมาตามต้องการ
 การสร้างสูตรอาร์เรย์แบบหลายเซล
1. แดรกเมาส์คลุมเซลที่จะให้แสดงผลลัพธ์ในที่นี้คือ E2:E8
2. พิมพ์สูตรที่บริเวณแถบสูตร คือ =C2:C7*D2:D7
3. กดปุ่ม Ctrl+Shift+Enter พร้อมกันเมื่อพิมพ์สูตรจบโปรแกรมจะสร้าง {} ครอบสูตรให้อัตโนมัติ
4. ผลลัพธ์จะได้แสดงขึ้นมาตามต้องการ
สูตรการคานวณใน Excel 2003
11
 การแก้ไขสูตรอาร์เรย์ผลลัพธ์เซลเดียว
1. ดับเบิ้ลคลิกเซลที่เก็บสูตรหรือกดคีย์ F2 เพื่อนาสูตรมาแก้ไข ซึ่งจะแก้ไขบนเซลหรือบนแถบสูตร
2. เมื่อแก้ไขเสร็จแล้วกดปุ่ม Ctrl+Shift+Enter อีกครั้ง
 การแก้ไขสูตรอาร์เรย์ผลลัพธ์หลายเซล
1. เลือกเซลที่เป็นผลลัพธ์เซลใดเซลหนึ่งแล้วกด F2 เพื่อนาสูตรมาแก้
2. แก้ไขสูตรตามต้องการ
3. กดปุ่ม <Ctrl>,<Shift>,<Enter> พร้อมกันที่คีย์บอร์ด
 การลบสูตรอาร์เรย์
1. แดรกเมาส์คลุมเซลที่เป็นผลลัพธ์ทั้งหมด
2. เลือกที่แถบเมนู Edit > Clear > all
 การค้นหาเซลอ้างอิงในสูตรด้วย Trace Precedents
1. คลิกที่เซลที่ต้องการค้นหาเซลที่ถูกอ้างอิงมา
2. คลิกที่ Tools > Formula Auditing > Trace Precedent
3. จะเห็นลูกศรสีน้าเงินชี้ไปยังเซลที่ถูกอ้างอิงมา
4. ถ้าต้องการลบลูกศรออกเลือกที่ Tools > Formula Auditing > Remove All Arrows
สูตรการคานวณใน Excel 2003
12
 การกาหนดให้ทุกเซลแสดงสูตรขึ้นมา
1. คลิกบนชีทงานบริเวณใดก็ได้
2. คลิกที่ Tools > Formula Auditing > Formula Auditing Mode
3. ทุกเซลที่มีสูตรซ่อนอยู่ภายในก็จะแสดงออกมาพร้อมกัน
4. ถ้าต้องกาให้ซ่อนเหมือนเดิมก็ทาตามข้อ 2 อีกครั้ง
สูตรการคานวณใน Excel 2003
13
ฟังก์ชันใน Excel
1. ฟังก์ชัน BAHTTEXT : แปลงตัวเลขให้เป็นคาอ่านภาษาไทย
รูปแบบ =BAHTTEXT(Number)
Number คือ ตัวเลขหรือเซลที่เก็บค่าตัวเลขที่จะนามาแปลงเป็นคาอ่าน
ตัวอย่าง
2. ฟังก์ชัน ROUND : ปัดเศษทศนิยมตามจานวนหลักที่ต้องการ
รูปแบบ =ROUND(Number,Num_digits)
Number ตัวเลขหรือเซลที่เก็บค่าตัวเลขที่ต้องการให้ปัดเศษ,
Num_digits จานวนหลักของทศนิยมที่ต้องการปัดเศษ
ถ้า Num_digits เท่ากับ 0 ตัวเลขจะเป็นจานวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุด
ถ้า Num_digits มากกว่า 0 ตัวเลขจะเท่ากับที่ระบุ
ถ้า Num_digits น้อยกว่า 0 ตัวเลขจะปัดไปทางซ้ายตามจานวนหลักที่ระบุ
ตัวอย่าง
สูตรการคานวณใน Excel 2003
14
3. ฟังก์ชัน VLOOKUP : ค้นหาข้อมูลตามแนวคอลัมน์
VLOOKUP (lookup_value,table_array,row_index_num,range_lookup)
ค่าตรรกะ มี 2 ค่า
- ถ้าระบุเป็น True หรือ 1 หรือไม่ใส่ จะส่งค่าที่ตรงกันหรือใกล้เคียงกันกลับมา
- ถ้าระบุเป็น FALSE หรือ 0 จะส่งค่าที่ตรงกันกลับมาเท่านั้น ถ้าไม่พบจะส่งค่า #N/A มา
ตัวอย่าง : ต้องการค้นหารหัสพนักงานโดยพิมพ์รหัสพนักงานในเซล C12 แล้วให้แสดงเงินเดือนของพนักงานค้น
นั้น ๆ ออกมาที่เซล D12 มีวิธีทาดังนี้
1 คลิกเมาส์ที่เซล D12
2 พิมพ์สูตรที่ช่องสูตร คือ =VLOOKUP(C12,A2:D9,4,FALSE)
3 พิมพ์รหัสพนักงานที่ต้องการแล้วโปรแกรมจะแสดงเงินเดือนในช่องเงินเดือนที่ได้รับ
สูตรการคานวณใน Excel 2003
15
Workshop
 Workshop 1 : คานวณโบนัสให้กับพนักงาน
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง
VLOOKUP ค้นหาข้อมูลในแนวคอลัมน์
IF ตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงหรือเท็จ
1. สร้างเกณฑ์พิจารณาของการตัดเกรดตามตัวอย่าง
2. สร้างตารางและกรอกข้อมูลดังรูป ซึ่งในที่นี้จะกรอกคะแนนประเมินและเงินเดือนปัจจุบัน
3. คลิกเม้าส์ที่เซล E9 เพื่อเริ่มใส่สูตรตัดเกรด
4. พิมพ์สูตร =IF(C9>=80,"A",IF(C9>=70,"B",IF(C9>=60,"C",IF(C9>=50,"D"))))
5. กดปุ่ม Enter ที่คีย์บอร์ดจะได้เกรดพนักงานออกมา
6. คัดลอดสูตรมาด้านล่างจะได้เกรดพนักงานคนอื่น ๆ
7. คลิกที่เซล F9
สูตรการคานวณใน Excel 2003
16
8. พิมพ์สูตร =VLOOKUP(E9,$D$3:$E$6,2,0)*G9 แล้วกด Enter
9. คัดลอกสูตรลงมาด้านล่าง จะได้โบนัสของพนักงานทุกคน
10. คานวณยอดสุทธิ โดยคลิกที่เซล H9
11. พิมพ์สูตร =F9+G9
12. กดปุ่ม Enter แล้วคัดลอกสูตรลงมาจะได้ยอดเงินเดือนรวมกับเงินโบนัส
 Workshop 2 : ทาใบส่งสินค้า/ใบกากับภาษี
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง
VLOOKUPค้นหาข้อมูลในแนวคอลัมน์
ROUND ปัดเศษทศนิยมตามจานวนหลักที่ต้องการ
BAHTTEXT แปลงตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
1 สร้างฐานข้อมูลสินค้าและออกแบบแบบฟอร์มเอกสารให้เรียบร้อย
สูตรการคานวณใน Excel 2003
17
2 คลิกที่เซล G9 แล้วพิมพ์สูตร =VLOOKUP(VLOOKUP(F9,$A$2:$C$11,2,FALSE)) ลงไปเพื่อกาหนดให้
แสดงรายการสินค้าขึ้นมาเพื่อพิมพ์รหัส
3 จากนั้นคลิกที่เซล I9 แล้วพิมพ์สูตร =VLOOKUP(F9,A2:C11,3,FALSE) ลงไปเพื่อให้แสดงราคาต่อหน่วย
ขึ้นมาเมื่อพิมพ์รหัส
สูตรการคานวณใน Excel 2003
18
4 ให้พิมพ์สูตรดังนี้
5 เสร็จแล้วทดลองกรอกรหัสสินค้าและจานวนสินค้าลงไป
6 รายละเอียดอื่น ๆ จะแสดงขึ้นมาจากสูตรที่เรากาหนดไว้

More Related Content

What's hot

วิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excel
วิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excelวิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excel
วิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excelพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
Intro to Excel
Intro to ExcelIntro to Excel
Intro to Excel
Sira Ekabut
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
ภาณุพงศ์ คงสวัสดิ์
 
Microsoft excel 2010 intermediated advanced
Microsoft excel 2010 intermediated advancedMicrosoft excel 2010 intermediated advanced
Microsoft excel 2010 intermediated advanced
smittichai chaiyawong
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007Th3popeye
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
Orasa Deethung
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 

What's hot (17)

วิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excel
วิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excelวิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excel
วิธีทำการคำนวณอย่างเร็วใน Excel
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
Intro to Excel
Intro to ExcelIntro to Excel
Intro to Excel
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
 
Microsoft excel 2010 intermediated advanced
Microsoft excel 2010 intermediated advancedMicrosoft excel 2010 intermediated advanced
Microsoft excel 2010 intermediated advanced
 
Answer ex1
Answer ex1Answer ex1
Answer ex1
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
53011213094
5301121309453011213094
53011213094
 
53011213095
5301121309553011213095
53011213095
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
สูตรคำนวน
สูตรคำนวนสูตรคำนวน
สูตรคำนวน
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 

Viewers also liked

การใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หาร
การใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หารการใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หาร
การใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หารพัน พัน
 
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosumใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosumMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตารางMeaw Sukee
 
Advanced excel 2010
Advanced excel 2010Advanced excel 2010
Advanced excel 2010
smittichai chaiyawong
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
Meaw Sukee
 
Peeraya
PeerayaPeeraya
Peeraya
Meaw Sukee
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
thanakornmaimai
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
kanidta vatanyoo
 

Viewers also liked (16)

Text
TextText
Text
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
การใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หาร
การใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หารการใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หาร
การใช้สูตร Excel เบื้องต้น บวก ลบ คูณ หาร
 
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
 
ใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
 
ใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosumใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosum
 
ใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบงานที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบงานที่ 4 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
 
Advanced excel 2010
Advanced excel 2010Advanced excel 2010
Advanced excel 2010
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
 
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
ใบงานที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Excel
 
Peeraya
PeerayaPeeraya
Peeraya
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 

Similar to Function

การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
53011213080
5301121308053011213080
53011213080waaayzzz
 
53011213084
5301121308453011213084
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นชญานิษฐ์ ทบวัน
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
5301121302953011213029
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
Chanachai Aor
 

Similar to Function (20)

การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
53011213080
5301121308053011213080
53011213080
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 
Excel2007
Excel2007Excel2007
Excel2007
 
ครูนัท
ครูนัทครูนัท
ครูนัท
 
Word4
Word4Word4
Word4
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
 
Microsoft office-excel-2010-บทที่-5
Microsoft office-excel-2010-บทที่-5Microsoft office-excel-2010-บทที่-5
Microsoft office-excel-2010-บทที่-5
 

Function

  • 1. สูตรการคานวณใน Excel 2003 1 1. ประเภทของสูตรคานวณ  สูตรคานวณแบบ Formula เป็นสูตรคานวณอย่างง่ายไม่ซับซ้อน โดยใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ เช่น +(บวก) –(ลบ) *(คูณ) /(หาร) และ ^ (ยกกาลัง) สูตรคานวณขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย = เสมอ ตามด้วยค่าตัวแปร 2 หรือมากกว่าสองตัว ตัวแปร แต่ละตัวถูกคั่นด้วยตัวดาเนินการ ซึ่งอาจจะเป็นค่าคงที่ ข้อความ ตาแหน่งเซล ชื่อเซล หรือฟังก์ชั่นก็ได้ โดยใช้ตัว ดาเนินการมาประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์บนเซลที่เลือกไว้ ตัวอย่าง =5*10 หมายถึง นา 5 ไปคุณกับ 10 =A2*B2 หมายถึง นาค่าตัวเลขที่เก็บในเซล A2 ไป คูณกับค่าตัวเลขในเซล B2  สูตรคานวณแบบ Function คือการสร้างสูตรคานวณด้วย Function (ฟังก์ชัน) คานวณต่าง ๆ ที่ได้ออกแบบและติดตั้งมาในโปรแกรม Excel เรียบร้อยแล้ว ตัวอย่าง =SUM(B2:B5) หมายถึง ให้หาผลรวมจากค่าในเซล B1 จนถึง B5 =AVERAGE(B2:B5) หมายถึง ให้หาค่าเฉลี่ยตัวเลข จากค่าในเซล B2 ถึง B5 2. องค์ประกอบภายในสูตรคานวณ o ตัวควบคุม-> เครื่องหมาย ( ) ใช้จัดลาดับ ก่อนหลังของการดาเนินการให้กับสูตร o ตัวดาเนินการ -> เครื่องหมายทาง คณิตศาสตร์เพื่อใช้ในการคานวณ เช่น +(บวก) – (ลบ) *(คูณ) /(หาร) และ ^ (ยกกาลัง) o ฟังก์ชัน -> ฟังก์ชันหรือสูตรสาเร็จในการคานวณ ซึ่งมีทั้งฟังก์ชันพื้นฐาน เช่น SUM, AVERAGE, MIN, MAX หรือฟังก์ชันขั้นสูง เช่น DB, FV, PMT, NPER สูตรคานวณและฟังก์ชั่น ตอนที่ 1
  • 2. สูตรการคานวณใน Excel 2003 2 3. ตัวดาเนินการในการคานวณ  ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง % เปอร์เซ็นต์ 10% ^ เลขชี้กาลัง 5^2 (หรือ 5*5) * การคูณ 2*3 / การหาร 6/3 + การบวก 3-2 - การลบ 5-2 หรือ -1  ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง = เท่ากับ A1=B1 > มากกว่า A1>B1 < น้อยกว่า A1<B1< font> >= มากกว่าหรือเท่ากับ A1>=B1 <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ A1<=B1 <> ไม่เท่ากับ A1<>B1  ตัวดาเนินการข้อความ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง & เชื่อมหรือนาคา 2 คามาต่อกันทาให้เกิดค่า ข้อความต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียว "Tele" & "phone" ผลลัพธ์เป็น Telephone  ตัวดาเนินการอ้างอิง เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง : (จุดคู่) ตัวดาเนินการช่วง โดยจะอ้างอิงเป็นช่วง ระหว่างจุดอ้างอิงที่หนึ่งกับจุดอ้างอิงที่สอง A1:A5 , (จุลภาค) ตัวดาเนินการส่วนรวม ซึ่งเป็นตัวรวมการอ้างอิง หลาย ๆ ชุดเข้าด้วยกันเป็นการอ้างอิงหนึ่งชุด SUM(B1:B5,C1:C5) (ช่องว่างเดียว) ตัวดาเนินการส่วนร่วม ซึ่งเป็นตัวสร้างการ อ้างอิงไปยังเซลล์ที่มีอยู่ในช่วงการอ้างอิงทั้ง สองชุด SUM(B1:B5 A5:D7) ในตัวอย่างนี้B5, B6 และ B7 อยู่ในช่วงของทั้งสอง
  • 3. สูตรการคานวณใน Excel 2003 3 4. การสร้างสูตรคานวณ สูตรคานวณใน Excel จะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย = เสมอ มีวิธีดังนี้ 1. คลิกที่เซลที่จะใส่สูตร 2. พิมพ์เครื่องหมาย = ตามด้วยสูตรคานวณ โดยพิมพ์ลงในเซลหรือแถบสูตรก็ได้ เช่น = B3*C3 3. คลิกที่ปุ่ม หรือกดปุ่ม Enter ที่คีย์บอร์ด หากต้องการพิมพ์สูตรใหม่ให้คลิกปุ่ม Cancel หรือกดคีย์ Esc บนคีย์บอร์ด เพื่อยกเลิกสูตร 5. การเลือกเซลมาคานวณด้วยเมาส์ นอกจากการพิมพ์ตาแหน่งเซลอ้างอิงแล้วเราสามารถใช้เมาส์คลิกเลือกเซลเพื่อนามาอ้างอิงในสูตรได้ ซึ่ง แม่นยาและรวดเร็วและป้ องกันความผิดพลาดได้มากกว่า ดังตัวอย่าง
  • 4. สูตรการคานวณใน Excel 2003 4 6. การคัดลอกสูตรคานวณ  การคัดลอกสูตรด้วยเมาส์ เหมาะกับการคัดลอกสูตรไปยังเซลที่อยู่ติดกัน  การพิมพ์สูตรและคัดลอกพร้อมกัน เราสามารถสร้างสูตรคานวณและสั่งคัดลอกได้ภายในการทางานแค่ครั้งเดียวได้ดังนี้  การคัดลอกสูตรข้ามเวิร์กชีต 1. คลิกที่ขวาเซลสูตรต้นฉบับแล้วคลิกเลือก Copy 2. คลิกเลือกที่เวิร์กชีตปลายทางอีกชีตหนึ่ง 3. เลือกที่พื้นที่เซลที่จะวางสูตร 4. คลิกขวาที่เซลนั้นแล้วเลือก Paste
  • 5. สูตรการคานวณใน Excel 2003 5 7. การอ้างอิงเซลที่ใช้ในสูตร  การอ้างอิงเซลแบบสัมพัทธ์ (Relative Reference) การอ้างอิงแบบสัมพัทธ์ คือ การอ้างอิงไปที่เซลล์ใดหรือช่วงเซลล์ใดก็ตามเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การ ย้ายหรือคัดลอกสูตร จะทาให้ตาแหน่งการอ้างอิงเปลี่ยนแปลงไปตามความสัมพัทธ์ของการย้ายหรือคัดลอก ตัวอย่างเช่น  การอ้างอิงเซลแบบสัมบูรณ์ (Absolute Reference) การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์คือ การล็อคตาแหน่งของการอ้างอิงโดยใช้เครื่องหมายดอลลาร์ ($) หรือที่เรียกกัน โดยทั่วไปว่า สตริง โดยใส่เข้าไปในตาแหน่งของเซลล์ที่ถูกอ้างอิง ซึ่งเมื่อมีการย้ายหรือคัดลอกสูตร ตาแหน่งที่ถูก อ้างอิงจะไม่เปลี่ยนแปลง จากตารางเดิมจะแสดงให้เห็นผลลัพธ์จากการใช้การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์ดังนี้ การอ้างชื่อเซล ความหมาย $C$3 เซล C3 อย่างเฉพาะเจาะจง $A3 เซลในคอลัมน์ A อย่างเฉพาะเจาะจง (แถวเปลี่ยนแปลงได้) A$3 เซลในแถวที่ 3 อย่างเฉพาะเจาะจง (คอลัมน์เปลี่ยนแปลงได้) $D$5:$D$12 กลุ่มเซล D5 ถึง D12 อย่างเฉพาะเจาะจง Sheet1!$D$1:$D$5 กลุ่มเซล D1 ถึง D5 ในเวิร์กชีตชื่อ sheet1 อย่างเฉพาะเจาะจง
  • 6. สูตรการคานวณใน Excel 2003 6 8. วิธีการอ้างอิงเซล  อ้างอิงเซลที่อยู่ในเวิร์คชีต(Sheet) เดียวกัน เป็นการใช้ข้อมูลของเซลที่อยู่ในเวิร์คชีตเดียวกันในการคานวณ โดยสูตรที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วยตาแหน่งอ้างอิงของเซล  อ้างอิงเซลที่อยู่ต่างเวิร์คชีตกัน เราสามารถสร้างสูตรโดยใช้ข้อมูลจากเวิร์คชีตอื่นในการ คานวณ โดยสูตรที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วย ชื่อเวิร์คชีต แล้วตาม ด้วยเครื่องหมาย ! และ ตาแหน่งอ้างอิงของเซล การอ้างอิงเซลที่อยู่ต่างเวิร์คชีตกัน ให้คลิกเซลที่ต้องการอ้างอิงได้เลย โปรแกรมจะลิงค์ให้อัตโนมัติ ตัวอย่าง ต้องการหาผลรวมของเงินเดือนพนักงานทุกเดือนไว้ที่เวิร์คชีตชื่อ รวมเงินเดือน54 โดยที่จะมีการสรุปเงินเดือนใน แต่ละเดือนไว้คนละเวิร์คชีต ตั้งชื่อเวิร์คชีตตามชื่อเดือน เช่น เงินเดือนมกราคม เงินเดือนกุมภาพันธ์ 1. คลิกที่เซลในเวิร์คชีตที่ ต้องการคานวณเงินเดือน แล้วพิมพ์สูตร ในที่นี้คือ =SUM( 2. คลิกที่เวิร์คชีต เงินเดือน มกราคมแล้วลากเมาส์คลุม เซลที่ต้องการนามาคานวณ 3. กด Enter จะได้ผลรวม เงินเดือนของเดือนมกราคม
  • 7. สูตรการคานวณใน Excel 2003 7  อ้างอิงเซลที่อยู่ต่างไฟล์กัน เมื่อใช้ข้อมูลในไฟล์อื่นในการสร้างสูตร สามารถทา ได้ โดย จะมีชื่อไฟล์ที่ถูกลิงค์อยู่ในเครื่องหมาย [ ] ตาม ด้วยชื่อเวิร์คชีต และตาแหน่งอ้างอิงของเซลจะต้องใส่ เครื่องหมาย $ ซึ่งเป็นการล๊อคเซลตาแหน่งเซล ต้องการหาผลรวมของเงินเดือนพนักงานทุกเดือนไว้ที่เวิร์คชีตชื่อไฟล์ชื่อ excel2.xls โดยมีเวิร์คชีตชื่อ รวม เงินเดือน54 โดยที่จะมีเวิร์คชีตการสรุปเงินเดือนไว้ในไฟล์ชื่อ ดึงข้อมูลข้ามไฟล์.xls ที่เวิร์คชีตชื่อ sheet1 จะมี วิธีการอ้างอิงเซลข้ามไฟล์ดังนี้ 1. คลิกที่เซลในเวิร์คชีตที่ต้องการคานวณเงินเดือน แล้วพิมพ์สูตร ในที่นี้คือ =SUM( 2. คลิกไฟล์ที่ชื่อ ดึงข้อมูลข้ามไฟล์ ที่เปิดไว้แล้ว ที่เวิร์คชีตชื่อ sheet1 แล้วลากเมาส์คลุมเซลที่ ต้องการนามาคานวณ 3. กด Enter จะได้ผลรวมเงินเดือนของเดือนมกราคม ออกมาปรากฏอยู่เซลที่พิมพ์สูตรในไฟล์ excel2.xls ในเวิร์คชีต ชื่อ อ้างอิงเซลข้ามไฟล์  อ้างอิงโดยใช้ชื่อกลุ่มเซล เราสามารถตั้งชื่อให้กับกลุ่มของเซล เพื่อนาไปใช้อ้างอิงในสูตรได้ ซึ่งจะทา ให้สะดวกต่อการใช้งานยิ่งขึ้น โดยสูตรที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วยชื่อกลุ่มเซล โดยลากเมาส์คลุมที่กลุ่มเซลที่ต้องการแล้วคลิกที่เมนู Insert > Name>Define ป้ อนชื่อที่ต้องการ กด OK และเรียกใช้โดย
  • 8. สูตรการคานวณใน Excel 2003 8 ตัวอย่าง ต้องการสร้างสูตรคานวณผลรวมเงินเดือนของพนักงานทุกคน สามารถกาหนดกลุ่มเซลที่แสดงเงินเดือน ของพนักงาน เพื่อนาชื่อมาอ้างอิงตอนสร้างสูตรโดยใช้ฟังก์ชัน SUM ได้ดังนี้ 1. ลากเมาส์คลุมกลุ่มเซลที่แสดงเงินเดือนของพนักงานแต่ละคนในที่นี้คือ B2 ถึง B9 แล้วคลิกที่เมนู Insert > Name > Define 2. จะได้กล่อง Define Name เพื่อให้พิมพ์ชื่อเซลที่ต้องการในที่นี้พิมพ์ชื่อเชลล์คือ salary แล้วกด OK 3. พิมพ์สูตรลงช่องเซลที่ต้องการในที่นี้คือ เซล B10 พิมพ์สูตร =SUM( แล้วคลิกที่Insert>Name>Paste เพื่อ เลือกที่เซลที่กาหนดไว้ก่อนหน้า 4. คลิกที่ชื่อเซล salary แล้วกดปุ่ม OK ชื่อเซลจะปรากฏในสูตร =SUM(salary) แล้วกดปุ่ม Enter จะได้ ผลลัพธ์ออกมา 9. การสร้างสูตรคานวณ  การพิมพ์สูตรด้วยตัวเอง 1. คลิกเมาส์ลงในเซลที่จะให้แสดงผลลัพธ์ 2. จากนั้นคลิกที่แถบสูตร พิมพ์สูตรตามตัวอย่างคือ =B2-(C2+D2+E2) 3. เสร็จแล้วกดปุ่ม Enter จะได้ผลลัพธ์ออกมา
  • 9. สูตรการคานวณใน Excel 2003 9 10. สูตรแบบอาร์เรย์ หลักการ คือ สร้างสูตรเพียงสูตรเดียวในเซลที่ต้องการหาผลลัพธ์ จากนั้นโปรแกรมจะคานวณออกมาแสดง เฉพาะเซลที่เลือกไว้เท่านั้น  กฎการใช้สูตรอาร์เรย์ - ต้องกดคีย์ Ctrl+Shift+Enter เพื่อนาสูตรลงไปในเซลที่เลือกเสมอ - ต้องเลือกช่วงของเซลเพื่อที่จะใช้แสดงผลลัพธ์ไว้ก่อนที่จะสร้างสูตร - เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเนื้อหาหรือในเซลผลลัพธ์ของสูตรอาร์เรย์ได้ยกเว้นนาสูตรขึ้นมา แก้ไขแล้วกดคีย์ Ctrl+Shift+Enter นาสูตรกลับลงไปใหม่อีกครั้ง - การย้ายหรือลบสูตรอาร์เรย์ ต้องย้ายและลงทีเดียวทั้งหมด ไม่สามารถย้ายหรือลบสูตรบางส่วนได้
  • 10. สูตรการคานวณใน Excel 2003 10  การสร้างสูตรอาร์เรย์แบบเซลเดียว 1. คลิกที่เซลที่จะให้แสดงผลลัพธ์ 2. พิมพ์สูตรที่บริเวณแถบสูตร คือ =SUM(C2:C7*D2:D9) 3. กดปุ่ม Ctrl+Shift+Enter พร้อมกันทุกครั้งเมื่อพิมพ์สูตรจบโปรแกรมจะสร้าง {} ครอบสูตรให้อัตโนมัติ 4. ผลลัพธ์จะได้แสดงขึ้นมาตามต้องการ  การสร้างสูตรอาร์เรย์แบบหลายเซล 1. แดรกเมาส์คลุมเซลที่จะให้แสดงผลลัพธ์ในที่นี้คือ E2:E8 2. พิมพ์สูตรที่บริเวณแถบสูตร คือ =C2:C7*D2:D7 3. กดปุ่ม Ctrl+Shift+Enter พร้อมกันเมื่อพิมพ์สูตรจบโปรแกรมจะสร้าง {} ครอบสูตรให้อัตโนมัติ 4. ผลลัพธ์จะได้แสดงขึ้นมาตามต้องการ
  • 11. สูตรการคานวณใน Excel 2003 11  การแก้ไขสูตรอาร์เรย์ผลลัพธ์เซลเดียว 1. ดับเบิ้ลคลิกเซลที่เก็บสูตรหรือกดคีย์ F2 เพื่อนาสูตรมาแก้ไข ซึ่งจะแก้ไขบนเซลหรือบนแถบสูตร 2. เมื่อแก้ไขเสร็จแล้วกดปุ่ม Ctrl+Shift+Enter อีกครั้ง  การแก้ไขสูตรอาร์เรย์ผลลัพธ์หลายเซล 1. เลือกเซลที่เป็นผลลัพธ์เซลใดเซลหนึ่งแล้วกด F2 เพื่อนาสูตรมาแก้ 2. แก้ไขสูตรตามต้องการ 3. กดปุ่ม <Ctrl>,<Shift>,<Enter> พร้อมกันที่คีย์บอร์ด  การลบสูตรอาร์เรย์ 1. แดรกเมาส์คลุมเซลที่เป็นผลลัพธ์ทั้งหมด 2. เลือกที่แถบเมนู Edit > Clear > all  การค้นหาเซลอ้างอิงในสูตรด้วย Trace Precedents 1. คลิกที่เซลที่ต้องการค้นหาเซลที่ถูกอ้างอิงมา 2. คลิกที่ Tools > Formula Auditing > Trace Precedent 3. จะเห็นลูกศรสีน้าเงินชี้ไปยังเซลที่ถูกอ้างอิงมา 4. ถ้าต้องการลบลูกศรออกเลือกที่ Tools > Formula Auditing > Remove All Arrows
  • 12. สูตรการคานวณใน Excel 2003 12  การกาหนดให้ทุกเซลแสดงสูตรขึ้นมา 1. คลิกบนชีทงานบริเวณใดก็ได้ 2. คลิกที่ Tools > Formula Auditing > Formula Auditing Mode 3. ทุกเซลที่มีสูตรซ่อนอยู่ภายในก็จะแสดงออกมาพร้อมกัน 4. ถ้าต้องกาให้ซ่อนเหมือนเดิมก็ทาตามข้อ 2 อีกครั้ง
  • 13. สูตรการคานวณใน Excel 2003 13 ฟังก์ชันใน Excel 1. ฟังก์ชัน BAHTTEXT : แปลงตัวเลขให้เป็นคาอ่านภาษาไทย รูปแบบ =BAHTTEXT(Number) Number คือ ตัวเลขหรือเซลที่เก็บค่าตัวเลขที่จะนามาแปลงเป็นคาอ่าน ตัวอย่าง 2. ฟังก์ชัน ROUND : ปัดเศษทศนิยมตามจานวนหลักที่ต้องการ รูปแบบ =ROUND(Number,Num_digits) Number ตัวเลขหรือเซลที่เก็บค่าตัวเลขที่ต้องการให้ปัดเศษ, Num_digits จานวนหลักของทศนิยมที่ต้องการปัดเศษ ถ้า Num_digits เท่ากับ 0 ตัวเลขจะเป็นจานวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุด ถ้า Num_digits มากกว่า 0 ตัวเลขจะเท่ากับที่ระบุ ถ้า Num_digits น้อยกว่า 0 ตัวเลขจะปัดไปทางซ้ายตามจานวนหลักที่ระบุ ตัวอย่าง
  • 14. สูตรการคานวณใน Excel 2003 14 3. ฟังก์ชัน VLOOKUP : ค้นหาข้อมูลตามแนวคอลัมน์ VLOOKUP (lookup_value,table_array,row_index_num,range_lookup) ค่าตรรกะ มี 2 ค่า - ถ้าระบุเป็น True หรือ 1 หรือไม่ใส่ จะส่งค่าที่ตรงกันหรือใกล้เคียงกันกลับมา - ถ้าระบุเป็น FALSE หรือ 0 จะส่งค่าที่ตรงกันกลับมาเท่านั้น ถ้าไม่พบจะส่งค่า #N/A มา ตัวอย่าง : ต้องการค้นหารหัสพนักงานโดยพิมพ์รหัสพนักงานในเซล C12 แล้วให้แสดงเงินเดือนของพนักงานค้น นั้น ๆ ออกมาที่เซล D12 มีวิธีทาดังนี้ 1 คลิกเมาส์ที่เซล D12 2 พิมพ์สูตรที่ช่องสูตร คือ =VLOOKUP(C12,A2:D9,4,FALSE) 3 พิมพ์รหัสพนักงานที่ต้องการแล้วโปรแกรมจะแสดงเงินเดือนในช่องเงินเดือนที่ได้รับ
  • 15. สูตรการคานวณใน Excel 2003 15 Workshop  Workshop 1 : คานวณโบนัสให้กับพนักงาน ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง VLOOKUP ค้นหาข้อมูลในแนวคอลัมน์ IF ตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงหรือเท็จ 1. สร้างเกณฑ์พิจารณาของการตัดเกรดตามตัวอย่าง 2. สร้างตารางและกรอกข้อมูลดังรูป ซึ่งในที่นี้จะกรอกคะแนนประเมินและเงินเดือนปัจจุบัน 3. คลิกเม้าส์ที่เซล E9 เพื่อเริ่มใส่สูตรตัดเกรด 4. พิมพ์สูตร =IF(C9>=80,"A",IF(C9>=70,"B",IF(C9>=60,"C",IF(C9>=50,"D")))) 5. กดปุ่ม Enter ที่คีย์บอร์ดจะได้เกรดพนักงานออกมา 6. คัดลอดสูตรมาด้านล่างจะได้เกรดพนักงานคนอื่น ๆ 7. คลิกที่เซล F9
  • 16. สูตรการคานวณใน Excel 2003 16 8. พิมพ์สูตร =VLOOKUP(E9,$D$3:$E$6,2,0)*G9 แล้วกด Enter 9. คัดลอกสูตรลงมาด้านล่าง จะได้โบนัสของพนักงานทุกคน 10. คานวณยอดสุทธิ โดยคลิกที่เซล H9 11. พิมพ์สูตร =F9+G9 12. กดปุ่ม Enter แล้วคัดลอกสูตรลงมาจะได้ยอดเงินเดือนรวมกับเงินโบนัส  Workshop 2 : ทาใบส่งสินค้า/ใบกากับภาษี ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง VLOOKUPค้นหาข้อมูลในแนวคอลัมน์ ROUND ปัดเศษทศนิยมตามจานวนหลักที่ต้องการ BAHTTEXT แปลงตัวเลขให้เป็นตัวอักษร 1 สร้างฐานข้อมูลสินค้าและออกแบบแบบฟอร์มเอกสารให้เรียบร้อย
  • 17. สูตรการคานวณใน Excel 2003 17 2 คลิกที่เซล G9 แล้วพิมพ์สูตร =VLOOKUP(VLOOKUP(F9,$A$2:$C$11,2,FALSE)) ลงไปเพื่อกาหนดให้ แสดงรายการสินค้าขึ้นมาเพื่อพิมพ์รหัส 3 จากนั้นคลิกที่เซล I9 แล้วพิมพ์สูตร =VLOOKUP(F9,A2:C11,3,FALSE) ลงไปเพื่อให้แสดงราคาต่อหน่วย ขึ้นมาเมื่อพิมพ์รหัส
  • 18. สูตรการคานวณใน Excel 2003 18 4 ให้พิมพ์สูตรดังนี้ 5 เสร็จแล้วทดลองกรอกรหัสสินค้าและจานวนสินค้าลงไป 6 รายละเอียดอื่น ๆ จะแสดงขึ้นมาจากสูตรที่เรากาหนดไว้