SlideShare a Scribd company logo
  วิธีการใช้งานโปรแกรม  MICROSOFT EXCEL  ในการคำนวณ และการใช้โปรแกรม  MICROSOFT WORD  ในการทำจดหมายเวียนหรือ  MAIL MERGE  นางสาวธนพร เฟื่องขจร  รหัสนิสิต  53011213084  คณะวิทยากาสารสนเทศ  สาขาสารสนเทศศาสตร์ ระบบปกติ
การทำจดหมายเวียนหรือ  Mail merge  Mail Merge  เป็นฟีเจอร์ที่สำคัญใน  Microsoft Word  ที่ช่วยในการสร้างจดหมาย เช่น จดหมายแจ้งข่าว ที่มีชื่อ และที่อยู่ของผู้รับ โดยปรกติ เราอาจจะพิมพ์ชื่อของแต่ละคนลงไปตรงๆ ในจดหมายนั้น แล้วก็เปลี่ยนชื่อไปเรื่อยๆ ถ้ามีรายชื่อจำนวนมาก ก็ต้องเสียเวลาในการแก้ไขจดหมายแต่ละฉบับ  Mail Merge  จะช่วยในการนำข้อมูลจากตารางมาใส่ลงในจดหมาย ตามจุดที่เรากำหนด แล้วสามารถสั่งพิมพ์จดหมายตามรายชื่อผู้รับในตารางได้พร้อมกันทีเดียว ทำให้ลดเวลาในการทำงาน และลดความผิดพลาดลงได้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.   สร้างไฟล์ที่อยู่ไว้ในโปรแกรม   Excel    พิมพ์ตามปกติ ตั้งชื่อไฟล์ตามต้องการ  ในที่นี้ตั้งว่า  “จดหมายเวียน " 
2.   เปิดโปรแกรม  Microsoft  word   โดยสร้างไฟล์ซองจดหมาย  หรือไฟล์บันทึกข้อความที่เราต้องการจะส่งถึง * ตั้งค่าให้ได้ขนาดซองที่ได้ต้องการ  หรือเอาไม่บรรทัดวัดซองที่เราต้องการทำก่อนก็ได้  เมื่อตั้งค่ากระดาษแล้วจะได้ดังรูป
  3.  ไปที่   Tools>>letters  and   Mailings>>Mail  Merge
4.   เมื่อคลิกแล้วจะปรากฏเมนูอยู่ทางขาวมือ  เลือกประเภทที่เราต้องการให้  Merge   ในที่นี่  เลือก   letters  และ Step  1   เลือก   Next:  starting  document 
Step 2   เลือก   Next:  select  recipients
จะเห็น   sheet   ต่างๆ  แต่เราได้สร้างไว้ใน   sheet1   ให้กด   OK   จะเห็นดังรูป
เมื่อกด   ok   แล้วจะสังเกตได้ว่า  มีรายชื่อที่เราได้พิมพ์ไป
5.   จะสังเกตเมนูเกี่ยวกับ   mail  merge   ขึ้น  ให้เราคลิกเลือกที่  -  Insert  merge  fields   เลือก  fields   ที่ต้องการที่จะ  merge   ในที่นี่ เราต้องการ 
เลือกไอคอนรูปภาพ   view  merge  data   เพื่อให้แสดงข้อความที่เราจะส่งถึง  ดังภาพ   ให้เราปรับชิดขอบซ้ายขาวตามที่เราต้องงานเพื่อความสวยงาม 
7.  เมื่อเราต้องการปริ้นส์ชื่อผู้ส่งถึงคนอื่นให้เราคลิก  เมนูข้างบนแล้ว   Next record   คนต่อไปเรื่อยๆ  ตามที่เราต้องการ
8.   เมื่อปิดไฟล์แล้วจะเปิดไฟล์  ms-word  ขึ้นมาใช้ใหม่  มันจะถามดังรูปไม่ต้องแปลกใจให้  คลิก   ok   ก็ได้สามารถใช้งานได้เหมือนเดิม ต่อไปนี้เวลาเราจะเพิ่มที่อยู่ก็มาพิมพ์ข้อมูลไปใน ไฟล์   excel   แล้วเรียกใช้ได้ทันทีแถมยังสามารถเป็นที่อยู่ไว้เป็นฐานข้อมูลได้อยู่ด้วย    * หมายเหตุ  เวลาจะเปิดพิมพ์ผู้ส่งถึงในโปรแกรม  excel  อย่าลืมปิดไฟล์   ms-word   ด้วยนะค่ะ  ไม่งั้นจะสามารถอ่านได้อย่างเดียวแก้ไขไม่ได้
วิธีการใช้งานโปรแกรม  MICROSOFT EXCEL  ในการคำนวณ ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
 
3. คลิกขวา ที่ แถบสถานะ  จะปรากฏกล่องแสดงคำสั่ง 4. เลือกคำสั่ง ที่ต้องการ  ( ในที่นี่เลือกคำสั่ง ผลรวม )  5. แดรกเมาส์เลือกช่วงเซลล ์ที่ต้องการให้คำนวณ  6. จะปรากฏผลลัพธ ์ที่ แถบสถานะ
 
จากวิธีการดังกล่าวจะเห็นว่าเราสามารถเปลี่ยนคำสั่งในการคำนวณได้ตามที่ต้องการดังรูป การคำนวณโดยใช้สูตร           การใช้สูตรเป็นวิธีที่ใช้ในการคำนวณที่นิยมมากที่สุด  เพราะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่รวดเร็ว และสูตรบางอย่างยังสามารถช่วยคำนวณข้อมูลตัวเลขที่ซับซ้อนได้อีก  แต่ละสูตรมีรูปแบบการใช้ที่แตกต่างกันออกไป การใช้งานสูตรรูปแบบปกติ  ( Formula)            สูตรรูปแบบปกติจะเป็นสูตรที่เป็นสมการที่ใช้ดำเนินการกับข้อมูลในชีทด้วยการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์  เช่นเครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร การอ้างอิงเซลล์อื่น  หรือสูตรที่ใช้รวมข้อความ  เป็นต้น
การใช้งานสูตรแบบฟังก์ชัน  ( Function)            เราสามารถใช้สูตรแบบฟังก์ชันช่วยคำนวณข้อมูลที่ซับซ้อนหรือมดีปริมาณมากได้  ซึ่งฟังก์ชันใน  Excel   เป็นสูตรที่กำหนดไว้ล่วงหน้าและถูกสร้างให้เหมาะกับงานเฉพาะอย่าง   ตัวอย่าง =5-1 =9*8  =B5-A7 ตัวอย่าง =SUM(B1:B9) =AVERAGE(A9:A20) =COUNT(A1:A5)
การใช้งานสูตรแบบอาร์เรย์  ( Array)            การใช้สูตรแบบอาร์เรย์สามารถทำหลาย ๆ การคำนวณให้คืนค่าเป็นผลลัพธ์เดียวหรือหลายผลลัพธ์ โดยสูตรอาร์เรย์ตั้งแต่  2  ชุดขึ้นไป  สูตรแบบต่าง ๆ จะมีความยากง่ายแตกต่างกันออกไป ซึ่งการสร้างสูตรนั้น  เราจะต้องทราบหลักการทำงานของเครื่องหมายและสัญลักษณ์ในสูตร รวมถึงลำดับการคำนวณ  เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลต่อการแสดงผลลัพธ์ทั้งสิ้น ตัวอย่าง {=SUM((B1:B9)/(A1:A5))}
การสร้างสูตรคำนวณใช้เอง การสร้างสูตรใช้เองนั้นจำเป็นจะต้องทราบถึงหลักกการและองค์ประกอบสำคัญต่าง ๆ ที่ประกอบอยู่ในสูตรรวมถึงลำดับที่เราจะใช้ในการสร้างสูตรด้วย   หลักการสร้างสูตร           โครงสร้างหรือลำดับขององค์ประกอบต่าง ๆ ในสูตร  จะเป็นตัวกำหนดผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายซึ่ง  Excel   จะคำนวณตามรูปแบบที่เรากำหนด  โดยปกติ  Excel   จะคำนวณสูตรจากซ้ายไปขวา  แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลำดับของตัวดำเนินการที่มีลำดับเหนือกว่า  โดยที่เราสามารถควบคุมลำดับของการคำนวณได้โดยใช้เครื่องหมายวงเล็บเพื่อจัดกลุ่มในการคำนวณที่ควรจะเริ่มทำก่อน ตัวอย่าง =9+3/2 ผลลัพธ์เท่ากับ  10.5  เนื่องจาก  Excel  จะคำนวณ  3  หาร ด้วย  2  ก่อน ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  1.5  แล้วสุดท้ายนำมาบวกด้วย  9   แต่ถ้าเราใช้วงเล็บเพื่อควบคุมการคำนวณโดยใส่วงเล็บให้  9  บวกกับ  3  ก่อนแล้วจึงหารด้วย  2  ก็จะต้องใช้สูตร  =(9+3)/2  ผลลัพธ์เท่ากับ  6
องค์ประกอบสำคัญในการสร้างสูตร           ในการสร้างสูตรใช้งานต่าง ๆ ส่วนประกอบสำคัญต่อไปนี้ถือเป็นสิ่งสำคัญซึ่งจะเป็นตัวกำหนดผลลัพธ์ ประกอบด้วย  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ลำดับที่  Excel  ใช้ดำเนินการในสูตร หากใช้ตัวดำเนินการหลาย ๆ ตัวในสูตรเดียวกัน  ใน  Excel   จะมีลำดับการดำเนินการตามลำดับดังนี้ ลำดับที่ ตัวดำเนินการ คำอธิบาย 1. : ( เครื่องหมายจุดคู่ ) ตัวดำเนินการอ้างอิง 2. ( ที่ว่างเดียว ) ตัวดำเนินการอ้างอิง 3. , ( เครื่องหมาจุลภาค ) ตัวดำเนินการอ้างอิง 4. - เครื่องหมายลบ  ( เช่น  -5)  5. % เปอร์เซ็นต์ 6. ^ เลขชี้กำลัง 7. *   และ  / การคูณและการหาร 8. +  และ  - การบวกและการลบ 9. & เชื่อมสายอักขระของข้อความ 10. = <> <=> = <>  การเปรียบเทียบ
ตัวดำเนินการที่ใช้ในสูตร  ( Operator)             เครื่องหมายหรือตัวดำเนินการคือ  องค์ประกอบหนึ่งในสูตรโดยจะระบุชนิดของการคำนวณที่ต้องการ ซึ่ง  Excel   จะแบ่งตัวดำเนินการออกเป็น   4   ประเภท  คือ  คณิตศาสตร์  การเปรียบเทียบ  ข้อความ  และการอ้างอิง ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์  ( Arithmetic Operator)             ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์  ใช้คำนวณด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน  เช่น  การบวก  ลบ คูณ หาร การรวมตัวเลข  การหาผลลัพธ์ต่าง ๆ  เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง + การบวก 5+3 - การลบ 9-4 หรือ -1 * การคูณ 5*6 / การหาร 10/3 % เปอร์เซ็นต์ 2 % ^ เลขชี้กำลัง 2 ^ 2 ( หรือ 2*2)
ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ  ( COMPARISON OPERATOR)  เราสามารถใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบเพื่อการเปรียบค่าสองค่า โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นค่าทางตรรกศาสตร์คือ  TRUE  หรือ  FALSE เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง = เท่ากับ C5=D5 > มากกว่า C5>D5 < น้อยกว่า C5<D5 >= มากกว่าหรือเท่ากับ C5>=D5 <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ C5<=D5 <> ไม่เท่ากับ C5<>D5
ตัวดำเนินการข้อความ  ( TEXT CONCATENATION OPERATOR)            ตัวดำเนินการข้อความจะใช้เครื่องหมาย  (&)  ในการรวมข้อความหรือคำ  2  คำขึ้นไป เพื่อให้เป็นข้อความเดียวกัน  เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง & เชื่อมหรือนำคำ  2  คำมาต่อกีนทำให้เกิดค่าข้อความต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียวกัน &quot;Lampamg&quot;&&quot;Kanlayanee&quot; ผลลัพธ์เป็น LampangKanlayanee
ตัวดำเนินการสำหรับอ้างอิง  ( REFERENCE OPERATOR) ตัวดำเนินการอ้างอิงถูกนำมาใช้เพื่อรวมช่วงของเซลล์สำหรับการคำนวณ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง : ( จุดคู่ ) ตัวดำเนินการช่วง โดยจะอ้างอิงเป็นช่วง ระหว่างจุดอ้างอิงที่หนึ่งกับจุดอ้างอิงที่สอง  B1:B9 , ( จุลภาค ) ตัวดำเนินการส่วนรวม ซึ่งเป็นตัวรวมการอ้างอิงหลาย ๆ ชุดเช้าด้วยกันเป็นการอ้างอิงหนึ่งชุด  SUM(A5:a12,C1:C5)

More Related Content

What's hot

Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007Th3popeye
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2wuttichat
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 
การใช้งาน Ms excel
การใช้งาน Ms excelการใช้งาน Ms excel
การใช้งาน Ms excelMatee Witawasiri
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007Orasa Deethung
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2Wittayakorn Yasingthong
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นMeaw Sukee
 

What's hot (18)

Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2
 
Function
FunctionFunction
Function
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
การใช้งาน Ms excel
การใช้งาน Ms excelการใช้งาน Ms excel
การใช้งาน Ms excel
 
สูตรคำนวน
สูตรคำนวนสูตรคำนวน
สูตรคำนวน
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
 

Viewers also liked

หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการสถาบันฝึกอบรม โยธาไทย
 
049 สะบันงา
049 สะบันงา049 สะบันงา
049 สะบันงาthana bkk
 
Excel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kkuExcel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kkus0rn
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าkanjana2536
 

Viewers also liked (14)

ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคารตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
 
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
 
เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์
 
มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..
 
Structure analydesign yt
Structure analydesign ytStructure analydesign yt
Structure analydesign yt
 
049 สะบันงา
049 สะบันงา049 สะบันงา
049 สะบันงา
 
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
 
Excel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kkuExcel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kku
 
VBA
VBAVBA
VBA
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
วินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด
วินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุดวินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด
วินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด
 

Similar to 53011213084 (20)

53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
53011213094
5301121309453011213094
53011213094
 
53011213021
5301121302153011213021
53011213021
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
53011213091
5301121309153011213091
53011213091
 
51011221071
5101122107151011221071
51011221071
 
Excel2007
Excel2007Excel2007
Excel2007
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง
 
Lesson 17
Lesson 17Lesson 17
Lesson 17
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
 
บท1
บท1บท1
บท1
 

53011213084

  • 1. วิธีการใช้งานโปรแกรม MICROSOFT EXCEL ในการคำนวณ และการใช้โปรแกรม MICROSOFT WORD ในการทำจดหมายเวียนหรือ MAIL MERGE นางสาวธนพร เฟื่องขจร รหัสนิสิต 53011213084 คณะวิทยากาสารสนเทศ สาขาสารสนเทศศาสตร์ ระบบปกติ
  • 2. การทำจดหมายเวียนหรือ Mail merge Mail Merge เป็นฟีเจอร์ที่สำคัญใน Microsoft Word ที่ช่วยในการสร้างจดหมาย เช่น จดหมายแจ้งข่าว ที่มีชื่อ และที่อยู่ของผู้รับ โดยปรกติ เราอาจจะพิมพ์ชื่อของแต่ละคนลงไปตรงๆ ในจดหมายนั้น แล้วก็เปลี่ยนชื่อไปเรื่อยๆ ถ้ามีรายชื่อจำนวนมาก ก็ต้องเสียเวลาในการแก้ไขจดหมายแต่ละฉบับ Mail Merge จะช่วยในการนำข้อมูลจากตารางมาใส่ลงในจดหมาย ตามจุดที่เรากำหนด แล้วสามารถสั่งพิมพ์จดหมายตามรายชื่อผู้รับในตารางได้พร้อมกันทีเดียว ทำให้ลดเวลาในการทำงาน และลดความผิดพลาดลงได้
  • 3.
  • 4. 1.  สร้างไฟล์ที่อยู่ไว้ในโปรแกรม  Excel   พิมพ์ตามปกติ ตั้งชื่อไฟล์ตามต้องการ  ในที่นี้ตั้งว่า  “จดหมายเวียน &quot; 
  • 5. 2.   เปิดโปรแกรม Microsoft word  โดยสร้างไฟล์ซองจดหมาย  หรือไฟล์บันทึกข้อความที่เราต้องการจะส่งถึง * ตั้งค่าให้ได้ขนาดซองที่ได้ต้องการ  หรือเอาไม่บรรทัดวัดซองที่เราต้องการทำก่อนก็ได้  เมื่อตั้งค่ากระดาษแล้วจะได้ดังรูป
  • 6.   3. ไปที่  Tools>>letters  and   Mailings>>Mail  Merge
  • 7. 4.   เมื่อคลิกแล้วจะปรากฏเมนูอยู่ทางขาวมือ  เลือกประเภทที่เราต้องการให้ Merge  ในที่นี่  เลือก  letters และ Step  1  เลือก  Next:  starting  document 
  • 8. Step 2  เลือก  Next:  select  recipients
  • 9. จะเห็น  sheet  ต่างๆ  แต่เราได้สร้างไว้ใน  sheet1  ให้กด  OK  จะเห็นดังรูป
  • 10. เมื่อกด  ok  แล้วจะสังเกตได้ว่า  มีรายชื่อที่เราได้พิมพ์ไป
  • 11. 5.   จะสังเกตเมนูเกี่ยวกับ  mail  merge  ขึ้น  ให้เราคลิกเลือกที่  -  Insert  merge  fields  เลือก fields  ที่ต้องการที่จะ merge  ในที่นี่ เราต้องการ 
  • 12. เลือกไอคอนรูปภาพ  view  merge  data  เพื่อให้แสดงข้อความที่เราจะส่งถึง  ดังภาพ   ให้เราปรับชิดขอบซ้ายขาวตามที่เราต้องงานเพื่อความสวยงาม 
  • 13. 7. เมื่อเราต้องการปริ้นส์ชื่อผู้ส่งถึงคนอื่นให้เราคลิก  เมนูข้างบนแล้ว  Next record  คนต่อไปเรื่อยๆ  ตามที่เราต้องการ
  • 14. 8.   เมื่อปิดไฟล์แล้วจะเปิดไฟล์ ms-word ขึ้นมาใช้ใหม่  มันจะถามดังรูปไม่ต้องแปลกใจให้  คลิก  ok  ก็ได้สามารถใช้งานได้เหมือนเดิม ต่อไปนี้เวลาเราจะเพิ่มที่อยู่ก็มาพิมพ์ข้อมูลไปใน ไฟล์  excel  แล้วเรียกใช้ได้ทันทีแถมยังสามารถเป็นที่อยู่ไว้เป็นฐานข้อมูลได้อยู่ด้วย    * หมายเหตุ  เวลาจะเปิดพิมพ์ผู้ส่งถึงในโปรแกรม excel อย่าลืมปิดไฟล์  ms-word  ด้วยนะค่ะ  ไม่งั้นจะสามารถอ่านได้อย่างเดียวแก้ไขไม่ได้
  • 15.
  • 16.
  • 17.  
  • 18. 3. คลิกขวา ที่ แถบสถานะ  จะปรากฏกล่องแสดงคำสั่ง 4. เลือกคำสั่ง ที่ต้องการ ( ในที่นี่เลือกคำสั่ง ผลรวม ) 5. แดรกเมาส์เลือกช่วงเซลล ์ที่ต้องการให้คำนวณ 6. จะปรากฏผลลัพธ ์ที่ แถบสถานะ
  • 19.  
  • 20. จากวิธีการดังกล่าวจะเห็นว่าเราสามารถเปลี่ยนคำสั่งในการคำนวณได้ตามที่ต้องการดังรูป การคำนวณโดยใช้สูตร           การใช้สูตรเป็นวิธีที่ใช้ในการคำนวณที่นิยมมากที่สุด  เพราะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่รวดเร็ว และสูตรบางอย่างยังสามารถช่วยคำนวณข้อมูลตัวเลขที่ซับซ้อนได้อีก  แต่ละสูตรมีรูปแบบการใช้ที่แตกต่างกันออกไป การใช้งานสูตรรูปแบบปกติ ( Formula)            สูตรรูปแบบปกติจะเป็นสูตรที่เป็นสมการที่ใช้ดำเนินการกับข้อมูลในชีทด้วยการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์  เช่นเครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร การอ้างอิงเซลล์อื่น  หรือสูตรที่ใช้รวมข้อความ  เป็นต้น
  • 21. การใช้งานสูตรแบบฟังก์ชัน ( Function)            เราสามารถใช้สูตรแบบฟังก์ชันช่วยคำนวณข้อมูลที่ซับซ้อนหรือมดีปริมาณมากได้  ซึ่งฟังก์ชันใน Excel  เป็นสูตรที่กำหนดไว้ล่วงหน้าและถูกสร้างให้เหมาะกับงานเฉพาะอย่าง  ตัวอย่าง =5-1 =9*8 =B5-A7 ตัวอย่าง =SUM(B1:B9) =AVERAGE(A9:A20) =COUNT(A1:A5)
  • 22. การใช้งานสูตรแบบอาร์เรย์ ( Array)            การใช้สูตรแบบอาร์เรย์สามารถทำหลาย ๆ การคำนวณให้คืนค่าเป็นผลลัพธ์เดียวหรือหลายผลลัพธ์ โดยสูตรอาร์เรย์ตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป สูตรแบบต่าง ๆ จะมีความยากง่ายแตกต่างกันออกไป ซึ่งการสร้างสูตรนั้น  เราจะต้องทราบหลักการทำงานของเครื่องหมายและสัญลักษณ์ในสูตร รวมถึงลำดับการคำนวณ  เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลต่อการแสดงผลลัพธ์ทั้งสิ้น ตัวอย่าง {=SUM((B1:B9)/(A1:A5))}
  • 23. การสร้างสูตรคำนวณใช้เอง การสร้างสูตรใช้เองนั้นจำเป็นจะต้องทราบถึงหลักกการและองค์ประกอบสำคัญต่าง ๆ ที่ประกอบอยู่ในสูตรรวมถึงลำดับที่เราจะใช้ในการสร้างสูตรด้วย  หลักการสร้างสูตร           โครงสร้างหรือลำดับขององค์ประกอบต่าง ๆ ในสูตร  จะเป็นตัวกำหนดผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายซึ่ง Excel  จะคำนวณตามรูปแบบที่เรากำหนด  โดยปกติ Excel  จะคำนวณสูตรจากซ้ายไปขวา  แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลำดับของตัวดำเนินการที่มีลำดับเหนือกว่า  โดยที่เราสามารถควบคุมลำดับของการคำนวณได้โดยใช้เครื่องหมายวงเล็บเพื่อจัดกลุ่มในการคำนวณที่ควรจะเริ่มทำก่อน ตัวอย่าง =9+3/2 ผลลัพธ์เท่ากับ 10.5 เนื่องจาก Excel จะคำนวณ 3 หาร ด้วย 2 ก่อน ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1.5 แล้วสุดท้ายนำมาบวกด้วย 9  แต่ถ้าเราใช้วงเล็บเพื่อควบคุมการคำนวณโดยใส่วงเล็บให้ 9 บวกกับ 3 ก่อนแล้วจึงหารด้วย 2 ก็จะต้องใช้สูตร =(9+3)/2 ผลลัพธ์เท่ากับ 6
  • 24.
  • 25. ลำดับที่ Excel ใช้ดำเนินการในสูตร หากใช้ตัวดำเนินการหลาย ๆ ตัวในสูตรเดียวกัน  ใน Excel  จะมีลำดับการดำเนินการตามลำดับดังนี้ ลำดับที่ ตัวดำเนินการ คำอธิบาย 1. : ( เครื่องหมายจุดคู่ ) ตัวดำเนินการอ้างอิง 2. ( ที่ว่างเดียว ) ตัวดำเนินการอ้างอิง 3. , ( เครื่องหมาจุลภาค ) ตัวดำเนินการอ้างอิง 4. - เครื่องหมายลบ ( เช่น -5) 5. % เปอร์เซ็นต์ 6. ^ เลขชี้กำลัง 7. * และ / การคูณและการหาร 8. + และ - การบวกและการลบ 9. & เชื่อมสายอักขระของข้อความ 10. = <> <=> = <> การเปรียบเทียบ
  • 26. ตัวดำเนินการที่ใช้ในสูตร ( Operator)            เครื่องหมายหรือตัวดำเนินการคือ  องค์ประกอบหนึ่งในสูตรโดยจะระบุชนิดของการคำนวณที่ต้องการ ซึ่ง Excel  จะแบ่งตัวดำเนินการออกเป็น  4  ประเภท  คือ  คณิตศาสตร์  การเปรียบเทียบ  ข้อความ  และการอ้างอิง ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ( Arithmetic Operator)            ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์  ใช้คำนวณด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน  เช่น  การบวก  ลบ คูณ หาร การรวมตัวเลข  การหาผลลัพธ์ต่าง ๆ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง + การบวก 5+3 - การลบ 9-4 หรือ -1 * การคูณ 5*6 / การหาร 10/3 % เปอร์เซ็นต์ 2 % ^ เลขชี้กำลัง 2 ^ 2 ( หรือ 2*2)
  • 27. ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ ( COMPARISON OPERATOR) เราสามารถใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบเพื่อการเปรียบค่าสองค่า โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นค่าทางตรรกศาสตร์คือ TRUE หรือ FALSE เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง = เท่ากับ C5=D5 > มากกว่า C5>D5 < น้อยกว่า C5<D5 >= มากกว่าหรือเท่ากับ C5>=D5 <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ C5<=D5 <> ไม่เท่ากับ C5<>D5
  • 28. ตัวดำเนินการข้อความ ( TEXT CONCATENATION OPERATOR)            ตัวดำเนินการข้อความจะใช้เครื่องหมาย (&) ในการรวมข้อความหรือคำ 2 คำขึ้นไป เพื่อให้เป็นข้อความเดียวกัน เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง & เชื่อมหรือนำคำ 2 คำมาต่อกีนทำให้เกิดค่าข้อความต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียวกัน &quot;Lampamg&quot;&&quot;Kanlayanee&quot; ผลลัพธ์เป็น LampangKanlayanee
  • 29. ตัวดำเนินการสำหรับอ้างอิง ( REFERENCE OPERATOR) ตัวดำเนินการอ้างอิงถูกนำมาใช้เพื่อรวมช่วงของเซลล์สำหรับการคำนวณ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง : ( จุดคู่ ) ตัวดำเนินการช่วง โดยจะอ้างอิงเป็นช่วง ระหว่างจุดอ้างอิงที่หนึ่งกับจุดอ้างอิงที่สอง B1:B9 , ( จุลภาค ) ตัวดำเนินการส่วนรวม ซึ่งเป็นตัวรวมการอ้างอิงหลาย ๆ ชุดเช้าด้วยกันเป็นการอ้างอิงหนึ่งชุด SUM(A5:a12,C1:C5)