SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน อ่านหนังสืออย่างไรให้เข้าใจและจาได้
ชื่อผู้ทำโครงงำน
1. นำงสำว กรอรุ้ง สุขใจแสน เลขที่ 2 ชั้น ม.6/2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน
อ่ำนหนังสืออย่ำงไรให้เข้ำใจและจำได้
ประเภทโครงงาน พัฒนำสื่อเพื่อกำรศึกษำ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นำงสำว กรอรุ้ง สุขใจแสน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภำคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจำกตอนนี้ดิฉันผู้ทำโครงงำนกำลังศึกษำชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 จำเป็นจะต้องอ่ำนหนังสือเพื่อสอบ
เข้ำระดับอุดมศึกษำ และประสบปัญหำกับกำรอ่ำนหนังสือไม่รู้เรื่อง ไม่เข้ำใจเนื้อหำที่อ่ำน และไม่สำมำรถ
ท่องจำในสิ่งที่อ่ำนได้ในระยะยำว จึงทำให้เกิดอำกำรเครียดและวิตกกังวลเป็นอย่ำงมำก และเมื่อได้ไปสอบถำม
เพื่อนๆ พบว่ำส่วนมำกก็เจอปัญหำเดียวกันและบำงคนก็จะมีวิธีกำรอ่ำนหนังสือในฉบับของตนเองที่แตกต่ำง
กันออกไป ผู้จัดทำจึงอยำกหำสำเหตุของปัญหำและวิธีแก้ไขปัญหำกำรอ่ำนหนังสือไม่รู้เรื่อง ให้กับนักเรียนทุก
ๆ คนที่กำลังเจอปัญหำกำรอ่ำนหนังสือไม่รู้เรื่อง ไม่เพียงแต่จะช่วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 เท่ำนั้น แต่
สำมำรถช่วยทุก ๆคนที่ชอบอ่ำนหนังสือได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อหำสำเหตุของกำรอ่ำนหนังสือไม่เข้ำใจ
2.เพื่อที่จะได้ทรำบเทคนิคในกำรอ่ำนหนังสือ
3.สำมำรถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของกำรทำโครงงำน)
กำรศึกษำกำรเทคนิควิธีกำรอ่ำนให้แก่ กลุ่มผู้อ่ำนหนังสือที่นำควำมรู้จำกกำรอ่ำนไปใช้ประโยชน์
สำเหตุของปัญหำที่ผู้อ่ำนส่วนใหญ่มักจะประสบพบเจอ
หลักการและทฤษฎี
เหตุใดอ่านแล้วไม่เข้าใจ ทาไมอ่านแล้วไม่รู้เรื่อง
นักเรียนในโรงเรียน ทุกระดับชั้นในประเทศไทยประมำณร้อยละ 20 ปัจจุบันนี้ ประสบปัญหำกำรอ่ำน เพรำะ
อ่ำนหนังสือแล้วไม่เข้ำใจ ตีควำมไม่ได้ ไม่ว่ำจะเป็นบทเรียน โจทย์คณิตศำสตร์ อ่ำนกำร์ตูน โฆษณำ ฯลฯ
จนกระทั่งครูบำงคนอำจบอกว่ำเด็กโง่ และแม้แต่ผู้ใหญ่บำงคนก็ประสบปัญหำกำรอ่ำนแล้วไม่เข้ำใจ
เช่นเดียวกัน เช่นเดียวกับนักเรียนในประเทศอังกฤษ ที่ผู้เขียนได้มีโอกำสไปศึกษำ และ ดูงำนด้ำนกำรสอนผู้
พิกำร ในเดือนมิถุนำยน 2545 พบว่ำนักเรียนร้อยละ 20 ประสบปัญหำภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ
(Dyslexia) เป็นสำเหตุให้นักเรียนต้องออกจำกโรงเรียนกลำงคัน และร้อยละ 80 ของนักโทษในเรือนจำใน
อังกฤษ ที่มีควำมผิดทำงด้ำนเพศ คือ ฆ่ำ ข่มขืน และล่วงละเมิดทำงเพศ เป็นโรคภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ
(Dyslexia) นั่นเอง ทำให้รัฐบำลของอังกฤษตระหนักถึงควำมสำคัญในเรื่องนี้อย่ำงมำก และกำลังหำวิธีกำร
และมำตรกำรที่จะแก้ปัญหำนี้อย่ำงเร่งด่วนเมื่อนักเรียนอ่ำนไม่ได้จึงไม่เข้ำใจย่อมตีควำมโจทย์คณิตศำสตร์ไม่ได้
เขียนไม่ได้และตอบคำถำมไม่ได้ จึงเป็นปัญหำที่เกี่ยวพันกันยำกยิ่งที่ครูจะแก้ไข โดยเฉพำะทักษะกำรอ่ำนใน
แง่มุมของนักภำษำศำสตร์แล้ว นับเป็นทักษะที่ยุ่งยำกและซับซ้อนในด้ำนกลไกกำรรับรู้ภำยในสมองน้อยๆ ของ
เด็ก แม้แต่ทักษะกำรฟัง ซึ่งเป็นทักษะง่ำยที่สุดที่เด็กต้องฟังพ่อ แม่ ครู ฯลฯ พร่ำสั่งสอน ถึงแม้เด็กรับฟังทุกวัน
แต่ก็ยังไม่จดจำ อำทิ ทำให้ทำกำรบ้ำนส่งครูทุกวัน ทำควำมสะอำดโต๊ะ และ ห้องเรียน ฯลฯ ดังนั้นเรำจะทรำบ
และเข้ำใจได้อย่ำงไรว่ำเด็กเหล่ำนี้มีควำมผิดปกติอะไรบ้ำงในหัวสมอง และเรำจะช่วยแก้ไขปัญหำนั้นได้
อย่ำงไร
ควำมหมำยของDyslexiaDyslexia (อ่ำนออกเสียง ดิสเลคเซีย มำจำกภำษำกรีซ Dys : Not, Lexia :
Language หรือตำมพจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำนให้ควำมหมำยว่ำ ภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ)
ใครบ้ำงที่มีโอกำสอยู่ในภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจนี้ ทุกคนมีโอกำสเป็นได้ แต่จะมำกหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย
หลำยประกำร อำทิ มักจะเกิดกับเด็กพิกำร เป็นกรรมพันธุ์ หรือแม้แต่เด็กฉลำดมำกๆ อำทิ อัลเบอร์ต ไอสไตน์
ก็อำจเกิดภำวะนี้ได้ เช่นกัน นักเรียนที่ปรำกฏอำกำรที่เสียภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ ครูอำจจะสังเกตจำก
พฤติกรรมของ นักเรียนหรือเกิดสำเหตุดังนี้
 ควำมจำแย่มำก แม้จะฟังคำสั่ง คำสอน คำอธิบำย ฯลฯ สำมำรถจำได้แค่ระยะเวลำอันสั้น แล้วก็
หลงลืมไปเลย แม้แต่เวลำนัดหมำยใครไว้ก็ลืม หรือไม่รู้ว่ำวันนี้วันที่ เท่ำไร และเป็นวันอะไร
 สับสนควำมจำในเรื่อง วัน เดือน ปี พ.ศ. และฤดูกำล
 สับสนสิ่งเหล่ำนี้ คือ หลงทิศว่ำทิศเหนือเป็นทิศใต้ ทิศตะวันออกเป็นทิศตะวันตก หรือเมื่อครูออก
คำสั่งให้นักเรียนขวำหันนักเรียนกลับซ้ำยหัน หรือจำชื่อคนผิด เช่นเรียกน้องนิดเป็นน้องหน่อย หรือจำ
ชื่อสถำนที่ไม่ได้ เช่นบอกไม่ได้ว่ำไปชมกำรบินผำดโผนที่กองบิน 41 จังหวัดเชียงใหม่ มำเมื่อวำนนี้
เป็นต้น
 สับสนด้ำนภำษำ กำรเขียนอักษรกลับหน้ำ กลับหลัง อำทิ b เป็น d ตัว ค เป็น ตัว งเป็นกำรเรียงคำ
วลี หรือประโยคสับสน เช่น ฉันกินข้ำว เป็น ฉันข้ำวกิน
 หรือภำษำอังกฤษ อำทิ but cut put จะออกเสียง อะ เหมือนกันหมด และมีปัญหำเรื่องกำรสะกด
 แยกแยะจังหวะต่ำงๆ ไม่ออก เป็นคนไม่มีอำรมณ์ขัน เข้ำกับผู้อื่นไม่ได้ หรือมีปัญหำด้ำนกำร
ประสำนงำน
ปัจจัยเสี่ยง
 ช่วงที่สตรีตั้งครรภ์ได้รับประทำนยำ หรือรักษำโรคหัดเยอรมัน หรือเกิดอุบัติเหตุหกล้ม
 ทำรกคลอดก่อน หรือหลังกำหนด 2 สัปดำห์ขึ้นไป หรือคลอดด้วยวิธีไม่ปกติ อำทิ ผ่ำท้องมำรดำ ใช้
คีมคีบออก เป็นต้น และน้ำหนักทำรกน้อยกว่ำ 5 ปอนด์ และมีอำกำรผิดปกติอื่นๆ อำทิ หำยใจไม่
ปกติ ตัวเหลืองเพรำะเป็นดีซ่ำน สีผิวคล้ำ และช้ำเป็นจ้ำๆ
 เด็กมีพัฒนำกำร และกำรเรียนรู้ช้ำกว่ำปกติ อำทิ หัดพูด หัดเดิน หัดรับประทำนอำหำรเอง หรือหัด
ช่วยพยุงตัวเอง และเมื่อถึงวัยเข้ำโรงเรียนก็ไม่สำมำรถกลัดกระดุมเสื้อได้
 เด็กเคยมีอำกำรไข้ มีอุณหภูมิในร่ำงกำยสูงมำกถึงขั้นชัก เพ้อคลั่งหรือ ปัสสำวะรดที่นอนบ่อย ทั้งที่
อำยุมำกเกินกว่ำที่กำหนดแล้วก็ตำม
 เด็กบ่นปวดขำเมื่อเดินเขย่งเท้ำ และเมื่ออำยุ 8-10 ขวบ เด็กมีปัญหำเรื่องกำรได้ยิน มีปัญหำเรื่อง ตำ
หู คอ จมูก ซึ่งเด็กอำจจะรับเชื้อหวัด เกิดหลอดลม หรือไซนัสอักเสบ
 เมื่อเข้ำโรงเรียนเด็กมีสมำธิสั้น ไม่อยู่นิ่ง ไม่ชอบเรียนหนังสือ และไม่ชอบทำกำรบ้ำน บ่นปวดลูก
นัยน์ตำในขณะอ่ำนหนังสือ หรืออ้ำงว่ำปวดศีรษะเป็นประจำ
 เด็กมักมีปัญหำกำรฟัง ต้องฟังบ่อยๆ ซ้ำๆ และต้องมีสมำธิกำรฟังมำกๆ จึงจะจำและเข้ำใจ
 เด็กมีปัญหำกำรพูด อำทิ กำรพูดไม่ชัด พูดติดอ่ำง หรือพูดวกวน และสับสน
 เด็กอ่ำนหนังสือได้ดีในช่วงแรกของกำรอ่ำน แต่ต่อมำปฏิเสธไม่ยอมอ่ำน
 เด็กมีปัญหำด้ำนกำรเขียน อำทิ ชอบเขียนภำษำอังกฤษด้วยตัวพิมพ์มำกกว่ำตัวเขียน ตอนแรกเมื่อเด็ก
ฝึกหัดเขียนก็ทำได้ดี แต่พอตอนหลังเขียนได้แย่ลงกว่ำเดิม และหลีกเลี่ยงงำนที่ต้องเขียนด้วยลำยมือ
ภาวะการเสียการอ่านเข้าใจ
เป็นอำกำรที่เกี่ยวกับระบบประสำท หรืออำกำรที่ไม่ปกติที่ซ่อนเร้นอยู่ในสมองของเด็ก ทำให้เด็ก
อ่ำนไม่ออก จึงส่งผลให้เขียนไม่ได้ ตีควำมไม่ได้ และมีปัญหำในกำรทำงำนร่วมกับคนอื่น ทำให้ครูไม่ใคร่
พึงพอใจนัก หรือมักใช้ถ้อยคำ รุนแรงว่ำเด็กโง่ จนทำให้นักเรียนไม่สำมำรถเรียนต่อไปได้เพรำะทั้งครู นักเรียน
และผู้ปกครองก็ไม่เข้ำใจวิธีที่จะแก้ไขปัญหำ อำจจะทำให้ผู้เรียนต้องออกจำกโรงเรียน กลำงคัน เพรำะเรียน
ต่อไปไม่ไหว
เรำจะแก้ไขปัญหำนี้ได้อย่ำงไร แนวทำงของคำตอบก็คือ ครอบครัวต้องเอำใจใส่ดูแลเป็นพิเศษทั้งด้ำนสุขภำพ
และสอนหนังสือคือกำรสอนอ่ำนและสอนเขียนอย่ำงใจเย็น สำหรับครูคงเป็นเรื่องยำกยิ่งที่จะสอนนักเรียน
เหล่ำนี้เป็นพิเศษกว่ำเด็กปกติอื่นๆ เพรำะห้องเรียนในโรงเรียนในประเทศไทยค่อนข้ำงใหญ่ และขณะนี้ยังไม่มี
เทคนิคกำรสอน หรือกิจกรรมกำรเรียนใดที่จะสำมำรถแก้ปัญหำนี้ได้ ได้แต่หวังว่ำครูคงจะแบ่งเวลำให้ควำม
สนใจเด็กเหล่ำนี้เป็นพิเศษบ้ำง หรือให้เพื่อนที่มีควำมสำมำรถสอนนักเรียนเหล่ำนั้นให้หัดอ่ำนหรือเขียนบ่อยขึ้น
ก็จะเป็นกำรดี
นักกำรศึกษำควรร่วมมือกันหำวิธีกำรที่เหมำะสมเพื่อช่วยเหลือเด็กเหล่ำนี้ให้เรียนได้ดีขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เด็ก
ออกไปสร้ำงปัญหำกับสังคมต่อไป สมควรที่พวกเรำควรเร่งแก้ไขปัญหำนี้แล้วหรือยัง
เรียนหนัก อ่านหนังสือเยอะ...จนสมองล้า
(Brain Fag Syndrome)
อำกำรอ่อนล้ำของสมองขณะอ่ำนหนังสือ ทำให้จับใจควำมสำคัญไม่ได้ อ่ำนไปก็เสียเวลำเปล่ำเพรำะตำรำไม่
เข้ำหัว วันนี้เลยอยำกนำที่มำของอำกำรมำเล่ำสู่กันฟังเพื่อให้ระวังกันให้ดี
โรค Brain Fag Syndrome คืออะไร
โรค Brain Fag Syndrome หรือโรคอ่ำนหนังสือเยอะจนสมองล้ำ เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบประสำทและ
สมอง ถูกค้นพบครั้งแรกในทวีปแอฟริกำใต้ และไนจีเรียเป็นแห่งที่ 2 โดยกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่จะเป็นนักเรียน
นักศึกษำ หรือกลุ่มคนทำงำนที่ต้องใช้สำยตำอ่ำนหนังสือค่อนข้ำงเยอะ
ทั้งนี้นักจิตวิทยำก็ขยำยควำมต่อว่ำ เหตุที่เกิดในประเทศโลกที่ 3 มำกกว่ำประเทศอื่น ๆ ก็เพรำะควำม
ยำกลำบำกของกำรเรียนหนังสือ พร้อมทั้งควำมกดดันที่เด็กวัยเรียนในประเทศนั้น ๆ ต้องเจอ ทำให้เกิด
ควำมเครียดจนตกอยู่ในกำมือของภำวะ Brain Fag Syndrome นั่นเอง
สาเหตุของโรค Brain Fag Syndrome
หลัก ๆ แล้วโรคนี้จะเกิดจำกควำมเครียดอันเกิดจำกควำมพยำยำมอย่ำงยิ่งที่่จะทำอะไรให้สำเร็จสักอย่ำง
รวมทั้งควำมคำดหวังที่สูงจัดจนกลำยเป็นควำมกดดันตัวเองให้จดจ่อกับสิ่งที่ต้องกำรมำกเกินไป ส่วนมำกจะมี
อำกำรทำงจิตร่วมด้วยเล็กน้อย เช่น รู้สึกเหนื่อยล้ำทั้งร่ำงกำยและจิตใจจนไม่อยำกจะสำนต่อสิ่งที่ทำอยู่ หัว
สมองตื้อ สมำธิที่เคยมีหำยไป
ใครคือกลุ่มเสี่ยง
นักเรียน นักศึกษำที่กำลังจะสอบแข่งขัน หรือกำลังพยำยำมพิชิตบทเรียนที่ยำกเกินกว่ำจะผ่ำนไปได้ง่ำย ๆ
นอกจำกนี้กลุ่มวัยทำงำนที่ต้องเจอกับภำวะกดดันก็มีสิทธิ์เป็นโรคนี้ได้เช่นกัน
อาการบ่งชี้ภาวะ Brain Fag Syndrome
✔สมำธิบกพร่อง ไม่สำมำรถจดจ่ออยู่กับสิ่งที่อ่ำนได้
✔ควำมสำมำรถในกำรจดจำข้อมูลลดน้อยลง
✔เกิดอำกำรเป็นเหน็บ รู้สึกชำตำมส่วนต่ำง ๆ ของร่ำงกำย
✔ปวดหัว
✔ปวดบ่ำและไหล่
✔หงุดหงิดง่ำย
✔สีหน้ำบ่งบอกถึงควำมไม่สบำยใจ
✔กระสับกระส่ำย
✔หำยใจติดขัด
✔วิตกกังวล
✔น้ำหนักลดลงโดยไม่ทรำบสำเหตุ
✔นอนไม่หลับ
✔เหงื่อออกเยอะผิดปกติ
✔เสียงสั่น
✔เกิดควำมผิดปกติของเส้นประสำท
✔ตำพร่ำมัว
✔หูอื้อ
❌หำกเกิดอำกำรผิดปกติเหล่ำนี้กับคุณเกิน 5 ข้อ อำจเป็นไปได้ที่คุณจะป่วยเป็นโรค Brain Fag Syndrome
8 เคล็ดลับอ่านหนังสือยังไง
ให้จาเร็วและแม่น
1. อ่านหน้าสรุปก่อน
อ่ำนตอนจบก่อนเลย หนังสือส่วนใหญ่ชอบเขียนชักแม่น้ำทั้งห้ำ เขียนอธิบำยอย่ำงละเอียดยิบ ใช้
ประโยคที่ต้องอ่ำนซ้ำสองสำมรอบถึงจะเข้ำใจ โดยเฉพำะในหน้ำแรก ๆ ของบท เรำไม่จำเป็นต้องรู้ประวัติชีวิต
ของผู้เขียน บทนำ ซึ่งจะเป็นกำรเขียนเกริ่นแนะนำให้อ่ำนต่อไปเรื่อย ๆ เป็นส่วนใหญ่ ในทำงกลับกัน บทส่ง
ท้ำย หรือบทสรุป เป็นสิ่งที่ต้องอ่ำน โดยปกติแล้วจะเป็นส่วนที่ผู้เขียนสรุปข้อมูลทั้งหมดที่ได้กล่ำวมำ อีกทั้ง
หำกเรำอ่ำนบทสรุปก่อน แล้วกลับมำอ่ำนหน้ำแรกอีกครั้งก็ทำให้เรำสำมำรถอ่ำนได้เข้ำใจมำกขึ้น แม้กระทั่งใน
เวลำที่ต้องอ่ำนหนังสือก่อนเพื่อไปเรียนในคำบถัดไป กำรอ่ำนส่วนบทสรุปก็ทำให้เรำเห็นภำพคร่ำวๆ ของ
เนื้อหำที่ต้องเรียนแล้ว
2. ใช้ปากกาไฮไลต์เพื่อนเน้นใจความสาคัญ
ควำมจริงแล้ว กำรไฮไลท์ข้อควำมนั้นมีประโยชน์มำก “หำกใช้อย่ำงถูกวิธี” ไม่ควรไฮไลท์ทุกอย่ำงใน
หน้ำ และไม่ควรไฮไลท์น้อยจนเกินไป สิ่งที่ควรทำคือ กำรไฮไลท์ข้อควำมหัวข้อสรุป หรือใจควำมสำคัญเด่น ๆ
เมื่อเรำเปิดหนังสือมำอ่ำนอีกครั้ง เรำจะสำมำรถทรำบทุกอย่ำงที่จำเป็นต้องรู้ด้วยกำรมองเพียงแวบเดียว
3. ดูสารบัญและหัวข้อย่อย
ทำให้เรำรู้ใจควำมสำคัญของสิ่งที่ผู้เขียนต้องกำรสื่อได้อย่ำงดี เพรำะผู้เขียนมักจะกล่ำวถึงประเด็น
สำคัญซ้ำ ๆ ในทุกส่วนของหนังสือ
4. ขวนขวายกันสักนิด
แทนที่จะซึมซับทุกอย่ำงจำกกำรอ่ำนหนังสือที่อำจำรย์สั่งเท่ำนั้น ลองเปิดโลกใหม่ดูบ้ำง หำหนังสือเล่ม
อื่นๆ ในห้องสมุด หรือในอินเตอร์เน็ตก็มีเยอะแยะไปที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหำที่เรียนมำอ่ำนดู ซึ่งหนังสือบำงเล่ม
พูดถึงเล่มเดียวกันแต่เขียนได้น่ำอ่ำน อ่ำนเข้ำใจง่ำย มีภำพประกอบเพิ่ม สรุปแบบอ่ำนแล้วเข้ำใจ ซึ่งจริง ๆ
เนื้อหำก็เรื่องเดียวกับที่เรียนในห้อง
5. พยายามอย่าอ่านทุกคา
หลำยคนคิดว่ำกำรอ่ำนทุกคำจะช่วยให้จดจำข้อมูลได้อย่ำงละเอียดยิบ ควำมจริงแล้วหำเป็นเช่นนั้นไม่
เพรำะสมองจะได้รับข้อมูลมำกเกินไปและเกิดควำมล้ำ เบื่อหน่ำยจนตำลอยอ่ำนหนังสือไม่เข้ำหัวในที่สุด
ที่เป็นเช่นนี้เพรำะหนังสือที่ไม่ได้อยู่ในประเภทนิยำยมักจะถูกเขียนอธิบำยซ้ำ ๆ เพรำะผู้เขียนต้องกำรจะกล่ำว
อธิบำยให้กระจ่ำง แต่ใจควำมสำคัญจริง ๆ แล้วอยู่ที่บทสรุปเพียงไม่กี่ย่อหน้ำ หนังสือส่วนใหญ่ใส่ข้อมูล
หลักฐำนจนแน่นมำกกว่ำจะกล่ำวถึงประเด็น ซึ่งก็เป็นเรื่องดีและน่ำสนใจ แต่ทุกหลักฐำนที่อ้ำงนั้นก็กล่ำวถึง
ประเด็นเดียว กำรอ่ำนเพิ่มเติมก็เป็นกำรย้ำถึงประเด็นเดิม ดังนั้นเลือกหลักฐำนที่น่ำสนใจที่สุดแล้วอ่ำนบท
ต่อไปเถอะ
6. เขียนสรุปมุมมองของผู้อ่าน
อดทนหน่อยอย่ำเพิ่งเบื่อ! คนส่วนใหญ่ไม่ชอบกำรเขียน แต่กำรเขียนนั้นเป็นวิธีกำรที่ง่ำยที่สุดในกำร
รวบรวมข้อมูลสำคัญในระยะเวลำอันสั้น หำกเป็นไปได้ให้เขียนใจควำมสำคัญในแบบฉบับของเรำใน 1
หน้ำกระดำษ โดยพูดถึงประเด็นที่ผู้เขียนต้องกำรจะสื่อ ยกตัวอย่ำงสั้น ๆ และคำถำมหรือควำมรู้สึกของเรำที่
ต้องกำรกำรค้นคว้ำเพื่อหำคำตอบต่อไปให้ดียิ่งขึ้น
กำรเขียนมุมมองของผู้อ่ำนเช่นนี้ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เรำทรำบถึงประเด็นสำคัญของหนังสือเช่นเดียวกับกำร
ไฮไลท์ข้อควำม เมื่อใกล้ถึงช่วงสอบ จะเป็นกำรง่ำยกว่ำที่เรำจะนั่งอ่ำนมุมมองสรุปของผู้อ่ำน แทนที่จะพลิก
ตำรำอ่ำนหนังสือทั้งเล่มเพื่ออ่ำนทบทวนอีกครั้ง
7. อภิปรายกับผู้อื่น
คนส่วนมำกไม่ชอบกำรทำงำนกลุ่ม แต่กำรจับกลุ่มกันพูดถึงเนื้อหำของหนังสือที่ต้องอ่ำนช่วยทำให้เรำ
จำได้ง่ำยขึ้น บำงครั้งอำจพูดถึงหนังสือในแง่ตลก ๆ ก็จะทำให้เรำจำประเด็นนั้นได้เมื่อเรำอยู่ในห้องสอบ
เพรำะเรำจะคิดถึงเรื่องตลกก่อน เป็นกำรใช้หลักกำรเชื่อมโยงข้อมูลที่ทำให้สมองของเรำทำงำนได้ง่ำยขึ้น
กำรพูดคุยเกี่ยวกับหนังสือที่อ่ำนช่วยทำให้เรำได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจำกบำงส่วนที่เรำมองข้ำมไป บำงคนนั้นชอบ
เรียนรู้โดยกำรฟัง และมักจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อได้ยินข้อมูล ดังนั้นกำรพูดคุยสนทนำถกเถียงประเด็นที่อยู่ใน
หนังสือจะทำให้เรำจำประเด็นสำคัญนั้นได้ดีเมื่อได้ฟังผ่ำนหู ทำให้เรำสำมำรถระลึกถึงข้อมูลส่วนนั้นได้เมื่ออยู่
ในกำรสอบ
8. จดคาถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการอ่าน
หัวใจหลักของเทคนิคนี้ คือกำรตั้งคำถำม อย่ำเชื่อว่ำผู้เขียนนั้นเขียนได้ถูกต้องซะทีเดียว ให้จดจ่อกับสิ่งที่
อำจและใช้ควำมคิดเชิงวิเครำะห์ในกำรอ่ำน เช่น
 ทำไมผู้เขียนจึงกล่ำวเช่นนั้น?
 หลักฐำนคำอธิบำยนี้เป็นจริงหรือ?
 ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับข้อโต้แย้งของผู้เขียนอย่ำงไร?
 ผู้เขียนต้องกำรสื่อข้อควำมนี้ให้แก่ใคร?
คำถำมอำจซับซ้อนกว่ำนี้หรือง่ำยกว่ำนี้ ขึ้นอยู่กับหนังสือที่อ่ำน เคล็ดลับเหล่ำนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เรำอ่ำน
หนังสือและจดจำได้เป็นอย่ำงดี แต่แน่นอนว่ำอำจจะมีวิธีที่หลำกหลำยกว่ำนี้ แต่ละวิธีก็อำจให้ผลลัพธ์แตกต่ำง
กันไปขึ้นอยู่กับว่ำใครชอบวิธีไหน
รู้แบบนี้แล้ว เรำต้องลุกขึ้นมำกระตือรือร้นในกำรอ่ำน ค้นหำสิ่งที่อยำกอ่ำน และทุ่มเทสักหน่อย จดจำประเด็น
สำคัญ หำกทำได้เช่นนี้รับรองว่ำหนังสือร้อยหน้ำก็อ่ำนจบได้ในเวลำแค่แป๊บเดียว
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษำเลือกหัวข้อ
-นำเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษำรวบรวมข้อมูล
-จัดทำรำยงำน
-นำเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงำน
2 ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูล
3 จัดทำโครงร่ำงงำน
4 ปฏิบัติกำรสร้ำงโครงงำน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 กำรทำเอกสำรรำยงำน
7 ประเมินผลงำน
8 นำเสนอโครงงำน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในหัวข้อที่สนใจมำกขึ้น
2.สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้กับกำรเรียนได้จริง
3.สำมำรถนำควำมรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4.ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบมำกขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพรำชวิทยำลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำ
2.กลุ่มพัฒนำผู้เรียน
computer

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Jutamas123
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์panita aom
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06KTPH2348
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 

What's hot (6)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 

Similar to computer

โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยRsmay Saengkaew
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ldpanidda3355
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 

Similar to computer (20)

2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
The Deep work
The Deep workThe Deep work
The Deep work
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 

More from jungkookjin

Please stop smoking
Please stop smoking Please stop smoking
Please stop smoking jungkookjin
 
Type of computer project
Type of computer projectType of computer project
Type of computer projectjungkookjin
 
Portfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestryPortfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestryjungkookjin
 

More from jungkookjin (6)

Please stop smoking
Please stop smoking Please stop smoking
Please stop smoking
 
Type of computer project
Type of computer projectType of computer project
Type of computer project
 
Portfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestryPortfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestry
 
Computer 01.02
Computer 01.02Computer 01.02
Computer 01.02
 
Com
ComCom
Com
 
Computer work
Computer workComputer work
Computer work
 

computer

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน อ่านหนังสืออย่างไรให้เข้าใจและจาได้ ชื่อผู้ทำโครงงำน 1. นำงสำว กรอรุ้ง สุขใจแสน เลขที่ 2 ชั้น ม.6/2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน อ่ำนหนังสืออย่ำงไรให้เข้ำใจและจำได้ ประเภทโครงงาน พัฒนำสื่อเพื่อกำรศึกษำ ชื่อผู้ทาโครงงาน นำงสำว กรอรุ้ง สุขใจแสน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภำคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจำกตอนนี้ดิฉันผู้ทำโครงงำนกำลังศึกษำชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 จำเป็นจะต้องอ่ำนหนังสือเพื่อสอบ เข้ำระดับอุดมศึกษำ และประสบปัญหำกับกำรอ่ำนหนังสือไม่รู้เรื่อง ไม่เข้ำใจเนื้อหำที่อ่ำน และไม่สำมำรถ ท่องจำในสิ่งที่อ่ำนได้ในระยะยำว จึงทำให้เกิดอำกำรเครียดและวิตกกังวลเป็นอย่ำงมำก และเมื่อได้ไปสอบถำม เพื่อนๆ พบว่ำส่วนมำกก็เจอปัญหำเดียวกันและบำงคนก็จะมีวิธีกำรอ่ำนหนังสือในฉบับของตนเองที่แตกต่ำง กันออกไป ผู้จัดทำจึงอยำกหำสำเหตุของปัญหำและวิธีแก้ไขปัญหำกำรอ่ำนหนังสือไม่รู้เรื่อง ให้กับนักเรียนทุก ๆ คนที่กำลังเจอปัญหำกำรอ่ำนหนังสือไม่รู้เรื่อง ไม่เพียงแต่จะช่วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 เท่ำนั้น แต่ สำมำรถช่วยทุก ๆคนที่ชอบอ่ำนหนังสือได้อีกด้วย วัตถุประสงค์ 1.เพื่อหำสำเหตุของกำรอ่ำนหนังสือไม่เข้ำใจ 2.เพื่อที่จะได้ทรำบเทคนิคในกำรอ่ำนหนังสือ 3.สำมำรถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของกำรทำโครงงำน) กำรศึกษำกำรเทคนิควิธีกำรอ่ำนให้แก่ กลุ่มผู้อ่ำนหนังสือที่นำควำมรู้จำกกำรอ่ำนไปใช้ประโยชน์ สำเหตุของปัญหำที่ผู้อ่ำนส่วนใหญ่มักจะประสบพบเจอ หลักการและทฤษฎี เหตุใดอ่านแล้วไม่เข้าใจ ทาไมอ่านแล้วไม่รู้เรื่อง นักเรียนในโรงเรียน ทุกระดับชั้นในประเทศไทยประมำณร้อยละ 20 ปัจจุบันนี้ ประสบปัญหำกำรอ่ำน เพรำะ อ่ำนหนังสือแล้วไม่เข้ำใจ ตีควำมไม่ได้ ไม่ว่ำจะเป็นบทเรียน โจทย์คณิตศำสตร์ อ่ำนกำร์ตูน โฆษณำ ฯลฯ จนกระทั่งครูบำงคนอำจบอกว่ำเด็กโง่ และแม้แต่ผู้ใหญ่บำงคนก็ประสบปัญหำกำรอ่ำนแล้วไม่เข้ำใจ เช่นเดียวกัน เช่นเดียวกับนักเรียนในประเทศอังกฤษ ที่ผู้เขียนได้มีโอกำสไปศึกษำ และ ดูงำนด้ำนกำรสอนผู้ พิกำร ในเดือนมิถุนำยน 2545 พบว่ำนักเรียนร้อยละ 20 ประสบปัญหำภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ (Dyslexia) เป็นสำเหตุให้นักเรียนต้องออกจำกโรงเรียนกลำงคัน และร้อยละ 80 ของนักโทษในเรือนจำใน อังกฤษ ที่มีควำมผิดทำงด้ำนเพศ คือ ฆ่ำ ข่มขืน และล่วงละเมิดทำงเพศ เป็นโรคภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ
  • 3. (Dyslexia) นั่นเอง ทำให้รัฐบำลของอังกฤษตระหนักถึงควำมสำคัญในเรื่องนี้อย่ำงมำก และกำลังหำวิธีกำร และมำตรกำรที่จะแก้ปัญหำนี้อย่ำงเร่งด่วนเมื่อนักเรียนอ่ำนไม่ได้จึงไม่เข้ำใจย่อมตีควำมโจทย์คณิตศำสตร์ไม่ได้ เขียนไม่ได้และตอบคำถำมไม่ได้ จึงเป็นปัญหำที่เกี่ยวพันกันยำกยิ่งที่ครูจะแก้ไข โดยเฉพำะทักษะกำรอ่ำนใน แง่มุมของนักภำษำศำสตร์แล้ว นับเป็นทักษะที่ยุ่งยำกและซับซ้อนในด้ำนกลไกกำรรับรู้ภำยในสมองน้อยๆ ของ เด็ก แม้แต่ทักษะกำรฟัง ซึ่งเป็นทักษะง่ำยที่สุดที่เด็กต้องฟังพ่อ แม่ ครู ฯลฯ พร่ำสั่งสอน ถึงแม้เด็กรับฟังทุกวัน แต่ก็ยังไม่จดจำ อำทิ ทำให้ทำกำรบ้ำนส่งครูทุกวัน ทำควำมสะอำดโต๊ะ และ ห้องเรียน ฯลฯ ดังนั้นเรำจะทรำบ และเข้ำใจได้อย่ำงไรว่ำเด็กเหล่ำนี้มีควำมผิดปกติอะไรบ้ำงในหัวสมอง และเรำจะช่วยแก้ไขปัญหำนั้นได้ อย่ำงไร ควำมหมำยของDyslexiaDyslexia (อ่ำนออกเสียง ดิสเลคเซีย มำจำกภำษำกรีซ Dys : Not, Lexia : Language หรือตำมพจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำนให้ควำมหมำยว่ำ ภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ) ใครบ้ำงที่มีโอกำสอยู่ในภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจนี้ ทุกคนมีโอกำสเป็นได้ แต่จะมำกหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย หลำยประกำร อำทิ มักจะเกิดกับเด็กพิกำร เป็นกรรมพันธุ์ หรือแม้แต่เด็กฉลำดมำกๆ อำทิ อัลเบอร์ต ไอสไตน์ ก็อำจเกิดภำวะนี้ได้ เช่นกัน นักเรียนที่ปรำกฏอำกำรที่เสียภำวะเสียกำรอ่ำนเข้ำใจ ครูอำจจะสังเกตจำก พฤติกรรมของ นักเรียนหรือเกิดสำเหตุดังนี้  ควำมจำแย่มำก แม้จะฟังคำสั่ง คำสอน คำอธิบำย ฯลฯ สำมำรถจำได้แค่ระยะเวลำอันสั้น แล้วก็ หลงลืมไปเลย แม้แต่เวลำนัดหมำยใครไว้ก็ลืม หรือไม่รู้ว่ำวันนี้วันที่ เท่ำไร และเป็นวันอะไร  สับสนควำมจำในเรื่อง วัน เดือน ปี พ.ศ. และฤดูกำล  สับสนสิ่งเหล่ำนี้ คือ หลงทิศว่ำทิศเหนือเป็นทิศใต้ ทิศตะวันออกเป็นทิศตะวันตก หรือเมื่อครูออก คำสั่งให้นักเรียนขวำหันนักเรียนกลับซ้ำยหัน หรือจำชื่อคนผิด เช่นเรียกน้องนิดเป็นน้องหน่อย หรือจำ ชื่อสถำนที่ไม่ได้ เช่นบอกไม่ได้ว่ำไปชมกำรบินผำดโผนที่กองบิน 41 จังหวัดเชียงใหม่ มำเมื่อวำนนี้ เป็นต้น  สับสนด้ำนภำษำ กำรเขียนอักษรกลับหน้ำ กลับหลัง อำทิ b เป็น d ตัว ค เป็น ตัว งเป็นกำรเรียงคำ วลี หรือประโยคสับสน เช่น ฉันกินข้ำว เป็น ฉันข้ำวกิน  หรือภำษำอังกฤษ อำทิ but cut put จะออกเสียง อะ เหมือนกันหมด และมีปัญหำเรื่องกำรสะกด  แยกแยะจังหวะต่ำงๆ ไม่ออก เป็นคนไม่มีอำรมณ์ขัน เข้ำกับผู้อื่นไม่ได้ หรือมีปัญหำด้ำนกำร ประสำนงำน
  • 4. ปัจจัยเสี่ยง  ช่วงที่สตรีตั้งครรภ์ได้รับประทำนยำ หรือรักษำโรคหัดเยอรมัน หรือเกิดอุบัติเหตุหกล้ม  ทำรกคลอดก่อน หรือหลังกำหนด 2 สัปดำห์ขึ้นไป หรือคลอดด้วยวิธีไม่ปกติ อำทิ ผ่ำท้องมำรดำ ใช้ คีมคีบออก เป็นต้น และน้ำหนักทำรกน้อยกว่ำ 5 ปอนด์ และมีอำกำรผิดปกติอื่นๆ อำทิ หำยใจไม่ ปกติ ตัวเหลืองเพรำะเป็นดีซ่ำน สีผิวคล้ำ และช้ำเป็นจ้ำๆ  เด็กมีพัฒนำกำร และกำรเรียนรู้ช้ำกว่ำปกติ อำทิ หัดพูด หัดเดิน หัดรับประทำนอำหำรเอง หรือหัด ช่วยพยุงตัวเอง และเมื่อถึงวัยเข้ำโรงเรียนก็ไม่สำมำรถกลัดกระดุมเสื้อได้  เด็กเคยมีอำกำรไข้ มีอุณหภูมิในร่ำงกำยสูงมำกถึงขั้นชัก เพ้อคลั่งหรือ ปัสสำวะรดที่นอนบ่อย ทั้งที่ อำยุมำกเกินกว่ำที่กำหนดแล้วก็ตำม  เด็กบ่นปวดขำเมื่อเดินเขย่งเท้ำ และเมื่ออำยุ 8-10 ขวบ เด็กมีปัญหำเรื่องกำรได้ยิน มีปัญหำเรื่อง ตำ หู คอ จมูก ซึ่งเด็กอำจจะรับเชื้อหวัด เกิดหลอดลม หรือไซนัสอักเสบ  เมื่อเข้ำโรงเรียนเด็กมีสมำธิสั้น ไม่อยู่นิ่ง ไม่ชอบเรียนหนังสือ และไม่ชอบทำกำรบ้ำน บ่นปวดลูก นัยน์ตำในขณะอ่ำนหนังสือ หรืออ้ำงว่ำปวดศีรษะเป็นประจำ  เด็กมักมีปัญหำกำรฟัง ต้องฟังบ่อยๆ ซ้ำๆ และต้องมีสมำธิกำรฟังมำกๆ จึงจะจำและเข้ำใจ  เด็กมีปัญหำกำรพูด อำทิ กำรพูดไม่ชัด พูดติดอ่ำง หรือพูดวกวน และสับสน  เด็กอ่ำนหนังสือได้ดีในช่วงแรกของกำรอ่ำน แต่ต่อมำปฏิเสธไม่ยอมอ่ำน  เด็กมีปัญหำด้ำนกำรเขียน อำทิ ชอบเขียนภำษำอังกฤษด้วยตัวพิมพ์มำกกว่ำตัวเขียน ตอนแรกเมื่อเด็ก ฝึกหัดเขียนก็ทำได้ดี แต่พอตอนหลังเขียนได้แย่ลงกว่ำเดิม และหลีกเลี่ยงงำนที่ต้องเขียนด้วยลำยมือ ภาวะการเสียการอ่านเข้าใจ เป็นอำกำรที่เกี่ยวกับระบบประสำท หรืออำกำรที่ไม่ปกติที่ซ่อนเร้นอยู่ในสมองของเด็ก ทำให้เด็ก อ่ำนไม่ออก จึงส่งผลให้เขียนไม่ได้ ตีควำมไม่ได้ และมีปัญหำในกำรทำงำนร่วมกับคนอื่น ทำให้ครูไม่ใคร่ พึงพอใจนัก หรือมักใช้ถ้อยคำ รุนแรงว่ำเด็กโง่ จนทำให้นักเรียนไม่สำมำรถเรียนต่อไปได้เพรำะทั้งครู นักเรียน และผู้ปกครองก็ไม่เข้ำใจวิธีที่จะแก้ไขปัญหำ อำจจะทำให้ผู้เรียนต้องออกจำกโรงเรียน กลำงคัน เพรำะเรียน ต่อไปไม่ไหว เรำจะแก้ไขปัญหำนี้ได้อย่ำงไร แนวทำงของคำตอบก็คือ ครอบครัวต้องเอำใจใส่ดูแลเป็นพิเศษทั้งด้ำนสุขภำพ และสอนหนังสือคือกำรสอนอ่ำนและสอนเขียนอย่ำงใจเย็น สำหรับครูคงเป็นเรื่องยำกยิ่งที่จะสอนนักเรียน เหล่ำนี้เป็นพิเศษกว่ำเด็กปกติอื่นๆ เพรำะห้องเรียนในโรงเรียนในประเทศไทยค่อนข้ำงใหญ่ และขณะนี้ยังไม่มี เทคนิคกำรสอน หรือกิจกรรมกำรเรียนใดที่จะสำมำรถแก้ปัญหำนี้ได้ ได้แต่หวังว่ำครูคงจะแบ่งเวลำให้ควำม สนใจเด็กเหล่ำนี้เป็นพิเศษบ้ำง หรือให้เพื่อนที่มีควำมสำมำรถสอนนักเรียนเหล่ำนั้นให้หัดอ่ำนหรือเขียนบ่อยขึ้น ก็จะเป็นกำรดี นักกำรศึกษำควรร่วมมือกันหำวิธีกำรที่เหมำะสมเพื่อช่วยเหลือเด็กเหล่ำนี้ให้เรียนได้ดีขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เด็ก ออกไปสร้ำงปัญหำกับสังคมต่อไป สมควรที่พวกเรำควรเร่งแก้ไขปัญหำนี้แล้วหรือยัง
  • 5. เรียนหนัก อ่านหนังสือเยอะ...จนสมองล้า (Brain Fag Syndrome) อำกำรอ่อนล้ำของสมองขณะอ่ำนหนังสือ ทำให้จับใจควำมสำคัญไม่ได้ อ่ำนไปก็เสียเวลำเปล่ำเพรำะตำรำไม่ เข้ำหัว วันนี้เลยอยำกนำที่มำของอำกำรมำเล่ำสู่กันฟังเพื่อให้ระวังกันให้ดี โรค Brain Fag Syndrome คืออะไร โรค Brain Fag Syndrome หรือโรคอ่ำนหนังสือเยอะจนสมองล้ำ เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบประสำทและ สมอง ถูกค้นพบครั้งแรกในทวีปแอฟริกำใต้ และไนจีเรียเป็นแห่งที่ 2 โดยกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่จะเป็นนักเรียน นักศึกษำ หรือกลุ่มคนทำงำนที่ต้องใช้สำยตำอ่ำนหนังสือค่อนข้ำงเยอะ ทั้งนี้นักจิตวิทยำก็ขยำยควำมต่อว่ำ เหตุที่เกิดในประเทศโลกที่ 3 มำกกว่ำประเทศอื่น ๆ ก็เพรำะควำม ยำกลำบำกของกำรเรียนหนังสือ พร้อมทั้งควำมกดดันที่เด็กวัยเรียนในประเทศนั้น ๆ ต้องเจอ ทำให้เกิด ควำมเครียดจนตกอยู่ในกำมือของภำวะ Brain Fag Syndrome นั่นเอง
  • 6. สาเหตุของโรค Brain Fag Syndrome หลัก ๆ แล้วโรคนี้จะเกิดจำกควำมเครียดอันเกิดจำกควำมพยำยำมอย่ำงยิ่งที่่จะทำอะไรให้สำเร็จสักอย่ำง รวมทั้งควำมคำดหวังที่สูงจัดจนกลำยเป็นควำมกดดันตัวเองให้จดจ่อกับสิ่งที่ต้องกำรมำกเกินไป ส่วนมำกจะมี อำกำรทำงจิตร่วมด้วยเล็กน้อย เช่น รู้สึกเหนื่อยล้ำทั้งร่ำงกำยและจิตใจจนไม่อยำกจะสำนต่อสิ่งที่ทำอยู่ หัว สมองตื้อ สมำธิที่เคยมีหำยไป ใครคือกลุ่มเสี่ยง นักเรียน นักศึกษำที่กำลังจะสอบแข่งขัน หรือกำลังพยำยำมพิชิตบทเรียนที่ยำกเกินกว่ำจะผ่ำนไปได้ง่ำย ๆ นอกจำกนี้กลุ่มวัยทำงำนที่ต้องเจอกับภำวะกดดันก็มีสิทธิ์เป็นโรคนี้ได้เช่นกัน อาการบ่งชี้ภาวะ Brain Fag Syndrome ✔สมำธิบกพร่อง ไม่สำมำรถจดจ่ออยู่กับสิ่งที่อ่ำนได้ ✔ควำมสำมำรถในกำรจดจำข้อมูลลดน้อยลง ✔เกิดอำกำรเป็นเหน็บ รู้สึกชำตำมส่วนต่ำง ๆ ของร่ำงกำย ✔ปวดหัว ✔ปวดบ่ำและไหล่ ✔หงุดหงิดง่ำย ✔สีหน้ำบ่งบอกถึงควำมไม่สบำยใจ ✔กระสับกระส่ำย ✔หำยใจติดขัด ✔วิตกกังวล ✔น้ำหนักลดลงโดยไม่ทรำบสำเหตุ ✔นอนไม่หลับ ✔เหงื่อออกเยอะผิดปกติ ✔เสียงสั่น ✔เกิดควำมผิดปกติของเส้นประสำท ✔ตำพร่ำมัว ✔หูอื้อ ❌หำกเกิดอำกำรผิดปกติเหล่ำนี้กับคุณเกิน 5 ข้อ อำจเป็นไปได้ที่คุณจะป่วยเป็นโรค Brain Fag Syndrome
  • 7. 8 เคล็ดลับอ่านหนังสือยังไง ให้จาเร็วและแม่น 1. อ่านหน้าสรุปก่อน อ่ำนตอนจบก่อนเลย หนังสือส่วนใหญ่ชอบเขียนชักแม่น้ำทั้งห้ำ เขียนอธิบำยอย่ำงละเอียดยิบ ใช้ ประโยคที่ต้องอ่ำนซ้ำสองสำมรอบถึงจะเข้ำใจ โดยเฉพำะในหน้ำแรก ๆ ของบท เรำไม่จำเป็นต้องรู้ประวัติชีวิต ของผู้เขียน บทนำ ซึ่งจะเป็นกำรเขียนเกริ่นแนะนำให้อ่ำนต่อไปเรื่อย ๆ เป็นส่วนใหญ่ ในทำงกลับกัน บทส่ง ท้ำย หรือบทสรุป เป็นสิ่งที่ต้องอ่ำน โดยปกติแล้วจะเป็นส่วนที่ผู้เขียนสรุปข้อมูลทั้งหมดที่ได้กล่ำวมำ อีกทั้ง หำกเรำอ่ำนบทสรุปก่อน แล้วกลับมำอ่ำนหน้ำแรกอีกครั้งก็ทำให้เรำสำมำรถอ่ำนได้เข้ำใจมำกขึ้น แม้กระทั่งใน เวลำที่ต้องอ่ำนหนังสือก่อนเพื่อไปเรียนในคำบถัดไป กำรอ่ำนส่วนบทสรุปก็ทำให้เรำเห็นภำพคร่ำวๆ ของ เนื้อหำที่ต้องเรียนแล้ว 2. ใช้ปากกาไฮไลต์เพื่อนเน้นใจความสาคัญ ควำมจริงแล้ว กำรไฮไลท์ข้อควำมนั้นมีประโยชน์มำก “หำกใช้อย่ำงถูกวิธี” ไม่ควรไฮไลท์ทุกอย่ำงใน หน้ำ และไม่ควรไฮไลท์น้อยจนเกินไป สิ่งที่ควรทำคือ กำรไฮไลท์ข้อควำมหัวข้อสรุป หรือใจควำมสำคัญเด่น ๆ เมื่อเรำเปิดหนังสือมำอ่ำนอีกครั้ง เรำจะสำมำรถทรำบทุกอย่ำงที่จำเป็นต้องรู้ด้วยกำรมองเพียงแวบเดียว 3. ดูสารบัญและหัวข้อย่อย ทำให้เรำรู้ใจควำมสำคัญของสิ่งที่ผู้เขียนต้องกำรสื่อได้อย่ำงดี เพรำะผู้เขียนมักจะกล่ำวถึงประเด็น สำคัญซ้ำ ๆ ในทุกส่วนของหนังสือ 4. ขวนขวายกันสักนิด แทนที่จะซึมซับทุกอย่ำงจำกกำรอ่ำนหนังสือที่อำจำรย์สั่งเท่ำนั้น ลองเปิดโลกใหม่ดูบ้ำง หำหนังสือเล่ม อื่นๆ ในห้องสมุด หรือในอินเตอร์เน็ตก็มีเยอะแยะไปที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหำที่เรียนมำอ่ำนดู ซึ่งหนังสือบำงเล่ม พูดถึงเล่มเดียวกันแต่เขียนได้น่ำอ่ำน อ่ำนเข้ำใจง่ำย มีภำพประกอบเพิ่ม สรุปแบบอ่ำนแล้วเข้ำใจ ซึ่งจริง ๆ เนื้อหำก็เรื่องเดียวกับที่เรียนในห้อง 5. พยายามอย่าอ่านทุกคา หลำยคนคิดว่ำกำรอ่ำนทุกคำจะช่วยให้จดจำข้อมูลได้อย่ำงละเอียดยิบ ควำมจริงแล้วหำเป็นเช่นนั้นไม่ เพรำะสมองจะได้รับข้อมูลมำกเกินไปและเกิดควำมล้ำ เบื่อหน่ำยจนตำลอยอ่ำนหนังสือไม่เข้ำหัวในที่สุด ที่เป็นเช่นนี้เพรำะหนังสือที่ไม่ได้อยู่ในประเภทนิยำยมักจะถูกเขียนอธิบำยซ้ำ ๆ เพรำะผู้เขียนต้องกำรจะกล่ำว อธิบำยให้กระจ่ำง แต่ใจควำมสำคัญจริง ๆ แล้วอยู่ที่บทสรุปเพียงไม่กี่ย่อหน้ำ หนังสือส่วนใหญ่ใส่ข้อมูล หลักฐำนจนแน่นมำกกว่ำจะกล่ำวถึงประเด็น ซึ่งก็เป็นเรื่องดีและน่ำสนใจ แต่ทุกหลักฐำนที่อ้ำงนั้นก็กล่ำวถึง ประเด็นเดียว กำรอ่ำนเพิ่มเติมก็เป็นกำรย้ำถึงประเด็นเดิม ดังนั้นเลือกหลักฐำนที่น่ำสนใจที่สุดแล้วอ่ำนบท ต่อไปเถอะ
  • 8. 6. เขียนสรุปมุมมองของผู้อ่าน อดทนหน่อยอย่ำเพิ่งเบื่อ! คนส่วนใหญ่ไม่ชอบกำรเขียน แต่กำรเขียนนั้นเป็นวิธีกำรที่ง่ำยที่สุดในกำร รวบรวมข้อมูลสำคัญในระยะเวลำอันสั้น หำกเป็นไปได้ให้เขียนใจควำมสำคัญในแบบฉบับของเรำใน 1 หน้ำกระดำษ โดยพูดถึงประเด็นที่ผู้เขียนต้องกำรจะสื่อ ยกตัวอย่ำงสั้น ๆ และคำถำมหรือควำมรู้สึกของเรำที่ ต้องกำรกำรค้นคว้ำเพื่อหำคำตอบต่อไปให้ดียิ่งขึ้น กำรเขียนมุมมองของผู้อ่ำนเช่นนี้ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เรำทรำบถึงประเด็นสำคัญของหนังสือเช่นเดียวกับกำร ไฮไลท์ข้อควำม เมื่อใกล้ถึงช่วงสอบ จะเป็นกำรง่ำยกว่ำที่เรำจะนั่งอ่ำนมุมมองสรุปของผู้อ่ำน แทนที่จะพลิก ตำรำอ่ำนหนังสือทั้งเล่มเพื่ออ่ำนทบทวนอีกครั้ง 7. อภิปรายกับผู้อื่น คนส่วนมำกไม่ชอบกำรทำงำนกลุ่ม แต่กำรจับกลุ่มกันพูดถึงเนื้อหำของหนังสือที่ต้องอ่ำนช่วยทำให้เรำ จำได้ง่ำยขึ้น บำงครั้งอำจพูดถึงหนังสือในแง่ตลก ๆ ก็จะทำให้เรำจำประเด็นนั้นได้เมื่อเรำอยู่ในห้องสอบ เพรำะเรำจะคิดถึงเรื่องตลกก่อน เป็นกำรใช้หลักกำรเชื่อมโยงข้อมูลที่ทำให้สมองของเรำทำงำนได้ง่ำยขึ้น กำรพูดคุยเกี่ยวกับหนังสือที่อ่ำนช่วยทำให้เรำได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจำกบำงส่วนที่เรำมองข้ำมไป บำงคนนั้นชอบ เรียนรู้โดยกำรฟัง และมักจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อได้ยินข้อมูล ดังนั้นกำรพูดคุยสนทนำถกเถียงประเด็นที่อยู่ใน หนังสือจะทำให้เรำจำประเด็นสำคัญนั้นได้ดีเมื่อได้ฟังผ่ำนหู ทำให้เรำสำมำรถระลึกถึงข้อมูลส่วนนั้นได้เมื่ออยู่ ในกำรสอบ 8. จดคาถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการอ่าน หัวใจหลักของเทคนิคนี้ คือกำรตั้งคำถำม อย่ำเชื่อว่ำผู้เขียนนั้นเขียนได้ถูกต้องซะทีเดียว ให้จดจ่อกับสิ่งที่ อำจและใช้ควำมคิดเชิงวิเครำะห์ในกำรอ่ำน เช่น  ทำไมผู้เขียนจึงกล่ำวเช่นนั้น?  หลักฐำนคำอธิบำยนี้เป็นจริงหรือ?  ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับข้อโต้แย้งของผู้เขียนอย่ำงไร?  ผู้เขียนต้องกำรสื่อข้อควำมนี้ให้แก่ใคร? คำถำมอำจซับซ้อนกว่ำนี้หรือง่ำยกว่ำนี้ ขึ้นอยู่กับหนังสือที่อ่ำน เคล็ดลับเหล่ำนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เรำอ่ำน หนังสือและจดจำได้เป็นอย่ำงดี แต่แน่นอนว่ำอำจจะมีวิธีที่หลำกหลำยกว่ำนี้ แต่ละวิธีก็อำจให้ผลลัพธ์แตกต่ำง กันไปขึ้นอยู่กับว่ำใครชอบวิธีไหน รู้แบบนี้แล้ว เรำต้องลุกขึ้นมำกระตือรือร้นในกำรอ่ำน ค้นหำสิ่งที่อยำกอ่ำน และทุ่มเทสักหน่อย จดจำประเด็น สำคัญ หำกทำได้เช่นนี้รับรองว่ำหนังสือร้อยหน้ำก็อ่ำนจบได้ในเวลำแค่แป๊บเดียว
  • 9. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษำเลือกหัวข้อ -นำเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษำรวบรวมข้อมูล -จัดทำรำยงำน -นำเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงำน 2 ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูล 3 จัดทำโครงร่ำงงำน 4 ปฏิบัติกำรสร้ำงโครงงำน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 กำรทำเอกสำรรำยงำน 7 ประเมินผลงำน 8 นำเสนอโครงงำน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในหัวข้อที่สนใจมำกขึ้น 2.สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้กับกำรเรียนได้จริง 3.สำมำรถนำควำมรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้ 4.ผู้จัดทำมีควำมเข้ำใจในกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบมำกขึ้น สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพรำชวิทยำลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำ 2.กลุ่มพัฒนำผู้เรียน