SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรู
                                     ประวัติคอมพิวเตอร
จากอดีตสูปจจุบัน

                                           พัฒนาการทางดานเทคโนโลยีในชวง 100 ปที่ผานมาได
                                           พัฒนาไปอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีทางดาน
                                           คอมพิวเตอร เมื่อ 50 ปที่แลวมา มีคอมพิวเตอรขึ้นใชงาน
                                           ตอมาเกิดระบบสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหมเกิดขึ้นมากมาย
                                           และมีแนวโนมการพัฒนาอยางตอเนื่อง เราสามารถแบง
                                           พัฒนาการคอมพิวเตอรจากอดีตสูปจจุบัน สามารถแบงเปน
                                           ยุคกอนการใชไฟฟาอิเล็กทรอนิคส และยุคที่เครื่อง
                                           คอมพิวเตอรเปนอุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิคส




เครืองคํานวณในยุคประวัติศาสตร
    ่

     เครื่องคํานวณเครื่องแรกของโลก ไดแก ลูกคิด มีการใชลูกคิดในหมูชาวจีนมากกวา 7000 ป และใชใน
อียิปตโบราณมากกวา 2500 ป ลูกคิดของชาวจีน ประกอบดวยลูกปดรอยอยูในราวเปนแถวตามแนวตั้ง โดย
แตละแถวแบงเปนครึ่งบนและลาง ครึ่งบนมีลูกปด 2 ลูก ครึ่งลางมีลูกปด 5 ลูก แตละแถวแทนหลักของ
ตัวเลข

     เครื่องคํานวณกลไกทีรจักกันดี ไดแก เครื่องคํานวณของปาสคาลเปนเครื่องที่บวกลบดวยกลไกเฟองที่
                        ่ ู
ขบตอกัน เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ไดประดิษฐขนในป พ.ศ. 2185
                                                                              ึ้
ตอมาในป พ.ศ. 2337 กอดฟริด ฟอนไลบนิช (Gottfried von Leibniz) ชาวเยอรมันไดประดิษฐเครื่อง
คํานวณที่มีขีดความสามารถสูงสามารถคูณและหารได

                                                      บุคคลผูหนึ่งทีมบทบาทสําคัญตอการผลิต
                                                                     ่ ี
                                                      เครื่องจักรคํานวณคือ ชารลส แบบเบจ (Charles
                                                      Babbage) ชาวอังกฤษ ในปพ.ศ. 2343 เขาประสบ
                                                      ความสําเร็จสรางเครื่องคํานวณ ที่เรียกวา
                                                      Difference engine



ตอมาในป พ.ศ. 2439 ฮอลเลอริชไดจดทะเบียนกอตั้งบริษัท
เพื่อผลิตจําหนายเครื่องจักรชวยในการคํานวณ ชื่อ บริษัท
คอมพิวติง เทบบูลาติง เรดคอสดิง หลังจากนั้นในป พ.ศ.
2467 ไดเปลียนมาเปนชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International
             ่
Business Machine : IBM)




คอมพิวเตอรยคหลอดสูญญากาศ (พ.ศ. 2488-2501)
            ุ



                                             ในป พ.ศ. 2486 วิศวกรสองคน คือ จอหน มอชลี (John
                                             Mouchly) และ เจ เพรสเปอร เอ็ดเคิรท (J.Presper Eckert)
                                             ไดพฒนาเครื่องคอมพิวเตอร และจัดไดวาเปนเครื่อง
                                                 ั
                                             คอมพิวเตอรทใชงานทั่วไปเครื่องแรกของโลก ชื่อวา อินิ
                                                          ี่
                                             แอค (Electronic Numerical Intergrator And Calculator :
                                             ENIAC)
ในป พ.ศ. 2488 จอหน วอน นอยแมน (John Von Neumann)
 ไดเสนอแนวคิดในการสรางเครื่องคอมพิวเตอรที่มีหนวยความจํา
เพื่อใชเก็บขอมูลและโปรแกรมการทํางานหรือชุดคําสั่ง
คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจะทํางานโดยเรียกชุดคําสั่งที่เก็บไวใน
หนวยความจํามาทํางาน หลักการนี้เปนหลักการที่ใชมาจนถึง
ปจจุบัน



คอมพิวเตอรยคทรานซิสเตอร (พ.ศ.2500-2507)
            ุ

          นักวิทยาศาสตรของหองปฏิบัติการเบลแหงสหรัฐอเมริกา ไดประดิษฐทรานซิสเตอรสําเร็จ ซึ่งมีผล
ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการสรางคอมพิวเตอร เพราะทรานซิสเตอรมีขนาดเล็กใชกระแสไฟฟานอย มี
ความคงทนและเชื่อถือไดสูง และราคาถูก ไดมีการผลิตคอมพิวเตอรเรียกวา เมนเฟรมคอมพิวเตอร
          สําหรับประเทศไทยมีการนําเครื่องคอมพิวเตอรมาใชในยุคนี้ พ.ศ. 2507 โดยจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยนําเขามาใชในการศึกษา ในระยะเวลาเดียวกันสํานักงานสถิติแหงชาติกนํามาเพื่อใชในการ
                                                                                  ็
คํานวณสํามะโนประชากร นับเปนเครื่องคอมพิวเตอรรนแรกที่ใชในประเทศไทย
                                                        ุ
คอมพิวเตอรยควงจรรวม (พ.ศ.2508-2512)
                  ุ
           ประมาณป พ.ศ. 2508 ไดมีการพัฒนาสรางทรานซิสเตอรจํานวนมากลงบนแผนซิลิกอนขนาดเล็ก
และเกิดวงจรรวมบนแผนซิลกอนที่เรียกวา ไอซี การใชไอซีเปนสวนประกอบทําใหคอมพิวเตอรมีขนาดเล็ก
                               ิ
ลง ราคาถูกลง จึงมีบริษัทผลิตคอมพิวเตอรกันมากขึ้น คอมพิวเตอรขนาดเล็กลง เรียกวา "มินิคอมพิวเตอร"
คอมพิวเตอรยควีแอลเอสไอ (พ.ศ.2513-2532)
                    ุ
            เทคโนโลยีทางดานการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิคสยังคงพัฒนาอยางตอเนื่อง มีการสรางวงจรรวมที่มี
ขนาดใหญมารวมในแผนซิลิกอน เรียกวา วีแอลเอสไอ (Very Large Scale Intergrated circuit : VLSI) เปน
วงจรรวมทีรวมเอาทรานซิสเตอรจํานวนลานตัวมารวมอยูในแผนซิลกอนขนาดเล็ก และผลิตเปนหนวย
              ่                                                     ิ
ประมวลผลของคอมพิวเตอรที่ซับซอน เรียกวา ไมโครโปรเซสเซอร (microprocessor)
             การใช VLSI เปนวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร
สูงขึ้น เรียกวา ไมโครคอมพิวเตอร ซึ่งเปนเครื่องที่แพรหลายและมีผูใชงานกันทัวโลก
                                                                               ่
                การที่คอมพิวเตอรมีขีดความสามารถสูง เพราะ VLSI เพียงชิพเดียวสามารถสรางเปนหนวย
ประมวลผลของเครื่องทั้งระบบหรือเปนหนวยความจําทีมีความจุสูงหรือเปนอุปกรณควบคุมการทํางานตาง
                                                           ่
ๆ ขณะเดียวกันพัฒนาของฮารดดิสกก็มีขนาดเล็กลงแตราคาถูกลง เครื่องไมโครคอมพิวเตอรจึงมีขนาดเล็ก
ลง

คอมพิวเตอรยคเครือขาย (พ.ศ.2533-ปจจุบน)
            ุ                          ั

          เมื่อไมโครคอมพิวเตอรมีขีดความสามารถสูงขึ้น ทํางานไดเร็ว การแสดงผล การจัดการขอมูล
สามารถประมวลไดครั้งละมาก ๆ จึงทําใหคอมพิวเตอรสามารถทํางานหลายงานพรอมกัน (multitasking)
ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรในองคการโดยใชเครือขายทองถิ่นที่เรียกวา Local Area
Network : LAN เมื่อเชื่อมหลายๆ กลุมขององคการเขาดวยกันเกิดเปนเครือขายคอมพิวเตอรขององคการ
เรียกวา อินทราเน็ต และหากนําเครือขายขององคการเชื่อมตอเขาสูเครือขายสากลที่ตอเชื่อมกันทัวโลก
                                                                                              ่
เรียกวา อินเตอรเน็ต (internet)
           คอมพิวเตอรในยุคปจจุบันจึงเปนคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอกัน ทํางานรวมกัน สงเอกสารขอความ
ระหวางกัน สามารถประมวลผลรูปภาพ เสียง และวิดีทศน ไมโครคอมพิวเตอรในยุคนี้จึงทํางานกับสื่อหลาย
                                                   ั
ชนิดที่เรียกวาสื่อประสม (Multimedia)



ที่มา www.schoolnet.moe.th/digitallibrary

More Related Content

What's hot

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1warawee
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์Wangwiset School
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นtnkieta
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์nutty_npk
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์nutty_npk
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ Pingsdz Pingsdz
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Ploy Wantakan
 

What's hot (15)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 

Viewers also liked

bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
стратегии в переговорах_сетка
стратегии в переговорах_сеткастратегии в переговорах_сетка
стратегии в переговорах_сеткаВалерий Габов
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
Our products
Our productsOur products
Our productsannagutix
 
Стратегии в переговорах
Стратегии в переговорахСтратегии в переговорах
Стратегии в переговорахВалерий Габов
 
подготовка специалистов отдела продаж I s-nlp
подготовка специалистов отдела продаж I s-nlpподготовка специалистов отдела продаж I s-nlp
подготовка специалистов отдела продаж I s-nlpВалерий Габов
 
Рамки ведения переговоров
Рамки ведения переговоровРамки ведения переговоров
Рамки ведения переговоровВалерий Габов
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสีpaween
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
Fiddlerで通信のデバッグを効率化する
Fiddlerで通信のデバッグを効率化するFiddlerで通信のデバッグを効率化する
Fiddlerで通信のデバッグを効率化するakimichi Yamada
 

Viewers also liked (16)

bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
стратегии в переговорах_сетка
стратегии в переговорах_сеткастратегии в переговорах_сетка
стратегии в переговорах_сетка
 
Thesis presentation
Thesis presentationThesis presentation
Thesis presentation
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
Our products
Our productsOur products
Our products
 
Стратегии в переговорах
Стратегии в переговорахСтратегии в переговорах
Стратегии в переговорах
 
подготовка специалистов отдела продаж I s-nlp
подготовка специалистов отдела продаж I s-nlpподготовка специалистов отдела продаж I s-nlp
подготовка специалистов отдела продаж I s-nlp
 
Antonio meloto
Antonio melotoAntonio meloto
Antonio meloto
 
Рамки ведения переговоров
Рамки ведения переговоровРамки ведения переговоров
Рамки ведения переговоров
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
Antonio meloto
Antonio melotoAntonio meloto
Antonio meloto
 
Fiddlerで通信のデバッグを効率化する
Fiddlerで通信のデバッグを効率化するFiddlerで通信のデバッグを効率化する
Fiddlerで通信のデバッグを効率化する
 

Similar to Historycom 2

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นJunya Punngam
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นPises Tantimala
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์piyarut084
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์Arnon2516
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Chadarat37
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมพัน พัน
 
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Beerza Kub
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มNaetima Mudcharase
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มDuangruethai Fachaiyaphum
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsuphawadeebb
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01Naret Su
 
Anon ict
Anon ictAnon ict
Anon ictAnon
 

Similar to Historycom 2 (20)

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
 
Anon ict
Anon ictAnon ict
Anon ict
 

More from paween

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีpaween
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16paween
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2paween
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqpaween
 

More from paween (11)

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utq
 

Historycom 2

  • 1. ใบความรู ประวัติคอมพิวเตอร จากอดีตสูปจจุบัน พัฒนาการทางดานเทคโนโลยีในชวง 100 ปที่ผานมาได พัฒนาไปอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีทางดาน คอมพิวเตอร เมื่อ 50 ปที่แลวมา มีคอมพิวเตอรขึ้นใชงาน ตอมาเกิดระบบสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหมเกิดขึ้นมากมาย และมีแนวโนมการพัฒนาอยางตอเนื่อง เราสามารถแบง พัฒนาการคอมพิวเตอรจากอดีตสูปจจุบัน สามารถแบงเปน ยุคกอนการใชไฟฟาอิเล็กทรอนิคส และยุคที่เครื่อง คอมพิวเตอรเปนอุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิคส เครืองคํานวณในยุคประวัติศาสตร ่ เครื่องคํานวณเครื่องแรกของโลก ไดแก ลูกคิด มีการใชลูกคิดในหมูชาวจีนมากกวา 7000 ป และใชใน อียิปตโบราณมากกวา 2500 ป ลูกคิดของชาวจีน ประกอบดวยลูกปดรอยอยูในราวเปนแถวตามแนวตั้ง โดย แตละแถวแบงเปนครึ่งบนและลาง ครึ่งบนมีลูกปด 2 ลูก ครึ่งลางมีลูกปด 5 ลูก แตละแถวแทนหลักของ ตัวเลข เครื่องคํานวณกลไกทีรจักกันดี ไดแก เครื่องคํานวณของปาสคาลเปนเครื่องที่บวกลบดวยกลไกเฟองที่ ่ ู ขบตอกัน เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ไดประดิษฐขนในป พ.ศ. 2185 ึ้
  • 2. ตอมาในป พ.ศ. 2337 กอดฟริด ฟอนไลบนิช (Gottfried von Leibniz) ชาวเยอรมันไดประดิษฐเครื่อง คํานวณที่มีขีดความสามารถสูงสามารถคูณและหารได บุคคลผูหนึ่งทีมบทบาทสําคัญตอการผลิต ่ ี เครื่องจักรคํานวณคือ ชารลส แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ในปพ.ศ. 2343 เขาประสบ ความสําเร็จสรางเครื่องคํานวณ ที่เรียกวา Difference engine ตอมาในป พ.ศ. 2439 ฮอลเลอริชไดจดทะเบียนกอตั้งบริษัท เพื่อผลิตจําหนายเครื่องจักรชวยในการคํานวณ ชื่อ บริษัท คอมพิวติง เทบบูลาติง เรดคอสดิง หลังจากนั้นในป พ.ศ. 2467 ไดเปลียนมาเปนชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International ่ Business Machine : IBM) คอมพิวเตอรยคหลอดสูญญากาศ (พ.ศ. 2488-2501) ุ ในป พ.ศ. 2486 วิศวกรสองคน คือ จอหน มอชลี (John Mouchly) และ เจ เพรสเปอร เอ็ดเคิรท (J.Presper Eckert) ไดพฒนาเครื่องคอมพิวเตอร และจัดไดวาเปนเครื่อง ั คอมพิวเตอรทใชงานทั่วไปเครื่องแรกของโลก ชื่อวา อินิ ี่ แอค (Electronic Numerical Intergrator And Calculator : ENIAC)
  • 3. ในป พ.ศ. 2488 จอหน วอน นอยแมน (John Von Neumann) ไดเสนอแนวคิดในการสรางเครื่องคอมพิวเตอรที่มีหนวยความจํา เพื่อใชเก็บขอมูลและโปรแกรมการทํางานหรือชุดคําสั่ง คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจะทํางานโดยเรียกชุดคําสั่งที่เก็บไวใน หนวยความจํามาทํางาน หลักการนี้เปนหลักการที่ใชมาจนถึง ปจจุบัน คอมพิวเตอรยคทรานซิสเตอร (พ.ศ.2500-2507) ุ นักวิทยาศาสตรของหองปฏิบัติการเบลแหงสหรัฐอเมริกา ไดประดิษฐทรานซิสเตอรสําเร็จ ซึ่งมีผล ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการสรางคอมพิวเตอร เพราะทรานซิสเตอรมีขนาดเล็กใชกระแสไฟฟานอย มี ความคงทนและเชื่อถือไดสูง และราคาถูก ไดมีการผลิตคอมพิวเตอรเรียกวา เมนเฟรมคอมพิวเตอร สําหรับประเทศไทยมีการนําเครื่องคอมพิวเตอรมาใชในยุคนี้ พ.ศ. 2507 โดยจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยนําเขามาใชในการศึกษา ในระยะเวลาเดียวกันสํานักงานสถิติแหงชาติกนํามาเพื่อใชในการ ็ คํานวณสํามะโนประชากร นับเปนเครื่องคอมพิวเตอรรนแรกที่ใชในประเทศไทย ุ คอมพิวเตอรยควงจรรวม (พ.ศ.2508-2512) ุ ประมาณป พ.ศ. 2508 ไดมีการพัฒนาสรางทรานซิสเตอรจํานวนมากลงบนแผนซิลิกอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผนซิลกอนที่เรียกวา ไอซี การใชไอซีเปนสวนประกอบทําใหคอมพิวเตอรมีขนาดเล็ก ิ ลง ราคาถูกลง จึงมีบริษัทผลิตคอมพิวเตอรกันมากขึ้น คอมพิวเตอรขนาดเล็กลง เรียกวา "มินิคอมพิวเตอร" คอมพิวเตอรยควีแอลเอสไอ (พ.ศ.2513-2532) ุ เทคโนโลยีทางดานการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิคสยังคงพัฒนาอยางตอเนื่อง มีการสรางวงจรรวมที่มี ขนาดใหญมารวมในแผนซิลิกอน เรียกวา วีแอลเอสไอ (Very Large Scale Intergrated circuit : VLSI) เปน วงจรรวมทีรวมเอาทรานซิสเตอรจํานวนลานตัวมารวมอยูในแผนซิลกอนขนาดเล็ก และผลิตเปนหนวย ่ ิ ประมวลผลของคอมพิวเตอรที่ซับซอน เรียกวา ไมโครโปรเซสเซอร (microprocessor) การใช VLSI เปนวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร สูงขึ้น เรียกวา ไมโครคอมพิวเตอร ซึ่งเปนเครื่องที่แพรหลายและมีผูใชงานกันทัวโลก ่ การที่คอมพิวเตอรมีขีดความสามารถสูง เพราะ VLSI เพียงชิพเดียวสามารถสรางเปนหนวย ประมวลผลของเครื่องทั้งระบบหรือเปนหนวยความจําทีมีความจุสูงหรือเปนอุปกรณควบคุมการทํางานตาง ่
  • 4. ๆ ขณะเดียวกันพัฒนาของฮารดดิสกก็มีขนาดเล็กลงแตราคาถูกลง เครื่องไมโครคอมพิวเตอรจึงมีขนาดเล็ก ลง คอมพิวเตอรยคเครือขาย (พ.ศ.2533-ปจจุบน) ุ ั เมื่อไมโครคอมพิวเตอรมีขีดความสามารถสูงขึ้น ทํางานไดเร็ว การแสดงผล การจัดการขอมูล สามารถประมวลไดครั้งละมาก ๆ จึงทําใหคอมพิวเตอรสามารถทํางานหลายงานพรอมกัน (multitasking) ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรในองคการโดยใชเครือขายทองถิ่นที่เรียกวา Local Area Network : LAN เมื่อเชื่อมหลายๆ กลุมขององคการเขาดวยกันเกิดเปนเครือขายคอมพิวเตอรขององคการ เรียกวา อินทราเน็ต และหากนําเครือขายขององคการเชื่อมตอเขาสูเครือขายสากลที่ตอเชื่อมกันทัวโลก ่ เรียกวา อินเตอรเน็ต (internet) คอมพิวเตอรในยุคปจจุบันจึงเปนคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอกัน ทํางานรวมกัน สงเอกสารขอความ ระหวางกัน สามารถประมวลผลรูปภาพ เสียง และวิดีทศน ไมโครคอมพิวเตอรในยุคนี้จึงทํางานกับสื่อหลาย ั ชนิดที่เรียกวาสื่อประสม (Multimedia) ที่มา www.schoolnet.moe.th/digitallibrary