SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
จิตวิทยาการเรียนรู้
นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ปีการศึกษา 2558 รุ่น 2 ห้อง 5
อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์มัณฑรา ธรรมบุศย์
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การเรียนรู้
 ความหมาย
 องค์ประกอบของการเรียนรู้
 ทฤษฎีและการนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
องค์ประกอบของการเรียนรู้
1. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนนาความรู้
เดิมมาเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่ให้เกิดข้อสรุปหรือความรู้ใหม่
เพื่อนาไปสู่การเรียนรู้สิ่งใหม่ร่วมกัน
2. การสร้างความรู้ร่วมกัน ให้ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์
สร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดข้อสรุปหรือความรู้ใหม่
ความหมาย
 การเรียนรู้หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่
พฤติกรรมใหม่ที่ และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือ
การฝึกฝน
3. การนาเสนอความรู้ ครูผู้สอนให้แนวคิด ทฤษฎี และขั้นตอน
ต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นต้นทุนเป็นความรู้ใหม่เพื่อบรรลุจุดประสงค์
พฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
เป็นทฤษฎีการเรียนรู้เน้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการ
ตอบสนองโดยแบ่งเป็นกฎการเรียนรู้ได้ดังนี้
1. กฎแห่งความพร้อม
2. กฎแห่งการฝึกหัด
3. กฎแห่งความพอใจ
ภาพประกอบทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
1
2 3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็น
การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถ
จดจาผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทาสิ่ง
ต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียน
ให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ
3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมี
ความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ อย่างถ่องแท้และให้ผู้เรียน
ฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้น
ไปใช้
5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการ
สอนประสบความสาเร็จ
ทฤษฎีการเรียนรู้พาฟลอฟ
เป็นทฤษฎีการวางเงื่อนไขโดยแบ่งองค์ประกอบสาคัญในการเรียนรู้
ออกเป็น 4 องค์ประกอบ
1. สิ่งเร้า เป็นตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบออกมา
2. แรงขับ จะทาให้เกิดปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมที่จะนาไปสู่การเรียนรู้
ต่อไป
3. การตอบสนอง เป็นปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมที่แสดงออกมาเมื่อ
ได้รับการ กระตุ้นจากสิ่งเร้า
4. สิ่งเสริมแรง เป็นสิ่งมาเพิ่มกาลังให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
กับการตอบสนองให้มีแรงขับเพิ่มขึ้น
ทฤษฎีการเรียนรู้พาฟลอฟ
ลักษณะของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
1.การตอบสนองเกิดจากสิ่งเร้า หรือสิ่งเร้าเป็นตัวดึงการ
ตอบสนองมา
2.การตอบสนองเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือไม่ได้จงใจ
3.ให้ตัวเสริมแรงก่อน แล้วผู้เรียนจึงจะตอบสนอง เช่น ให้ผง
เนื้อก่อนจึงจะมีน้าลายไหล
4.รางวัลหรือตัวเสริมแรงไม่มีความจาเป็นต่อการวาง
เงื่อนไข
5.ไม่ต้องทาอะไรกับผู้เรียน เพียงแต่คอยจนกระทั่งมีสิ่ง
เร้ามากระตุ้นจึงจะเกิดพฤติกรรม
6.เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาสะท้อนและอารมณ์ ซึ่งมีระบบ
ประสาทอัตโนมัติเข้าไปเกี่ยวข้องในแง่ของความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
ภาพประกอบทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้พาฟลอฟ
การนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
1. การจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบการใช้บทเรียนโปรแกรม
หรือบทเรียนสาเร็จรูป เป็นการทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมี
คาตอบที่ถูกต้องไว้เป็นการเสริมแรง สามารถเสริมแรงได้ทันทีเมื่อ
ผู้เรียนตอบคาถามได้ถูกต้อง ทาให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจและ
อยากเรียนรู้มากขึ้น
2. การใช้พฤติกรรมบาบัด เช่น การสอนให้เด็กขยันทา
การบ้าน โดยเขียนรายชื่อผู้ส่งการบ้านไว้บนบอร์ดให้ บุคคล
อื่นมองเห็นเพื่อเป็นการยกย่องชมเชย
3. การใช้กฎการเรียนรู้ทั้ง 2 กฎ คือ การเสริมแรงทันทีทันใด
เช่น เมื่อผู้เรียนตอบคาถามถูกให้กล่าวชมยกย่อง ชมเชย ให้
รางวัล ในทันที และการเสริมแรงเป็นครั้งคราว เช่นการสะสม
แต้ม เพื่อแลกของรางวัล หรือ ให้ รางวัลสาหรับผู้ที่ตั้งใจ
เรียน ส่งงานสม่าเสมอตลอดระยะเวลา 1 เดือน เป็นต้น
ทฤษฎีของสกินเนอร์
 เป็นเจ้าของการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทาหรือทฤษฎีแบบ
เสริมแรง
สกินเนอร์มีแนวคิดว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและสภาวะ
แวดล้อมของตนเอง พฤติกรรมของมนุษย์จะคงอยู่ตลอดไป จาเป็นต้อง
มีการเสริมแรง การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ
 การเสริมแรงทางบวก เช่น การให้รางวัล
 การเสริมแรงทางลบ เช่น การลงโทษ
โดยแยกวิธีการเสริมแรงออกเป็น 2 วิธี
1. การให้การเสริมแรงทุกครั้งเมื่อเกิดพฤติกรรม
2. การให้การเสริมแรงเป็นครั้งคราวเมื่อเกิด
พฤติกรรม
ทฤษฎีของสกินเนอร์
ภาพประกอบทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 จากการทดลองของสกินเนอร์ สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การกระทาใด ๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น
อีก ส่วนการกระทาที่ไม่มีการเสริมแรง แนวโน้มของการ
กระทาจะลดลงหรือหายไปในที่สุด
2 .การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยน ทาให้การตอบสนองคงทน กว่าการ
เสริมแรงที่ตายตัว
3. การลงโทษทาให้เรียนรู้ได้เร็ว และลืมเร็ว
4. การให้แรงเสริมหรือให้รางวัล เมื่อผู้เรียนกระทาพฤติกรรมที
ต้องการ สามารถช่วยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
ทฤษฎีของสกินเนอร์
การนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
1. ในการเรียนการสอนควรมีการใช้การเสริมแรงเข้าไปช่วย
เพื่อทาให้ผู้เรียนตอบสนองได้ดีขึ้น
2. การเว้นระยะการเสริมแรงหรือเปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรง
จะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร
1. ไม่ควรมีการลงโทษที่รุนแรงเกินไป เพราะจะส่งผลมาก
ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้ หรือจาสิ่งที่เรียนไม่ได้ควรใช้
วิธีการงดการเสริมแรงแทน
2. หากต้องการเปลี่ยนพฤติกรมหรือปลูกฝังนิสัยให้แก่ผู้เรียน
ควรแยกแยะขั้นตอนของการปฏิกิริยาตอบสนอง ออกเป็น
ลาดับขึ้น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับความสามารถขอ
ผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาแรงเสริมที่จะให้
ทฤษฎีของแบนดูรา
Albert Bandura (1962 - 1986)
ทฤษฎีปัญญาสังคมเน้นหลักการเรียนรู้โดยการ
สังเกต (Observational Learning) เกิดจากการที่บุคคล
สังเกตการกระทาของผู้อื่นแล้วพยายามเลียนแบบ
พฤติกรรมนั้ น ซึ่ งเป็ นการเรี ยนรู้ที่เกิดขึ้นใน
สภาพแวดล้อมทางสังคมเราสามารถพบได้ใน
ชีวิตประจาวัน
ภาพประกอบทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
การนามาประยุกต์ใช้ในการสอน
 ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด เพราะการ
เรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ ครูต้อง
เป็นแบบอย่างที่ดีของนักเรียน
 การสอนแบบสาธิตครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้อง จึง
จะมีประสิทธิภาพในการเลียนแบบพฤติกรรม ครูต้องเน้นการ
สาธิตให้นักเรียนได้ศึกษา และปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
 ตัวแบบในชั้นเรียนไม่ควรจากัดไว้ที่ครูเท่านั้น ควรใช้ผู้เรียน
ด้วยกันเป็นตัวแบบได้ในบางกรณี ครูควรพยายามใช้ทักษะจูงใจ
ให้ผู้เรียนสนใจและเลียนแบบเพื่อนที่มีพฤติกรรมที่ดี มากกว่าผู้
ที่มีพฤติกรรมไม่ดี
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม
มนุษย์เกิดการเรียนรู้ 3 ด้าน คือ
1. ด้านสติปัญญา
2. ด้านร่างกาย
3. ด้านจิตใจ
โดยจาแนกเป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาออกเป็น 3 ด้าน คือ
1. ด้านพุทธพิสัย เป็นพฤติกรรมด้านสมอง ปัญญา ความคิด
ความสามารถในการคิด เรื่องราวต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ด้านจิตพิสัย หรือ พฤติกรรมด้านจิตใจ เกิดจากค่านิยม ความรู้สึก
ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ
3. ด้านทักษะพิสัย บ่งบอกเป็นความสามารถในการปฏิบัติงานได้
อย่างคล่องแคล่ว ชานิชานาญ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม
การนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
ผู้สอนจะต้องกาหนดจุดมุ่งหมายของการสอนให้
ชัดเจนแน่นอนเพื่อกาหนดกิจกรรมการเรียนรวมทั้งการ
ประเมินผลได้ถูกต้องให้เหมาะสมกับผู้เรียน
ทฤษฎีของเกสตัลท์
 ทฤษฎีของเกสตัลท์
กลุ่มเกสตัลท์ได้แก่ เวอร์ไธเมอร์ คอฟกา เลอวิน โคเลอร์
การเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ เน้นที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย
เกิดขึ้นได้2 ลักษณะ
1. การรับรู้ การแปลความหมายจากการสัมผัส ด้วยอวัยวะ
สัมผัส 5 ส่วน หู ตา จมูก ลิ้น กาย
2. การหยั่งเห็น การเกิดความคิดขึ้นมาทันทีทันใดในขณะ
ประสบปัญหาโดยการมองเห็นปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกจน
แก้ปัญหาได้
ทฤษฎีของเกสตัลท์
กฎแห่งการจัดระเบียบ
1. กฎแห่งความชัดเจน
2. กฎแห่งความคล้ายคลึง
3. กฎแห่งความใกล้ชิด
4. กฎแห่งการสิ้นสุด
5. กฎแห่งความต่อเนื่อง
6. กฎแห่งความสมบูรณ์
การทดลองของเกสตัลท์
เขาได้นาลิงตัวหนึ่ง ชื่อ สุลต่าน มาอดอาหารจนหิว
จัด แล้วนาไปขังไว้ในกรง แขวนกล้วยหวีหนึ่งไว้
ในที่สูงในกรง ในระดับที่ลิง ไม่สามารถเอื้อมถึง
แล้ว นาไม้3 กล่อง ไว้ในกรงด้วย กะว่าเมื่อนากล่อง
ไม้3 กล่อง มาตั้ง ต่อๆ กัน ลิงก็สามารถหยิบกล้วย
ได้
ผลการทดลองปรากฏว่า เมื่อลิงหิวจัด ก็หาวิธีที่จะหยิบ
กล้วยให้ได้ในที่สุด ลิงก็มองเห็นกล่องไม้ได้กล่าวไว้
ตอนต้นแล้วว่า โคห์เลอร์ ได้เน้นว่า “การเรียนรู้เกิดจาก
การหยั่งเห็น (Insight) โดยอาศัยประสบการณ์เดิม ที่
คล้ายคลึงกันมาแก้ปัญหาใหม่ที่ประสบ”
ทฤษฎีของเกสตัลท์
การนาทฤษฎีไปใช้ในการเรียนการสอน
1.ในการสอนครูควรจะให้ผู้เรียนมองเห็นโครงสร้างทั้งหมดของ
ทั้งหมดของเรื่องที่จะสอน เพื่อให้เด็กเกิดการรับรู้เป็นส่วนรวม
ส่วนรวมแล้วจึงแยกส่วนออกมาสอนเป็นตอน ๆ
2. เน้นให้ผู้เรียน เรียนด้วยความเข้าใจมากกกว่าเน้นการเรียน
เรียนแบบท่องจาการเรียนด้วยความเข้าใจต้องอาศัยสื่อที่ชัดเจน
ชัดเจนประกอบการเรียน และ ต้องเรียนด้วยการปฏิบัติจริงหรือ
จริงหรือผู้เรียนลงมือกระทาเอง
3. ฝึกให้ผู้เรียนสามารถโยงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ที่
เรียนไปแล้วกับความรู้ใหม่ว่ามีความแตกต่างและคล้ายคลึง
กันอย่างไรเพื่อช่วยให้จาได้นาน
4. นาแนวคิดของทฤษฎีไปใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ว่าควร
ทาความเข้าใจโดยมองปัญหาทุกแง่ทุกมุมไม่ควรมองปัญหา
โดยมีอคติ และใช้ความคิดอย่างมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
5. นาไปใช้ในการทาความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาใน
ภาพรวมคือ การศึกษาคุณลักษณะต่าง ๆ ของบุคคล กับความ
มีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่วของบุคคลโดยมองด้านใด
ด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของเพียเจย์
ทฤษฎีปัญญานิยม ของเพียเจต์ พัฒนาการทางสติปัญญา
ของบุคคลเป็นไปตามวัยต่างๆ เป็นลาดับขั้น ดังนี้
1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว เริ่มตั้งแต่เกิด ถึง
2 ปี
2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด เริ่มตั้งแต่อายุ 2 ปี ถึง 7 ปี
แบ่งเป็น 2 ขั้นย่อย
- ขั้นก่อนเกิดสังกัป เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2 – 4 ปี
- ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล
3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม เริ่มตั้งแต่อายุ 7 ปี ถึง 11 ปี
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา และความคิดของเด็กวัยนี้
สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อม
ออกเป็นหมวดหมู่ได้
4. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านนามธรรม เริ่มจากอายุ 11 – 15 ปี ใน
ขั้นนี้พัฒนาการทางสติปัญญา และความคิดของเด็กวัยนี้เป็น
ขั้นสุดยอด
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของเพียเจย์ (ต่อ)
การนาไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน
1. นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทา
สติปัญญาที่แตกต่างกัน
2. ประสบการณ์ทางกายภาพ
3. หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีของ
พัฒนาการทางสติปัญญา
4.การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของ
ผู้เรียน
5.ในขั้นประเมินผล ควรดาเนินการสอนโดยมีการ
ทดสอบแบบการให้เหตุผล
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของวีก็อทสกี้
วีก็อทสกี้ได้แบ่งระดับเชาว์ปัญญาของเป็น 2 ขั้น คือ
1. เชาว์ปัญญาขั้นเบื้องต้น คือ เชาว์ปัญญามูลฐานตาม
ธรรมชาติโดยไม่ต้องเรียนรู้
2. เชาว์ปัญญาสูง คือ เชาวน์ปัญญาที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์
กับผู้ใหญ่ที่ให้การอบรมเลี้ยงดู ถ่ายทอดวัฒนธรรมได้ โดยใช้
ภาษา แบ่งพัฒนาการทางภาษาเป็น 3 ขั้น
2.1 ภาษาที่ใช้ในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เรียกว่า
ภาษาสังคม
2.2 ภาษาที่พูดกับตนเอง ช่วงอายุ 3 – 7 ขวบ
2.3 ภาษาที่พูดในใจเฉพาะตน 7 ขวบขึ้นไป
การนาทฤษฎีมาประยุกต์ใช้
1. ผู้สอนจะต้องเน้นตัวอย่างและฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้ให้
ผู้เรียนเห็น
2. การเรียนรู้ทักษะต่างๆ จะต้องมีประสิทธิภาพถึงขั้นทาได้
และแก้ปัญหาได้จริง
3. ในการเรียนการสอนผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนรู้
อย่างตื่นตัว
4.ในการจัดการเรียนรู้ผู้สอนจะต้องพยายามสร้าง
บรรยากาศทางสังคม จริยธรรมให้เกิดขึ้น
5. ผู้เรียนควรมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่
6.ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ผู้สอนจะมี
บทบาทเป็นผู้ให้ความร่วมมืออานวยความสะดวก
7. การประเมิน ควรมีลักษณะที่ยืดหยุ่นในแต่ละบุคคล
ทฤษฎีของโรเจอร์ส
ธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนเป็นผู้มีความสามารถ ใฝ่ดี
และต้องการพัฒนาตนเองไปสู่ความดีงามและสาเร็จใน
ชีวิต แม้บางครั้งจะพบกับปัญหาชีวิตเขาก็สามารถ
เลือกวิธีแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
การนาทฤษฎีมาประยุกต์ใช้
1. ให้ความสาคัญกับความรู้สึก คือ ในการเรียนการสอนไม่ควร
มุ่งเน้นความรู้ของผู้เรียนอย่างเดียว แต่ควรคานึงถึงความรู้สึกของ
ผู้เรียนควบคู่ไปด้วย เช่น ใช้วิธีสอนที่ส่งเสริมด้านความรู้สึกให้
ผู้เรียนมีโอกาสแสดงความรู้สึกนึกคิด
2. ใช้หลักการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ เช่น การค้นคว้าหาความรู้ด้วย
ตนเอง มีเสรีภาพที่จะคิดและปฏิบัติด้วยตนเอง
3.เน้นการเรียนรู้กระบวนการ กระบวนการจะช่วยให้
ผู้เรียนสามารถคิดเป็น ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ
ปรับตัวได้ตลอดชีวิต
4.การเรียนรู้จะเกิดขึ้น เมื่อผู้เรียนรู้สึกอิสระ ไม่มีการ
บังคับ และทาให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในตนเอง
5.การที่ผู้เรียนมีโอกาสประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง
จะมีความรับผิดชอบมากกว่าการถูกประเมินจากผู้อื่น
ทฤษฎีมาสโลว์
ทฤษฎีมนุษย์นิยม มาสโลว์เป็นการศึกษาด้านความต้องการ
ของมนุษย์ซึ่งลาดับจากขั้นต่าไปสู่ขั้นสูง
1. ด้านความต้องการด้านร่างกาย
2. ความต้องการความมั่นคงความปลอดภัย
3. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
4. ความต้องการการยกย่อง
5. ความต้องการความสาเร็จในชีวิต
ทฤษฎีมาสโลว์
การนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
1. ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องคานึงถึงความ
แตกต่างของแต่ละคนปัจเจกชน
2. คนทุกคนย่อมมีความต้องการยอมรับในสังคมเหมือน ๆ กัน
ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนจะต้องยอมรับฟังในสังคม
เหมือน ๆ กัน ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนจึงต้องยอมรับ
ฟังความคิดเห็นของผู้เรียนด้วย
3.การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนต้องทาให้ผู้เรียนรู้สึกว่า
เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
 อ้างอิง
 ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ . (2553).การจัดการเรียนรู้แนวใหม่ .นนทบุรี :
บริษัท สหมิตรพริ้งติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จากัด
 ทิศนา แขมมณี.(2553). การสอนจิตวิทยาการเรียนรู้ เรื่อง
ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้
ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 สุรางค์ โคว้ตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา, กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
แหล่งที่มา
 ทิศนา แขมมณี. 2554. ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Learning_C
onstructivism.htm เข้าถึงเมื่อ วันที่ 8 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.
2555
 -www.krukird.com/Jita06.doc
 https://sites.google.com/site/anansak2554/thvsdi-kar-
reiyn-ru-khx-ngblum
 - พรรณี ชูทัย.(2522).จิตวิทยาการเรียนการสอน.
คณะผู้จัดทา
นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ปีการศึกษา 2558 รุ่น 2 ห้อง 5
นางสาวนิภาวดี มาลมพันธ์ นายฉัตรชัย บุญศรี นายสรสิช ขันตรีมิตร
นางสาวปริยาภร ชัยมีเขียว
นางสาวเบญจวรรณ ชานิยันต์
นางทับทิม ทองสวัสดิ์
นางสาวพัชรียา พันธุ์โยธี

More Related Content

What's hot

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษาญาณิศา ไหลพึ่งทอง
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอนSarawut Tikummul
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลwattanaka
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนphatcom10
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้honeylamon
 

What's hot (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอน
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

Viewers also liked

ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์monnareerat
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยง
ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยงธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยง
ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยงteerawat_fang
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้name_bwn
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์Roiyan111
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์7roommate
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 

Viewers also liked (13)

ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยง
ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยงธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยง
ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยง
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
Tourist Behavior
Tourist BehaviorTourist Behavior
Tourist Behavior
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 

Similar to จิตวิทยาการเรียนรู้1

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Pptจิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Pptjaacllassic
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้jaacllassic
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeajaacllassic
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 

Similar to จิตวิทยาการเรียนรู้1 (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Pptจิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Ppt
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 

จิตวิทยาการเรียนรู้1