SlideShare a Scribd company logo
บริหารจัดการ CKD และ NCDs
แบบบูรณาการ
ทิศทางนโยบายการดาเนินงานNCDs
NCDs : ใช้ CKD เป็น Entry Point ทาการคัดกรองใน
ประชาชนและภาวะแทรกซ้อน 4 ต (ตา ไต CVD risk)
กลยุทธ:
1. DHS
2.พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
Service Plan :
เป้าหมายลดป่ วย/ลดตาย เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ
ระบบการส่งต่อที่ไร้รอยต่อ ลดความแออัด ประชาชนพอใจ
วัยทางาน :
ลดผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ดูแล CKD เป็น Entry Point
สู่การลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
เป้าหมาย
1. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ(ลดลง10% ในปี2562
2. DM/HT Control ได้ 50/60%
3. CKD Stage 3-5 ลดลง
แนวทางการดาเนินงาน
การบริหารจัดการ CKD ที่มีประสิทธิภาพ
ประกอบด้วย
1. บุคลากร
2. Education
3. การจัดทาระบบ CKD Registry
ทีมสหวิชาชีพ ทีมรักษ์ไต
โรคไต ปัจจัยการเกิดโรค
วิธีชะลอไตเสื่อม
ยา
การปฎิบัติตัว
ฐานประชากร
ข้อมูลผู้ป่ วย DM HT
Gout โรคไตอื่นๆ
การรักษา ติดตาม/ประเมินผล
ทีมสหสาขา
วิชาชีพ
แพทย์
พยาบาล
เภสัชกร
นักโภชนาการ
ทีมรักษ์ไต
พยาบาล
จนท.สธ.
อสม
ผู้ป่ วย
นักกายภาพ
ทีม CKD Clinic1. ด้านบุคลากร
+ทีมสุขภาพจิต
หน้าที่ของทีมสหวิชาชีพในคลินิคโรคไตเรื้อรัง
ทีมปฏิบัติงาน หน้าที่
พยาบาล ประเมินอาการ, บันทึกข้อมูลฺ,BMI, รอบเอว
แพทย์ รักษาเพื่อให้ได้เป้าหมายตาม guidelines
เภสัชกร • ตรวจสอบวิธีการใช้ยาและปรับตามGFR
• สอนอ่านฉลาก หลีกเลี่ยงการใช้ NSAIDs
โภชนากร
/นักกาหนดอาหาร
สอนการรับประทานอาหารสาหรับโรคไต
อาหารโปรตีนต่า อาหารลดเค็ม
นักกายภาพ สอนออกกาลังกายยางยืด
***นักสุขภาพจิต -ประเมินสภาวะสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิต
-การสร้าง Empowerment ในผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
ระหว่างรอผลเลือด ดูสื่อการสอนโรคไต
ขั้นตอนการรับบริการในคลินิคสหวิชาชีพ
ผู้ป่ วย
เข้ากลุ่มให้ความรู้พบทีมสหวิชาชีพ
พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ
นักกายภาพบาบัด นักสุขภาพจิต
พบแพทย์
รับยา พบเภสัชกร
5-10 นาที
15-30 นาที
30-40 นาที
5-10 นาที
5-10 นาที
รพ.สต
• มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแห่งละ3-5 ท่าน
• ดูแลผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังร่วมกับอสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ
อสม./
อสค.
• ลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อเยี่ยมผู้ป่ วยและผู้ดูแลผู้ป่ วย
• เก็บข้อมูลความดันโลหิต บันทึกรายการอาหาร ตรวจการใช้ยา
ผู้ดูแล
• ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
• ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร
Community Home care team
กิจกรรมเยี่ยมบ้าน
“ บันได 5 ขั้น ป้องกันโรคไต ”
สื่อที่ใช้ในการสอนผู้ป่ วย
VDO มี 6 ชุด ประกอบด้วย
1. ความรู้โรคไตเรื้อรังเบื้องต้น
2. ทาความรู้จักกับผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
3. การป้องกันโรคไตจากเบาหวาน
4. การควบคุมความดันโลหิตชะลอไตเสื่อม
5. การใช้ยาในผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
6. การบาบัดทดแทนไต
สื่อการสอนอื่นๆ ได้แก่ แผ่นพับ, หนังสือ
2. ด้านEducation
Visit 1 (โรคไต)
แผนการสอนราย Visit (6 visit)
Visit 2 (อาหาร)
Visit 3 (ยาที่ต้องหลีกเลี่ยงในโรคไต)
Visit 4 (อาหารที่ไม่ควรกิน)
Visit 5 (การปรุงอาหาร)
Visit 6 (การบาบัดทดแทนไต)
แบบประเมินการรับประทานอาหารอย่างง่าย (EDA)
18
บันทึกและคำนวณ
โดยพยำบำล/นัก
กำหนดอำหำร
ปัจจัยที่นำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สุขภำพของผู้ป่ วยCKD
สิ่งเร้าที่นาไปสู่พฤติกรรม
(แนวการรักษาในกลุ่มทดลอง)
• การรักษาทางคลินิก
• การให้ความรู้แบบบูรณา
การ โดยทีมสหวิชาชีพ
• การเยี่ยมบ้านแบบเข้มข้น
โดยทีมสหวิชาชีพ
การรับรู้ถึงความเสี่ยง/ ความ
รุนแรง/ ปัจจัยคุกคาม
การทาให้
“ตระหนกก่อนตระหนัก
รับรู้ประโยชน์และโทษ
จากการ
“เปลี่ยนแปลง”
พฤติกรรม
การลดอุปสรรค
ในการเข้าถึงบริการ
พฤติกรรมสุขภาพ
• การบริโภคเกลือ
โซเดียมลดลง
• การออกกาลังกาย
เพิ่มขึ้น
*ข้อมูลจาก โครงการการรักษาแบบบูรณาการกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน: การวิจัยเชิงคุณภาพ
สถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ และวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดทาระบบฐานข้อมูล (Register CKD)3.ด้านข้อมูล
Data Exchange
•รอกฤษณะ
ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาไต
1. รายชื่อผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
2. ทะเบียนเป้าหมายและผลงานการคัดกรองโรคไตในผู้ป่ วย
เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
3. ข้อมูลทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคไตจากผลการคัดกรอง
ผู้ป่ วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
4. รายชื่อผู้ป่ วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีค่า eGFR
น้อยกว่า 60 ก่อนปีงบประมาณ
Implementation Framework
Intervention Component
QI SYSTEMS/TOOLS/STRATEGIES
T – team approach
*ทางานร่วมกันในทุกภาคส่วน
R – reminder systems
* Clinical record form
* Home visit record form
A – audit & feedback
*มีการตรวจเยี่ยมติดตาม
N – Networked information systems
& registries
*มี Data center เพื่อเก็บข้อมูล
* มีโปรแกรมที่เชื่อมโยงข้อมูล
ระหว่าง รพ. และ รพสต
PEOPLE
S – site coordinator
* มี Contact person ประจาแต่ละ รพช และ coordinator
L – local clinician champion
* มีการอบรมบุคลากร
ทั้งทีมสหสาขาวิชาชีพ และ ทีมรักษ์ไต
* มีหลักสูตรการสอน
* ส่งเสริมการสร้างนวัติกรรมใหม่ในการดูแลผู้ป่ วย
A – administrative oversight, support& resources
* มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ
* สนับสนุนการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง รพช และ รพสต
*สนับสนุนอุปกรณ์สื่อการสอน
QI FOCUS
T – target
*มีต้นแบบระบบการดูแลผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังในระดับชุมชน
* สร้างความยั่งยืน ให้กับระบบการดูแลแบบบูรณาการ
E – education & evidence
* Update ความรู้ที่ทันสมัยแก่ทีมงานผู้ดูแลผู้ป่ วย
* ส่งเสริมการนาแนวทางการรักษาที่เป็นมาตรฐาน
outcome
ผู้ป่ วย
• มีความเข้าใจ
เกี่ยวกับโรคไต
เรื้อรังอย่าง
ถูกต้อง
• ทาให้มีการดูแล
ตนเองได้ดีขึ้น
ทีมบุคลากรทาง
การแพทย์
• เพิ่มศักยภาพของ
ทีมสหวิชาชีพ
และ ทีมรักษ์ไต
• พัฒนาสื่อการ
สอนผู้ป่ วยโรคไต
เรื้อรัง
ระบบ
สาธารณสุข
• รูปแบบของระบบ
การดูแลผู้ป่ วยโรค
ไตเรื้อรัง
• มีระบบจัดเก็บ
ข้อมูลที่สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์
ได้
การประเมินผลการดาเนินงาน คลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
ตามแนวทาง SI3M Scoring และ Service Plan
1.1มีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนิน งานโรคไตเรื้อรัง
สิ่งที่ดาเนินการ -มีคณะกรรมการ หน่วยงานสาธารณสุข – มีทีมงาน
สิ่งที่ต้องพัฒนา -สร้างทีมงานให้ครอบคลุมพื้นที่ ทั้ง 2 ทีม
1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน
1.2 กลไกการขับเคลื่อนการดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไตเรื้อรัง
สิ่งที่ดาเนินการ -มีการประชุม คณะกรรมการดาเนินงานโรคไตไม่ครบทุกไตรมาส
สิ่งที่ต้องพัฒนา -เพิ่มการประชุมฯอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง
พร้อมรายงานการประชุม
1.3 นโยบายแผนและการจัดสรรทรัพยากร (คน เงิน ของ) เพื่อแก้ปัญหาโรคไตเรื้อรัง
สิ่งที่ดาเนินการ - มีแผนปฎิบัติการที่สอดคล้องกับการดาเนินงานครบ 7 มาตรการ
- มีการถ่ายทอดนโยบายและมาตรการสู่การปฎิบัติ
สิ่งที่ต้องพัฒนา - กาหนดกิจกรรมที่ปฎิบัติสู่การแก้ปัญหาที่ชัดเจน
- การทบทวนแผนจัดสรรทรัพยากรและการบูรณาการ
ร่วมกันในจังหวัด/เขต
2. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ
สิ่งที่ดาเนินการ -มีศูนย์ข้อมูลสารสนเทศระดับเขต จังหวัด อาเภอ
สิ่งที่ต้องพัฒนา - ระบบทะเบียนข้อมูลการให้บริการมีความครอบคลุม
มีความถูกต้อง และมีคุณภาพ
-มีฐานข้อมูลกลางแต่ละรพ.ให้ผู้ปฎิบัติสามารถใช้
ร่วมกันได้
3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงานและนวตกรรม
มาตรการที่ 1 เฝ้าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อ
การเกิดโรคทั้งเพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชน/สถานบริการ
สิ่งที่ดาเนินการ -ดาเนินการได้ครอบคลุมทุกจังหวัด
สิ่งที่ต้องพัฒนา - การเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนและสถานบริการ
มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
สิ่งที่ต้องพัฒนา -ป้ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ในสถานบริการ และ สถานที่ราชการ
-ทีมหมอครอบครัวและ อสม. ในการให้ความรู้และ
การประชาสัมพันธ์
สิ่งที่ดาเนินการ -เผยแพร่เมนูอาหารผู้ป่ วย NCD/CKD
-ผู้ดูแลผู้ป่ วย/หมอครอบครัว/อสค.มีเครื่องมือวัดโปรตีน
- มีตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่ วย NCD/CKD
เช่นปริมาณโซเดียมต่า/น้าตาลต่า
-บูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ(สิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง/การจัดการโรคไตฯ
สิ่งที่ต้องพัฒนา -สาธิตการปรุงอาหารใน รพ./รพ.สต.
-บูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ
มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง/การจัดการโรคไตเรื้อรัง
มาตรการที่ 4 การให้คาปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(มีทีมรักษ์ไต)
สิ่งที่ดาเนินการ - มีโปรแกรมการสอน/ระบบสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่ วย
- จัดกิจกรรมเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อให้ผู้ป่ วยสามารถจัดการตนเองและ
ควบคุมโรคได้
- จัดระบบสนับสนุนแบบรายบุคคลในการดูแลตนเองและ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกรณีที่ DM, HT ควบคุมไม่ได้ หรือ
eGFR ไม่คงที่ หรือมีพฤติกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
สิ่งที่ต้องพัฒนา -จัดการปัจจัยเสี่ยงและเยี่ยมบ้านร่วมกับชุมชน
-ระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน
มาตรการที่ 5 การพัฒนาคุณภาพการบริการ
สิ่งที่ดาเนินการ -มีแนวทางการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรค NCDs
-คัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่ วย DM, HT
(ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ)
สิ่งที่ต้องพัฒนา -บูรณาการ NCD&CKD clinic ในกรณี CKD stage 1-2
-มีทีมสหวิชาชีพ
มาตรการที่ 6 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดาเนินงาน
ที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความเข้มแข็ง
สิ่งที่ดาเนินการ - มีการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ โรคไตเรื้อรังที่
ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ
- ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค
- ทีมงานผ่านการอบรมครบ 2 ทีม
- มีการสร้างทีมรักษ์ไตให้สามารถดูแลผู้ป่ วยโรคไต
สิ่งที่ต้องพัฒนา - สร้างทีมรักษ์ไตให้สามารถดูแลผู้ป่ วยโรคไตให้ครอบคลุม
- สร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่ วย
-มีแผนกิจกรรมแก่ผู้ป่ วย/จนท.
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลและการจัดการโรค
- สนับสนุนการตัดสินใจเพื่อวางแผนการดูแล/การจัดการตนเอง
- การเชื่อมโยงระบบส่งต่อ
4. การบูรณาการ
• 4.1 บูรณาการแผน Service Plan/ Prevention/ Promotion และแผนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
• 4.2 บูรณาการทรัพยากร (คน เงิน เทคโนโลยี) ภายในเขต (ใน/นอกกระทรวง
สาธารณสุข)
• 4.3 บูรณาการข้อมูลสารสนเทศ (แหล่งข้อมูลหลากหลายที่เกี่ยวข้อง)
• 4.4 บูรณาการกระบวนการทางานที่เชื่อมโยงเป็นรูปธรรม
• 4.5 ชุมชนมีกิจกรรมที่สนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่ วย
• 4.6 มีการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ชุมชนนาไปจัดการลดปัจจัยเสี่ยงหลักๆในชุมชน
• 4.7 สนับสนุน/แผนการดาเนินงานที่เอื้อต่อการปรับสภาพแวดล้อมของชุมชนและ
สนับสนุนการจัดการตนเอง
• 4.8 สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง/จัดตั้งกลุ่ม/ชมรมเพื่อสุขภาพ
ในชุมชน
5. การติดตามประเมินผล
สิ่งที่ดาเนินการ - มีระบบฐานข้อมูลโรคไตเรื้อรังใน HDC กระทรวง สธ.
ครบทุกตัวชี้วัด 15 ตัวของ SP ไต
- มีการนาข้อมูลมาวิเคราะห์, ทาข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
สิ่งที่ต้องพัฒนา - การพัฒนาระบบข้อมูล (Registry CKD)
- การดาเนินงานให้ได้ตาม Quick win
ต่อยอด
-พัฒนา Palliative care ในผู้ป่ วย ระยะ 5
พัฒนารูปแบบการชะลอไตเสื่อมในระยะ 1-2
ประเมินการประเมินผลการดาเนินงาน คลินิกโรคไต
เรื้อรังแบบครบวงจร ตามแนวทาง SI3M Scoring
โดยคณะกรรมการสาขาโรคไต
หน่วยงาน การบริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E
ส่วนกลาง • การขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านโรค
ไตเรื้อรัง เบาหวาน และ
ความดันโลหิตสูง
– คณะกรรมการ SP
สาขาไต
– คณะกรรมการ SP
สาขา NCD, อื่นๆ
– คณะกรรมการ
สุขภาพดีวิถีชีวิต
ไทยเขต
• กาหนดและกากับทิศทางใน
ระดับประเทศ
• พัฒนามาตรฐานกลาง
• จัดทาหลักสูตรพัฒนาบุคลากร
สหวิชาชีพ , case manager,
system manager,
อสมเชี่ยวชาญ
• พัฒนาฐานข้อมูลกลาง
• กาหนด Key message (กลุ่ม
เสี่ยงและกลุ่มป่ วย)
• พัฒนาผลิตและรวบรวมสื่อ
• การบูรณาการงบประมาณ
-การนิเทศโดย
คณะกรรมการ
สุขภาพดีวิถี
ชีวิตไทยเขต
-การตรวจ
ราชการ กสธ.
การบริหารจัดการและแนวทางการขับเคลื่อน
หน่วยงาน การบริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E
เขต/สสจ. • ผู้ตรวจราชการ /สสจ
• CSO ระดับเขต
• คณะกรรมการ SP ระดับ
เขต สาขาไต NCD,อื่นๆ
• NCD board
• คณะกรรมการสุขภาพดี
วิถีชีวิตไทย ระดับเขต/
จังหวัด
(โดยบูรณาการการทางาน)
• กาหนด กากับทิศทางระดับ
เขต/จังหวัด
• มี model /มาตรฐานที่นามา
ปรับใช้ตามบริบทของเขต/
จังหวัด
• อบรมพัฒนาบุคลากรสห
วิชาชีพ, case manager,ทีม
เยื่ยมบ้าน,KM
• เชื่อมต่อระบบข้อมูลกับ
ส่วนกลาง
• สื่อสาร key message และ
วางแผนการประชาสัมพันธ์
• บูรณาการ งบประมาณ
จากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• แนวทาง
SI3M และ
แบบประเมิน
เพื่อพัฒนา
คลินิกชะลอ
ไตเสื่อม
สาหรับสถาน
บริการ
สาธารณสุข
หน่วยงาน บริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E
โรงพยาบาล • CKD-NCD
clinic คุณภาพ
• พัฒนา CKD-NCD clinic และ
ระบบสนับสนุน self care
management
• จัดทีมบุคลากรและเป็นพี่เลี้ยง
ให้กับ รพ.ในระดับต่ากว่าและ
ชุมชน
• สนับสนุนการเชื่อมต่อระบบ
ข้อมูลกับส่วนกลาง
• ประชาสัมพันธ์และประเมิน
ความรู้ผู้ป่ วย, การดาเนินงาน
• ปรับสภาพแวดล้อม อาหาร
สถานที่ออกกาลังกาย ใน รพ.
• พัฒนาทีม Paliative Care ใน
ผู้ป่ วยที่เข้าสู่วาระสุดท้าย
-NCD คุณภาพ
-แนวทาง SI3M
และแบบประเมิน
เพื่อพัฒนาคลินิก
ชะลอไตเสื่อม
สาหรับสถาน
บริการสาธารณสุข
หน่วยงาน การบริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E
ชุมชน • DHS
• ตาบลจัดการสุขภาพ
• พัฒนาระบบดูแลผู้ป่ วย
CKD/NCD ใน รพสต.
• พัฒนาระบบเยี่ยมบ้านโดย
บูรณาการทีมรักษ์ไต
ร่วมกับทีมหมอครอบครัว
• อสม.เชี่ยวชาญ, อสค.
Board
NCD+DHS
Save Your Kidneys … Save Your Life
การบริหารจัดการCkd

More Related Content

What's hot

คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
Kamol Khositrangsikun
 
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
waoram
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Chutchavarn Wongsaree
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
Drsek Sai
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
Tuang Thidarat Apinya
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Utai Sukviwatsirikul
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
Nursing Room By Rangsima
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
Chutchavarn Wongsaree
 

What's hot (20)

คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Anemia
AnemiaAnemia
Anemia
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 

Viewers also liked

รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
Kamol Khositrangsikun
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
Pha C
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
chalunthorn teeyamaneerat
 
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Tuang Thidarat Apinya
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
CAPD AngThong
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
wanvisa kaewngam
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
noppadolbunnum
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
CAPD AngThong
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
CAPD AngThong
 
Hemodialysis vascular catheters review
Hemodialysis vascular catheters review Hemodialysis vascular catheters review
Hemodialysis vascular catheters review
JAFAR ALSAID
 
Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?
John Spencer
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
Jennifer Jones
 

Viewers also liked (16)

Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
Hemodialysis vascular catheters review
Hemodialysis vascular catheters review Hemodialysis vascular catheters review
Hemodialysis vascular catheters review
 
Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

Similar to การบริหารจัดการCkd

คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
Tuang Thidarat Apinya
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัยService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
Kamol Khositrangsikun
 
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Kamol Khositrangsikun
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
Chuchai Sornchumni
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
CAPD AngThong
 
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
กันย์ สมรักษ์
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
โรงพยาบาลสารภี
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Respiratory dzmnt
Respiratory dzmntRespiratory dzmnt
Respiratory dzmnt
Chuchai Sornchumni
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Kamol Khositrangsikun
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
Utai Sukviwatsirikul
 
Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557
Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557
Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557
Kamol Khositrangsikun
 
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
CAPD AngThong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
ผังยุทธศาสตร์ 2557
ผังยุทธศาสตร์ 2557ผังยุทธศาสตร์ 2557
ผังยุทธศาสตร์ 2557Woodtichai Rakkaen
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to การบริหารจัดการCkd (20)

คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
การบูรณาการCkd กับ ncd1
การบูรณาการCkd กับ ncd1การบูรณาการCkd กับ ncd1
การบูรณาการCkd กับ ncd1
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัยService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
 
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
Respiratory dzmnt
Respiratory dzmntRespiratory dzmnt
Respiratory dzmnt
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557
Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557
Man Power Manipulation for PD first คุณดรุณี จันทร์เลิศฤทธิ์ 21 พฤศจิกายน 2557
 
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
ผังยุทธศาสตร์ 2557
ผังยุทธศาสตร์ 2557ผังยุทธศาสตร์ 2557
ผังยุทธศาสตร์ 2557
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 

การบริหารจัดการCkd

  • 1. บริหารจัดการ CKD และ NCDs แบบบูรณาการ
  • 2. ทิศทางนโยบายการดาเนินงานNCDs NCDs : ใช้ CKD เป็น Entry Point ทาการคัดกรองใน ประชาชนและภาวะแทรกซ้อน 4 ต (ตา ไต CVD risk) กลยุทธ: 1. DHS 2.พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค Service Plan : เป้าหมายลดป่ วย/ลดตาย เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ระบบการส่งต่อที่ไร้รอยต่อ ลดความแออัด ประชาชนพอใจ วัยทางาน :
  • 3.
  • 4. ลดผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ดูแล CKD เป็น Entry Point สู่การลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 1. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ(ลดลง10% ในปี2562 2. DM/HT Control ได้ 50/60% 3. CKD Stage 3-5 ลดลง แนวทางการดาเนินงาน
  • 5. การบริหารจัดการ CKD ที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 1. บุคลากร 2. Education 3. การจัดทาระบบ CKD Registry ทีมสหวิชาชีพ ทีมรักษ์ไต โรคไต ปัจจัยการเกิดโรค วิธีชะลอไตเสื่อม ยา การปฎิบัติตัว ฐานประชากร ข้อมูลผู้ป่ วย DM HT Gout โรคไตอื่นๆ การรักษา ติดตาม/ประเมินผล
  • 7. หน้าที่ของทีมสหวิชาชีพในคลินิคโรคไตเรื้อรัง ทีมปฏิบัติงาน หน้าที่ พยาบาล ประเมินอาการ, บันทึกข้อมูลฺ,BMI, รอบเอว แพทย์ รักษาเพื่อให้ได้เป้าหมายตาม guidelines เภสัชกร • ตรวจสอบวิธีการใช้ยาและปรับตามGFR • สอนอ่านฉลาก หลีกเลี่ยงการใช้ NSAIDs โภชนากร /นักกาหนดอาหาร สอนการรับประทานอาหารสาหรับโรคไต อาหารโปรตีนต่า อาหารลดเค็ม นักกายภาพ สอนออกกาลังกายยางยืด ***นักสุขภาพจิต -ประเมินสภาวะสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิต -การสร้าง Empowerment ในผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
  • 8. ระหว่างรอผลเลือด ดูสื่อการสอนโรคไต ขั้นตอนการรับบริการในคลินิคสหวิชาชีพ ผู้ป่ วย เข้ากลุ่มให้ความรู้พบทีมสหวิชาชีพ พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพบาบัด นักสุขภาพจิต พบแพทย์ รับยา พบเภสัชกร 5-10 นาที 15-30 นาที 30-40 นาที 5-10 นาที 5-10 นาที
  • 9. รพ.สต • มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแห่งละ3-5 ท่าน • ดูแลผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังร่วมกับอสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ อสม./ อสค. • ลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อเยี่ยมผู้ป่ วยและผู้ดูแลผู้ป่ วย • เก็บข้อมูลความดันโลหิต บันทึกรายการอาหาร ตรวจการใช้ยา ผู้ดูแล • ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง • ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร Community Home care team
  • 10. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน “ บันได 5 ขั้น ป้องกันโรคไต ”
  • 11. สื่อที่ใช้ในการสอนผู้ป่ วย VDO มี 6 ชุด ประกอบด้วย 1. ความรู้โรคไตเรื้อรังเบื้องต้น 2. ทาความรู้จักกับผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง 3. การป้องกันโรคไตจากเบาหวาน 4. การควบคุมความดันโลหิตชะลอไตเสื่อม 5. การใช้ยาในผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง 6. การบาบัดทดแทนไต สื่อการสอนอื่นๆ ได้แก่ แผ่นพับ, หนังสือ 2. ด้านEducation
  • 19. ปัจจัยที่นำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สุขภำพของผู้ป่ วยCKD สิ่งเร้าที่นาไปสู่พฤติกรรม (แนวการรักษาในกลุ่มทดลอง) • การรักษาทางคลินิก • การให้ความรู้แบบบูรณา การ โดยทีมสหวิชาชีพ • การเยี่ยมบ้านแบบเข้มข้น โดยทีมสหวิชาชีพ การรับรู้ถึงความเสี่ยง/ ความ รุนแรง/ ปัจจัยคุกคาม การทาให้ “ตระหนกก่อนตระหนัก รับรู้ประโยชน์และโทษ จากการ “เปลี่ยนแปลง” พฤติกรรม การลดอุปสรรค ในการเข้าถึงบริการ พฤติกรรมสุขภาพ • การบริโภคเกลือ โซเดียมลดลง • การออกกาลังกาย เพิ่มขึ้น *ข้อมูลจาก โครงการการรักษาแบบบูรณาการกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน: การวิจัยเชิงคุณภาพ สถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ และวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 22. ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาไต 1. รายชื่อผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง 2. ทะเบียนเป้าหมายและผลงานการคัดกรองโรคไตในผู้ป่ วย เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 3. ข้อมูลทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคไตจากผลการคัดกรอง ผู้ป่ วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 4. รายชื่อผู้ป่ วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีค่า eGFR น้อยกว่า 60 ก่อนปีงบประมาณ
  • 23. Implementation Framework Intervention Component QI SYSTEMS/TOOLS/STRATEGIES T – team approach *ทางานร่วมกันในทุกภาคส่วน R – reminder systems * Clinical record form * Home visit record form A – audit & feedback *มีการตรวจเยี่ยมติดตาม N – Networked information systems & registries *มี Data center เพื่อเก็บข้อมูล * มีโปรแกรมที่เชื่อมโยงข้อมูล ระหว่าง รพ. และ รพสต PEOPLE S – site coordinator * มี Contact person ประจาแต่ละ รพช และ coordinator L – local clinician champion * มีการอบรมบุคลากร ทั้งทีมสหสาขาวิชาชีพ และ ทีมรักษ์ไต * มีหลักสูตรการสอน * ส่งเสริมการสร้างนวัติกรรมใหม่ในการดูแลผู้ป่ วย A – administrative oversight, support& resources * มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ * สนับสนุนการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง รพช และ รพสต *สนับสนุนอุปกรณ์สื่อการสอน QI FOCUS T – target *มีต้นแบบระบบการดูแลผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังในระดับชุมชน * สร้างความยั่งยืน ให้กับระบบการดูแลแบบบูรณาการ E – education & evidence * Update ความรู้ที่ทันสมัยแก่ทีมงานผู้ดูแลผู้ป่ วย * ส่งเสริมการนาแนวทางการรักษาที่เป็นมาตรฐาน
  • 24. outcome ผู้ป่ วย • มีความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไต เรื้อรังอย่าง ถูกต้อง • ทาให้มีการดูแล ตนเองได้ดีขึ้น ทีมบุคลากรทาง การแพทย์ • เพิ่มศักยภาพของ ทีมสหวิชาชีพ และ ทีมรักษ์ไต • พัฒนาสื่อการ สอนผู้ป่ วยโรคไต เรื้อรัง ระบบ สาธารณสุข • รูปแบบของระบบ การดูแลผู้ป่ วยโรค ไตเรื้อรัง • มีระบบจัดเก็บ ข้อมูลที่สามารถ นาไปใช้ประโยชน์ ได้
  • 25. การประเมินผลการดาเนินงาน คลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร ตามแนวทาง SI3M Scoring และ Service Plan 1.1มีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนิน งานโรคไตเรื้อรัง สิ่งที่ดาเนินการ -มีคณะกรรมการ หน่วยงานสาธารณสุข – มีทีมงาน สิ่งที่ต้องพัฒนา -สร้างทีมงานให้ครอบคลุมพื้นที่ ทั้ง 2 ทีม 1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน 1.2 กลไกการขับเคลื่อนการดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไตเรื้อรัง สิ่งที่ดาเนินการ -มีการประชุม คณะกรรมการดาเนินงานโรคไตไม่ครบทุกไตรมาส สิ่งที่ต้องพัฒนา -เพิ่มการประชุมฯอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง พร้อมรายงานการประชุม
  • 26. 1.3 นโยบายแผนและการจัดสรรทรัพยากร (คน เงิน ของ) เพื่อแก้ปัญหาโรคไตเรื้อรัง สิ่งที่ดาเนินการ - มีแผนปฎิบัติการที่สอดคล้องกับการดาเนินงานครบ 7 มาตรการ - มีการถ่ายทอดนโยบายและมาตรการสู่การปฎิบัติ สิ่งที่ต้องพัฒนา - กาหนดกิจกรรมที่ปฎิบัติสู่การแก้ปัญหาที่ชัดเจน - การทบทวนแผนจัดสรรทรัพยากรและการบูรณาการ ร่วมกันในจังหวัด/เขต
  • 27. 2. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ สิ่งที่ดาเนินการ -มีศูนย์ข้อมูลสารสนเทศระดับเขต จังหวัด อาเภอ สิ่งที่ต้องพัฒนา - ระบบทะเบียนข้อมูลการให้บริการมีความครอบคลุม มีความถูกต้อง และมีคุณภาพ -มีฐานข้อมูลกลางแต่ละรพ.ให้ผู้ปฎิบัติสามารถใช้ ร่วมกันได้
  • 28. 3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงานและนวตกรรม มาตรการที่ 1 เฝ้าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อ การเกิดโรคทั้งเพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชน/สถานบริการ สิ่งที่ดาเนินการ -ดาเนินการได้ครอบคลุมทุกจังหวัด สิ่งที่ต้องพัฒนา - การเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนและสถานบริการ มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ สิ่งที่ต้องพัฒนา -ป้ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ในสถานบริการ และ สถานที่ราชการ -ทีมหมอครอบครัวและ อสม. ในการให้ความรู้และ การประชาสัมพันธ์
  • 29. สิ่งที่ดาเนินการ -เผยแพร่เมนูอาหารผู้ป่ วย NCD/CKD -ผู้ดูแลผู้ป่ วย/หมอครอบครัว/อสค.มีเครื่องมือวัดโปรตีน - มีตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่ วย NCD/CKD เช่นปริมาณโซเดียมต่า/น้าตาลต่า -บูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ(สิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง/การจัดการโรคไตฯ สิ่งที่ต้องพัฒนา -สาธิตการปรุงอาหารใน รพ./รพ.สต. -บูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง/การจัดการโรคไตเรื้อรัง
  • 30. มาตรการที่ 4 การให้คาปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(มีทีมรักษ์ไต) สิ่งที่ดาเนินการ - มีโปรแกรมการสอน/ระบบสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่ วย - จัดกิจกรรมเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อให้ผู้ป่ วยสามารถจัดการตนเองและ ควบคุมโรคได้ - จัดระบบสนับสนุนแบบรายบุคคลในการดูแลตนเองและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกรณีที่ DM, HT ควบคุมไม่ได้ หรือ eGFR ไม่คงที่ หรือมีพฤติกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย สิ่งที่ต้องพัฒนา -จัดการปัจจัยเสี่ยงและเยี่ยมบ้านร่วมกับชุมชน -ระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน
  • 31. มาตรการที่ 5 การพัฒนาคุณภาพการบริการ สิ่งที่ดาเนินการ -มีแนวทางการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรค NCDs -คัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่ วย DM, HT (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ) สิ่งที่ต้องพัฒนา -บูรณาการ NCD&CKD clinic ในกรณี CKD stage 1-2 -มีทีมสหวิชาชีพ
  • 32. มาตรการที่ 6 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดาเนินงาน ที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความเข้มแข็ง สิ่งที่ดาเนินการ - มีการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ โรคไตเรื้อรังที่ ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ - ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค - ทีมงานผ่านการอบรมครบ 2 ทีม - มีการสร้างทีมรักษ์ไตให้สามารถดูแลผู้ป่ วยโรคไต สิ่งที่ต้องพัฒนา - สร้างทีมรักษ์ไตให้สามารถดูแลผู้ป่ วยโรคไตให้ครอบคลุม - สร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่ วย -มีแผนกิจกรรมแก่ผู้ป่ วย/จนท. - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลและการจัดการโรค - สนับสนุนการตัดสินใจเพื่อวางแผนการดูแล/การจัดการตนเอง - การเชื่อมโยงระบบส่งต่อ
  • 33. 4. การบูรณาการ • 4.1 บูรณาการแผน Service Plan/ Prevention/ Promotion และแผนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง • 4.2 บูรณาการทรัพยากร (คน เงิน เทคโนโลยี) ภายในเขต (ใน/นอกกระทรวง สาธารณสุข) • 4.3 บูรณาการข้อมูลสารสนเทศ (แหล่งข้อมูลหลากหลายที่เกี่ยวข้อง) • 4.4 บูรณาการกระบวนการทางานที่เชื่อมโยงเป็นรูปธรรม • 4.5 ชุมชนมีกิจกรรมที่สนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่ วย • 4.6 มีการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ชุมชนนาไปจัดการลดปัจจัยเสี่ยงหลักๆในชุมชน • 4.7 สนับสนุน/แผนการดาเนินงานที่เอื้อต่อการปรับสภาพแวดล้อมของชุมชนและ สนับสนุนการจัดการตนเอง • 4.8 สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง/จัดตั้งกลุ่ม/ชมรมเพื่อสุขภาพ ในชุมชน
  • 34. 5. การติดตามประเมินผล สิ่งที่ดาเนินการ - มีระบบฐานข้อมูลโรคไตเรื้อรังใน HDC กระทรวง สธ. ครบทุกตัวชี้วัด 15 ตัวของ SP ไต - มีการนาข้อมูลมาวิเคราะห์, ทาข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา สิ่งที่ต้องพัฒนา - การพัฒนาระบบข้อมูล (Registry CKD) - การดาเนินงานให้ได้ตาม Quick win ต่อยอด -พัฒนา Palliative care ในผู้ป่ วย ระยะ 5 พัฒนารูปแบบการชะลอไตเสื่อมในระยะ 1-2 ประเมินการประเมินผลการดาเนินงาน คลินิกโรคไต เรื้อรังแบบครบวงจร ตามแนวทาง SI3M Scoring โดยคณะกรรมการสาขาโรคไต
  • 35. หน่วยงาน การบริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E ส่วนกลาง • การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติด้านโรค ไตเรื้อรัง เบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง – คณะกรรมการ SP สาขาไต – คณะกรรมการ SP สาขา NCD, อื่นๆ – คณะกรรมการ สุขภาพดีวิถีชีวิต ไทยเขต • กาหนดและกากับทิศทางใน ระดับประเทศ • พัฒนามาตรฐานกลาง • จัดทาหลักสูตรพัฒนาบุคลากร สหวิชาชีพ , case manager, system manager, อสมเชี่ยวชาญ • พัฒนาฐานข้อมูลกลาง • กาหนด Key message (กลุ่ม เสี่ยงและกลุ่มป่ วย) • พัฒนาผลิตและรวบรวมสื่อ • การบูรณาการงบประมาณ -การนิเทศโดย คณะกรรมการ สุขภาพดีวิถี ชีวิตไทยเขต -การตรวจ ราชการ กสธ. การบริหารจัดการและแนวทางการขับเคลื่อน
  • 36. หน่วยงาน การบริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E เขต/สสจ. • ผู้ตรวจราชการ /สสจ • CSO ระดับเขต • คณะกรรมการ SP ระดับ เขต สาขาไต NCD,อื่นๆ • NCD board • คณะกรรมการสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย ระดับเขต/ จังหวัด (โดยบูรณาการการทางาน) • กาหนด กากับทิศทางระดับ เขต/จังหวัด • มี model /มาตรฐานที่นามา ปรับใช้ตามบริบทของเขต/ จังหวัด • อบรมพัฒนาบุคลากรสห วิชาชีพ, case manager,ทีม เยื่ยมบ้าน,KM • เชื่อมต่อระบบข้อมูลกับ ส่วนกลาง • สื่อสาร key message และ วางแผนการประชาสัมพันธ์ • บูรณาการ งบประมาณ จากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • แนวทาง SI3M และ แบบประเมิน เพื่อพัฒนา คลินิกชะลอ ไตเสื่อม สาหรับสถาน บริการ สาธารณสุข
  • 37. หน่วยงาน บริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E โรงพยาบาล • CKD-NCD clinic คุณภาพ • พัฒนา CKD-NCD clinic และ ระบบสนับสนุน self care management • จัดทีมบุคลากรและเป็นพี่เลี้ยง ให้กับ รพ.ในระดับต่ากว่าและ ชุมชน • สนับสนุนการเชื่อมต่อระบบ ข้อมูลกับส่วนกลาง • ประชาสัมพันธ์และประเมิน ความรู้ผู้ป่ วย, การดาเนินงาน • ปรับสภาพแวดล้อม อาหาร สถานที่ออกกาลังกาย ใน รพ. • พัฒนาทีม Paliative Care ใน ผู้ป่ วยที่เข้าสู่วาระสุดท้าย -NCD คุณภาพ -แนวทาง SI3M และแบบประเมิน เพื่อพัฒนาคลินิก ชะลอไตเสื่อม สาหรับสถาน บริการสาธารณสุข
  • 38. หน่วยงาน การบริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ M&E ชุมชน • DHS • ตาบลจัดการสุขภาพ • พัฒนาระบบดูแลผู้ป่ วย CKD/NCD ใน รพสต. • พัฒนาระบบเยี่ยมบ้านโดย บูรณาการทีมรักษ์ไต ร่วมกับทีมหมอครอบครัว • อสม.เชี่ยวชาญ, อสค. Board NCD+DHS Save Your Kidneys … Save Your Life