SlideShare a Scribd company logo
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพในประชากรอายุ 15- 34 ปี
ขั้นตอนการคัดกรองความดันโลหิตสูง
* หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วยตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO)
หมายเหตุ กรณีวัดความดันโลหิตที่บ้าน การแปลค่าความดันโลหิต จะลดลงอีก 5 มิลลิเมตรปรอท
ขั้นตอนการคัดกรองเบาหวาน
พบปัจจัยเสี่ยงน้อยกว่า 5 ข้อ
พบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป
พบปัจจัยเสี่ยงน้อยกว่า 3 ข้อ พบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป
* หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วยตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO)
การคัดกรองความเสี่ยงของเบาหวานด้วยวาจา (Verbal Screening) 5 ข้อ ดังนี้
1. มีภาวะน้้าหนักเกินและอ้วน รอบเอว ≥ ½ ของส่วนสูง (เซนติเมตร) หรือมี ดัชนีมวลกาย ≥ 25 กก./ม.2
2. มีภาวะความดันโลหิตสูง BP≥140/90 มม.ปรอท หรือมีประวัติเป็น HT หรือรับประทานยาควบคุม HT
3. มีรอยพับ รอบคอหรือใต้รักแร้ด้า
4. มีประวัติ บิดา มารดา พี่ หรือน้อง เป็นเบาหวาน
5. สูบบุหรี่
การประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ ดังนี้
1. การกินผัก ผลไม้ ไม่เพียงพอ (ผัก ผลไม้ < 400 กรัมต่อวัน) 2. การมีวิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ (มีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง < 150 นาทีต่อสัปดาห์)
3. สูบหรี่ (ยังคงสูบบุหรี่ ยาเส้น ยาสูบ บุหรี่ซิกกาแรต บุหรี่ซิการ์ หรือหยุดสูบไม่เกิน 1 ปี) 4. ดัชนีมวลกาย และ รอบเอวเกิน
5. มีอัตราส่วนของ Chol ต่อ HDL > 5 หรือ ประวัติไขมันผิดปกติ 6. มีประวัติ HT 7. มีประวัติ DM
8. มีประวัติ IHD และ/หรือ Stroke 9. ประวัติญาติสายตรง(บิดา มารดา พี่ หรือน้อง) เคยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าป่วยด้วย CVD
คัดกรองความเสี่ยงของ
เบาหวานด้วยวาจา
ด้วยวาจา (Verbal
Screening)
คัดกรองเบาหวาน
กลุ่มปกติ
คัดกรองความดันโลหิตสูง
วัดระดับความดันโลหิตด้วยเครื่องมาตรฐาน
กลุ่มปกติ
Follow Up ด้วยการวัด BP
ตามมาตรฐาน ซ้้า 1-2 เดือน
ส่งยืนยันการ
วินิจฉัยโดยแพทย์
กลุ่มป่วย
ภาวะ/โรคความดันโลหิตสูง
- Follow Up ด้วยการวัด BP ตาม
มาตรฐาน ซ้้า 1 สัปดาห์
- ติดตามและประเมินภาวะแทรกซ้อน
จากความดันโลหิต
* ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของ
ส้านักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่ง
ดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก
(WHO)
ไม่ใช่
ใช่
BP ตัวบน 140 -179 และ/
หรือตัวล่าง90 -109 มม.ปรอท
BP ตัวบน <120 และ
ตัวล่าง < 80 มม.ปรอท
BP ตัวบน 120 -139 และ/
หรือตัวล่าง80 – 89 มม.ปรอท
BP ตัวบน >180 และ/หรือ
ตัวล่าง >110 มม.ปรอท
Follow Up ด้วยการวัด BP
ตามมาตรฐานซ้้า 1 ปี
กลุ่มเสี่ยง
ส่งพบแพทย์ ภายในวัน
เดียวกัน
ประเมินปัจจัยเสี่ยง
CVD ด้วยวาจา
ตรวจวัดระดับน้้าตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว
(Fasting Capillary Glucose: FCG)
ไม่ใช่
ใช่
- Follow up มาตรฐาน ทุก 1 ปี
- Follow up ตามความเหมาะสมของความเสี่ยง
FCG ‹ 100 มก/ดล. FCG ≥126 มก/ดล.FCG = 100-125 มก/ดล.
กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน
กลุ่มเสี่ยงกลุ่มปกติ
Follow up มาตรฐาน
ทุก 1-2 ปี
ส่งยืนยันการวินิจฉัย
โดยแพทย์
ให้ค้าแนะน้า
ให้ค้าแนะน้าปรับพฤติกรรมลด
ปัจจัยเสี่ยง
- ติดตามและประเมิน
ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน
* ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของ
ส้านักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก
(WHO)
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
ขั้นตอนการคัดกรองความดันโลหิตสูง
* หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วย
ตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO)
หมายเหตุ กรณีวัดความดันโลหิตที่บ้าน การแปลค่าความดันโลหิต จะลดลงอีก 5 มิลลิเมตรปรอท
ขั้นตอนการคัดกรองเบาหวาน การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ของสานักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ทาในกลุ่ม ดังนี้
(1) กลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานทุกราย
(2) กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการ
ประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ แล้วพบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป
ขั้นตอนการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD
ของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO)
ใช่
- Follow Up ด้วยการวัด BP ตามมาตรฐาน
ซ้้า 1 สัปดาห์
- ติดตามและประเมินภาวะแทรกซ้อนจาก
ความดันโลหิต
*ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของส้านัก
โรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลง
จากองค์การอนามัยโลก (WHO)
ให้ค้าแนะน้า
* หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วยตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO)
การประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ ดังนี้
1. การกินผัก ผลไม้ ไม่เพียงพอ (ผัก ผลไม้ < 400 กรัมต่อวัน)
2. การมีวิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ (มีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง < 150 นาทีต่อสัปดาห์)
3. สูบหรี่ (ยังคงสูบบุหรี่ ยาเส้น ยาสูบ บุหรี่ซิกกาแรต บุหรี่ซิการ์ หรือหยุดสูบไม่เกิน 1 ปี) 4. ดัชนีมวลกาย และ รอบเอวเกิน
5. มีอัตราส่วนของ Chol ต่อ HDL > 5 หรือ ประวัติไขมันผิดปกติ 6. มีประวัติ HT
7. มีประวัติ DM 8. มีประวัติ IHD และ/หรือ Stroke
9. ประวัติญาติสายตรง (บิดา มารดา พี่ หรือน้อง) เคยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ ว่าป่วยด้วย CVD
- Follow up มาตรฐาน ทุก 1 ปี
- Follow up ตามความเหมาะสมของความเสี่ยง
ให้ค้าแนะน้าปรับพฤติกรรมลด
ปัจจัยเสี่ยง
- ติดตามและประเมิน
ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน
* ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD
ของส้านักโรคไม่ติดต่อ กรม
ควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจาก
องค์การอนามัยโลก (WHO)
Follow up มาตรฐาน
ทุก 1-2 ปี
พบปัจจัยเสี่ยงน้อยกว่า 5 ข้อ
กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน
พบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป
ประเมินปัจจัยเสี่ยง
CVD 9 ข้อ ด้วยวาจา
* ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของส้านัก
โรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลง
จากองค์การอนามัยโลก (WHO)
ส่งพบแพทย์
ภายในวันเดียวกัน
กลุ่มปกติ
ติดตามและประเมินโอกาส
เสี่ยงซ้้าทุก 3-6 เดือน
ลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อ
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ติดตามและประเมินโอกาส
เสี่ยงซ้้าทุก 6-12 เดือน
ติดตามและประเมินโอกาส
เสี่ยงซ้้าทุก 1ปี
ให้ความรู้ เรื่องปัจจัยเสี่ยงและอาการเตือนของโรค และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ/จัดการตนเอง
โอกาสเสี่ยง < ร้อยละ 20 โอกาสเสี่ยงร้อยละ 20 - < 30 โอกาสเสี่ยง ≥ ร้อยละ 30
ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของส้านักโรคไม่
ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจาก
องค์การอนามัยโลก (WHO)
ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ใน 10 ปีข้างหน้า
Follow Up ด้วยการวัด BP
ตามมาตรฐานซ้้าทุก 1-2
เดือน
กลุ่มป่วย
โรคความดันโลหิตสูง
ไม่ใช่
ใช่
BP ตัวบน 140 -179 และ/
หรือตัวล่าง 90-109 มม.ปรอท
BP ตัวบน < 120 และ
ตัวล่าง < 80 มม.ปรอท
BP ตัวบน 120 -139 และ/หรือ
ตัวล่าง 80 – 89 มม.ปรอท
BP ตัวบน >180
และ/หรือ
ตัวล่าง >110 มม.ปรอท
คัดกรองความดันโลหิตสูง
วัดระดับความดันโลหิตด้วยเครื่องมาตรฐาน
Follow Up ด้วยการ
วัด BP ตามมาตรฐาน
ซ้้าทุก 1 ปี
กลุ่มเสี่ยง
ส่งยืนยันการ
วินิจฉัยโดยแพทย์
ไม่ใช่กลุ่มเสี่ยงกลุ่มปกติ ส่งยืนยันการวินิจฉัย
โดยแพทย์
FCG ‹ 100 มก/ดล. FCG ≥126 มก/ดล.FCG = 100-125 มก/ดล.
คัดกรองเบาหวาน
ตรวจวัดระดับน้้าตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว
(Fasting Capillary Glucose: FCG)
หากมีข้อจากัดเรื่องทรัพยากรในการดาเนินงาน ควรจัดให้มีการคัดกรองความเสี่ยงเบาหวานด้วย
วาจา 6 ข้อ ดังนี้
1. ภาวะอ้วนที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) > 25 กก/ม2
และ/หรือ รอบเอว ≥ 90 ซม. ในผู้ชาย หรือ ≥ 80 ซม. ในผู้หญิง
2. มีประวัติญาติสายตรง (บิดา มารดา พี่หรือน้อง) เป็นเบาหวาน
3. มีระดับความดันโลหิตสูง > 140/90 มม.ปรอทหรือก้าลังรับประทานยาควบคุมความดันโลหิตสูง
4. ประวัติไขมันในเลือดผิดปกติ (ไตรกลีเซอไรด์ ≥ 250 มก./ดล. และ/หรือ HDL cholesterol < 35 มก./ดล.)
5. ประวัติมีน้้าตาลในเลือดสูงจากการตรวจเลือดหลังอดอาหาร (Fasting Plasma Glucose) เท่ากับ 100-125
มก./ดล. หรือการตรวจน้้าตาลในเลือด 2 ชั่วโมงหลังกินกลูโคส 75 กรัม มีระดับน้้าตาลเท่ากับ 140-199 มก./ดล.
6. ประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรที่มีน้้าหนักแรกคลอดมากกว่า 4 กิโลกรัม
เมื่อพบปัจจัยเสี่ยง 1 ปัจจัยขึ้นไป ให้ส่งตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว
(Fasting Capillary Glucose: FCG)
ต่อไป

More Related Content

What's hot

การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้techno UCH
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารีChutchavarn Wongsaree
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Utai Sukviwatsirikul
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sssDr.Suradet Chawadet
 

What's hot (20)

การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 

Viewers also liked

การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจและหลอดเลือดโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจและหลอดเลือดDMS Library
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การประเมินผลการควบคุมภายใน1
การประเมินผลการควบคุมภายใน1การประเมินผลการควบคุมภายใน1
การประเมินผลการควบคุมภายใน1Nan ZuZa
 

Viewers also liked (11)

การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkdการบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkd
 
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจและหลอดเลือดโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การประเมินผลการควบคุมภายใน1
การประเมินผลการควบคุมภายใน1การประเมินผลการควบคุมภายใน1
การประเมินผลการควบคุมภายใน1
 

Similar to ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มKomen Chawarit
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาUtai Sukviwatsirikul
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโฮลลี่ เมดิคอล
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาdragon2477
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)wanvisa kaewngam
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง (20)

Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013
 
Hypertension guideline 2013
Hypertension guideline 2013Hypertension guideline 2013
Hypertension guideline 2013
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
4 0
4 04 0
4 0
 
Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  • 1. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพในประชากรอายุ 15- 34 ปี ขั้นตอนการคัดกรองความดันโลหิตสูง * หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วยตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) หมายเหตุ กรณีวัดความดันโลหิตที่บ้าน การแปลค่าความดันโลหิต จะลดลงอีก 5 มิลลิเมตรปรอท ขั้นตอนการคัดกรองเบาหวาน พบปัจจัยเสี่ยงน้อยกว่า 5 ข้อ พบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป พบปัจจัยเสี่ยงน้อยกว่า 3 ข้อ พบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป * หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วยตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) การคัดกรองความเสี่ยงของเบาหวานด้วยวาจา (Verbal Screening) 5 ข้อ ดังนี้ 1. มีภาวะน้้าหนักเกินและอ้วน รอบเอว ≥ ½ ของส่วนสูง (เซนติเมตร) หรือมี ดัชนีมวลกาย ≥ 25 กก./ม.2 2. มีภาวะความดันโลหิตสูง BP≥140/90 มม.ปรอท หรือมีประวัติเป็น HT หรือรับประทานยาควบคุม HT 3. มีรอยพับ รอบคอหรือใต้รักแร้ด้า 4. มีประวัติ บิดา มารดา พี่ หรือน้อง เป็นเบาหวาน 5. สูบบุหรี่ การประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ ดังนี้ 1. การกินผัก ผลไม้ ไม่เพียงพอ (ผัก ผลไม้ < 400 กรัมต่อวัน) 2. การมีวิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ (มีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง < 150 นาทีต่อสัปดาห์) 3. สูบหรี่ (ยังคงสูบบุหรี่ ยาเส้น ยาสูบ บุหรี่ซิกกาแรต บุหรี่ซิการ์ หรือหยุดสูบไม่เกิน 1 ปี) 4. ดัชนีมวลกาย และ รอบเอวเกิน 5. มีอัตราส่วนของ Chol ต่อ HDL > 5 หรือ ประวัติไขมันผิดปกติ 6. มีประวัติ HT 7. มีประวัติ DM 8. มีประวัติ IHD และ/หรือ Stroke 9. ประวัติญาติสายตรง(บิดา มารดา พี่ หรือน้อง) เคยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าป่วยด้วย CVD คัดกรองความเสี่ยงของ เบาหวานด้วยวาจา ด้วยวาจา (Verbal Screening) คัดกรองเบาหวาน กลุ่มปกติ คัดกรองความดันโลหิตสูง วัดระดับความดันโลหิตด้วยเครื่องมาตรฐาน กลุ่มปกติ Follow Up ด้วยการวัด BP ตามมาตรฐาน ซ้้า 1-2 เดือน ส่งยืนยันการ วินิจฉัยโดยแพทย์ กลุ่มป่วย ภาวะ/โรคความดันโลหิตสูง - Follow Up ด้วยการวัด BP ตาม มาตรฐาน ซ้้า 1 สัปดาห์ - ติดตามและประเมินภาวะแทรกซ้อน จากความดันโลหิต * ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของ ส้านักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่ง ดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ไม่ใช่ ใช่ BP ตัวบน 140 -179 และ/ หรือตัวล่าง90 -109 มม.ปรอท BP ตัวบน <120 และ ตัวล่าง < 80 มม.ปรอท BP ตัวบน 120 -139 และ/ หรือตัวล่าง80 – 89 มม.ปรอท BP ตัวบน >180 และ/หรือ ตัวล่าง >110 มม.ปรอท Follow Up ด้วยการวัด BP ตามมาตรฐานซ้้า 1 ปี กลุ่มเสี่ยง ส่งพบแพทย์ ภายในวัน เดียวกัน ประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา ตรวจวัดระดับน้้าตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว (Fasting Capillary Glucose: FCG) ไม่ใช่ ใช่ - Follow up มาตรฐาน ทุก 1 ปี - Follow up ตามความเหมาะสมของความเสี่ยง FCG ‹ 100 มก/ดล. FCG ≥126 มก/ดล.FCG = 100-125 มก/ดล. กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงกลุ่มปกติ Follow up มาตรฐาน ทุก 1-2 ปี ส่งยืนยันการวินิจฉัย โดยแพทย์ ให้ค้าแนะน้า ให้ค้าแนะน้าปรับพฤติกรรมลด ปัจจัยเสี่ยง - ติดตามและประเมิน ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน * ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของ ส้านักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO)
  • 2. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ขั้นตอนการคัดกรองความดันโลหิตสูง * หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วย ตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) หมายเหตุ กรณีวัดความดันโลหิตที่บ้าน การแปลค่าความดันโลหิต จะลดลงอีก 5 มิลลิเมตรปรอท ขั้นตอนการคัดกรองเบาหวาน การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ทาในกลุ่ม ดังนี้ (1) กลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานทุกราย (2) กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวาน ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการ ประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ แล้วพบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป ขั้นตอนการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ใช่ - Follow Up ด้วยการวัด BP ตามมาตรฐาน ซ้้า 1 สัปดาห์ - ติดตามและประเมินภาวะแทรกซ้อนจาก ความดันโลหิต *ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของส้านัก โรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลง จากองค์การอนามัยโลก (WHO) ให้ค้าแนะน้า * หมายถึงต้องได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ CVD ด้วยตารางสีของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจากองค์การอนามัยโลก (WHO) การประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ ดังนี้ 1. การกินผัก ผลไม้ ไม่เพียงพอ (ผัก ผลไม้ < 400 กรัมต่อวัน) 2. การมีวิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ (มีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง < 150 นาทีต่อสัปดาห์) 3. สูบหรี่ (ยังคงสูบบุหรี่ ยาเส้น ยาสูบ บุหรี่ซิกกาแรต บุหรี่ซิการ์ หรือหยุดสูบไม่เกิน 1 ปี) 4. ดัชนีมวลกาย และ รอบเอวเกิน 5. มีอัตราส่วนของ Chol ต่อ HDL > 5 หรือ ประวัติไขมันผิดปกติ 6. มีประวัติ HT 7. มีประวัติ DM 8. มีประวัติ IHD และ/หรือ Stroke 9. ประวัติญาติสายตรง (บิดา มารดา พี่ หรือน้อง) เคยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ ว่าป่วยด้วย CVD - Follow up มาตรฐาน ทุก 1 ปี - Follow up ตามความเหมาะสมของความเสี่ยง ให้ค้าแนะน้าปรับพฤติกรรมลด ปัจจัยเสี่ยง - ติดตามและประเมิน ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน * ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของส้านักโรคไม่ติดต่อ กรม ควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจาก องค์การอนามัยโลก (WHO) Follow up มาตรฐาน ทุก 1-2 ปี พบปัจจัยเสี่ยงน้อยกว่า 5 ข้อ กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน พบปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป ประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD 9 ข้อ ด้วยวาจา * ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของส้านัก โรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลง จากองค์การอนามัยโลก (WHO) ส่งพบแพทย์ ภายในวันเดียวกัน กลุ่มปกติ ติดตามและประเมินโอกาส เสี่ยงซ้้าทุก 3-6 เดือน ลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด ติดตามและประเมินโอกาส เสี่ยงซ้้าทุก 6-12 เดือน ติดตามและประเมินโอกาส เสี่ยงซ้้าทุก 1ปี ให้ความรู้ เรื่องปัจจัยเสี่ยงและอาการเตือนของโรค และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ/จัดการตนเอง โอกาสเสี่ยง < ร้อยละ 20 โอกาสเสี่ยงร้อยละ 20 - < 30 โอกาสเสี่ยง ≥ ร้อยละ 30 ประเมินโอกาสเสี่ยง CVD ของส้านักโรคไม่ ติดต่อ กรมควบคุมโรค ซึ่งดัดแปลงจาก องค์การอนามัยโลก (WHO) ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ใน 10 ปีข้างหน้า Follow Up ด้วยการวัด BP ตามมาตรฐานซ้้าทุก 1-2 เดือน กลุ่มป่วย โรคความดันโลหิตสูง ไม่ใช่ ใช่ BP ตัวบน 140 -179 และ/ หรือตัวล่าง 90-109 มม.ปรอท BP ตัวบน < 120 และ ตัวล่าง < 80 มม.ปรอท BP ตัวบน 120 -139 และ/หรือ ตัวล่าง 80 – 89 มม.ปรอท BP ตัวบน >180 และ/หรือ ตัวล่าง >110 มม.ปรอท คัดกรองความดันโลหิตสูง วัดระดับความดันโลหิตด้วยเครื่องมาตรฐาน Follow Up ด้วยการ วัด BP ตามมาตรฐาน ซ้้าทุก 1 ปี กลุ่มเสี่ยง ส่งยืนยันการ วินิจฉัยโดยแพทย์ ไม่ใช่กลุ่มเสี่ยงกลุ่มปกติ ส่งยืนยันการวินิจฉัย โดยแพทย์ FCG ‹ 100 มก/ดล. FCG ≥126 มก/ดล.FCG = 100-125 มก/ดล. คัดกรองเบาหวาน ตรวจวัดระดับน้้าตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว (Fasting Capillary Glucose: FCG) หากมีข้อจากัดเรื่องทรัพยากรในการดาเนินงาน ควรจัดให้มีการคัดกรองความเสี่ยงเบาหวานด้วย วาจา 6 ข้อ ดังนี้ 1. ภาวะอ้วนที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) > 25 กก/ม2 และ/หรือ รอบเอว ≥ 90 ซม. ในผู้ชาย หรือ ≥ 80 ซม. ในผู้หญิง 2. มีประวัติญาติสายตรง (บิดา มารดา พี่หรือน้อง) เป็นเบาหวาน 3. มีระดับความดันโลหิตสูง > 140/90 มม.ปรอทหรือก้าลังรับประทานยาควบคุมความดันโลหิตสูง 4. ประวัติไขมันในเลือดผิดปกติ (ไตรกลีเซอไรด์ ≥ 250 มก./ดล. และ/หรือ HDL cholesterol < 35 มก./ดล.) 5. ประวัติมีน้้าตาลในเลือดสูงจากการตรวจเลือดหลังอดอาหาร (Fasting Plasma Glucose) เท่ากับ 100-125 มก./ดล. หรือการตรวจน้้าตาลในเลือด 2 ชั่วโมงหลังกินกลูโคส 75 กรัม มีระดับน้้าตาลเท่ากับ 140-199 มก./ดล. 6. ประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรที่มีน้้าหนักแรกคลอดมากกว่า 4 กิโลกรัม เมื่อพบปัจจัยเสี่ยง 1 ปัจจัยขึ้นไป ให้ส่งตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว (Fasting Capillary Glucose: FCG) ต่อไป