SlideShare a Scribd company logo
BIGBANG
กำเนิดเอกภพ
By : นางสาวปาริชาต พันธ์ธรรม นักศึกษาภาค กศ.พบ. 29 รหัสนักศึกษา 5530123315049
ทฤษฎี “บิกแบง” (Big Bang Theory) เป็นทฤษฎีทางดาราศาสตร์ที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์
ความเป็นมาของจักรวาล ปัจจุบันเป็นทฤษฎีที่เป็นที่เชื่อถือและยอมรับมากที่สุดทฤษฎีบิกแบงเกิดขึ้นจากการ
สังเกตของนักดาราศาสตร์ที่ว่า ขณะนี้จักรวาลกาลังขยายตัว ดวงดาวต่าง ๆ บนท้องฟ้ ากาลังวิ่งห่างออกจากกัน
ทุกที เมื่อย้อนกลับไปสู่อดีต ดวงดาวต่างๆ จะอยู่ใกล้กันมากกว่านี้และเมื่อนักดาราศาสตร์คานวณอัตราความเร็ว
ของการขยายตัวทาให้ทราบถึงอายุของจักรวาลและการคลี่คลายตัวของจักรวาล รวมทั้งสร้างทฤษฎีการกาเนิด
จักรวาลขึ้นอีกด้วย ตามทฤษฎีนี้จักรวาลกาเนิดขึ้นเมื่อประมาณ ๑๕,๐๐๐ ล้านปีที่แล้ว ก่อนการเกิดของจักรวาล
ไม่มีมวลสาร ช่องว่าง หรือกาลเวลา จักรวาลเป็นเพียงจุดที่เล็กยิ่งกว่าอะตอมเท่านั้น และด้วยเหตุใดยังไม่ปรากฏ
แน่ชัด จักรวาลที่เล็กที่สุดนี้ได้ระเบิดออกอย่างรุนแรงและรวดเร็วในเวลาเพียงเศษเสี้ยววินาที (Inflationary
period) แรงระเบิดก่อให้เกิดหมอกธาตุซึ่งแสงไม่สามารถทะลุผ่านได้ (Plasma period) ต่อมาจักรวาลที่
กาลังขยายตัวเริ่มเย็นลง หมอกธาตุเริ่มรวมตัวกันเป็นอะตอม จักรวาลเริ่มโปร่งแสง ในทางทฤษฎีแล้วพื้นที่บาง
แห่งจะมีมวลหนาแน่นกว่า ร้อนกว่า และเปล่งแสงออกมามากกว่า ซึ่งต่อมาพื้นที่เหล่านี้ได้ก่อตัวเป็นกลุ่มหมอก
ควันอันใหญ่โตมโหฬาร และภายใต้กฎของแรงโน้มถ่วง กลุ่มหมอกควันอันมหึมานี้ได้ค่อยๆ แตกออก จนเป็น
โครงสร้างของ “กาแลกซี” (Galaxy) ดวงดาวต่าง ๆ ได้ก่อตัวขึ้นในกาแลกซี และจักรวาลขยายตัวออกอย่าง
ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
นักดาราศาสตร์คานวณว่าจักรวาลว่าประกอบไปด้วยกาแลกซีประมาณ ๑ ล้านล้านกาแลกซี และแต่
ละกาแลกซีมีดาวฤกษ์อย่างเช่นดวงอาทิตย์อยู่ประมาณ ๑ ล้านล้านดวง และสุริยจักรวาลของเราอยู่ปลายขอบ
ของกาแลกซีที่เรียกว่า “ทางช้างเผือก” (Milky Galaxy) และกาแลกซีทางช้างเผือกก็อยู่ปลายขอบของ
จักรวาลใหญ่ทั้งหมด เราจึงมิได้เป็นศูนย์กลางของจักรวาลเลย ไม่ว่าจะในความหมายใด
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ดาวเทียม “โคบี” (COBE) ขององค์การนาซ่าแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งถูกส่งขึ้นไปเพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ของจักรวาลโดยเฉพาะ
ได้ค้นพบรังสีโบราณ ซึ่งบ่งบอกถึงโครงสร้างของจักรวาลขณะเมื่อจักรวาลมีอายุเพียง ๓๐๐,๐๐๐ ปี นับเป็นการค้นพบครั้งสาคัญที่ยืนยันว่า จักรวาลกาเนิด
ขึ้นมาจากจุดเริ่มต้นของการระเบิด และคลี่คลายตัวตามคาอธิบายในทฤษฎี “บิกแบง” จริง เมื่อได้ทฤษฎีการกาเนิดจักรวาลแล้ว นักดาราศาสตร์ก็สนใจว่า
จักรวาลจะสิ้นสุดลงอย่างไร มีทฤษฎีที่อธิบายเรื่องนี้อยู่ ๓ ทฤษฎี ทฤษฎีแรก กล่าวว่า เมื่อแรงระเบิดสิ้นสุดลง มวลอันมหึมาของกาแลกซีต่างๆ จะดึงดูดซึ่งกัน
และกัน ทาให้จักรวาลหดตัวกลับจนกระทั่งถึงกาลอวสาน ทฤษฎีที่สอง อธิบายว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราช้า ๆ จึงเชื่อว่าน่าจะมี “มวลดา”(dark
matter) ที่เรายังไม่รู้จักปริมาณมหึมาคอยยึดโยงจักรวาลไว้ จักรวาลจะขยายตัวไปเรื่อยๆ จนยากแก่การสืบค้น ส่วนสตีเฟ่น ฮอว์กกิ้ง (Stephen
Hawking) ได้เสนอทฤษฎีที่สามว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราความเร็วที่เพิ่มขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทฤษฎีบิกแบงนั้นได้รับการเชื่อมต่อด้วยทฤษฎี
วิวัฒนาการ (Evolution Theory) ของชาร์ล ดาร์วิน (Charles Darwin) เมื่อโลกเย็นตัวลงนั้น ปฏิกิริยาเคมีจากมวลสารในโลกในที่สุดแล้วก่อให้เกิด
ไอน้า และไอน้าก่อให้เกิดเมฆ และเมฆตกลงมาเป็นฝน ทาให้เกิดแม่น้า ลาธาร ทะเล และมหาสมุทร วิวัฒนาการนี้มีลักษณะแบบ “ก้าวกระโดด”
(Emergent Evolution) เมื่อมีสารอนินทรีย์และน้าปริมาณมหาศาลเป็นเวลาที่ยาวนาน ในที่สุดคุณภาพใหม่คือ “ชีวิต” ก็เกิดขึ้น คาว่า บิกแบง ที่จริงเป็น
คาล้อเลียนที่เกิดจาก นักดาราศาสตร์ ชื่อ เฟรดฮอยล์ ซึ่งเขาดูหมิ่นและตั้งใจจะทาลายความน่าเชื่อถือของทฤษฎีที่เขาเห็นว่าไม่มีทางเป็นจริงอย่างไรก็ดี การ
ค้นพบ ไมโครเวฟพื้นหลัง ในปี ค.ศ. 1964 ยิ่งทาให้ไม่สามารถปฏิเสธทฤษฎีบิกแบงได้ มีหลักฐานสาคัญพิสูจน์ความถูกต้องของทฤษฎีการเกิดของเอกภพตาม
ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ประการหนึ่ง คือ ในปี ค.ศ. 1965 นักวิทยาศาสตร์ที่ บริษัท เบลล์ แลบอรอทอรี่ สหรัฐ ได้ยินเสียบรบกวนของคลื่นวิทยุดัง
มากจาก รอบทิศบนท้องฟ้ า นักวิทยาศาสตร์ได้คานวณได้แล้วว่า ถ้าหากเอกภพมีจุดกาเนิด จากปฐมดวงไฟในจักรวาลเมื่อประมาณ 1.1 x 1010-
1.8x1010 ปีมาแล้ว ตาม ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ของจักรวาลพลังงานที่ยังหลงเหลืออยู่ในการระเบิด ครั้งใหญ่จะต้องค้นหาพบได้ในปัจจุบัน และจะมี
อุณหภูมิประมาณ 3 องศาเหนือ ศูนย์องศาสมบูรณ์ เนื่องจากพลังงานจะแผ่ออกมาเป็นไมโครเวฟ มีความยาวคลื่น น้อยกว่า 1 ม.ม. ผลจากการได้ยินเสียงคลื่น
ไม่โครเวฟดังมากจากรอบทิศทางบน ท้องฟ้ าดังกล่าว เมื่อนักวิทยาศาสตร์ทาการวัดอย่างระมัดระวังทาให้นักวิทยาศาสตร์ แน่ใจว่า การแพร่ของคลื่นไมโครเวฟ
บนท้องฟ้ าทั่วทิศทาง คือ ส่วนที่หลงเหลือ จากการระเบิดครั้งใหญ่ของจักรวาล
วิวัฒนาการต่อเนื่องของการเกิด BIG BANG
BIGBANG และวิวัฒนาการของเอกภพ
ขณะเกิดบิกแบง มีเนื้อสารเกิดขึ้นในรูป
ของอนุภาคพื้นฐานชื่อ ควาร์ก
(Quark) อิเล็กตรอน (Electron)
นิวทริโน (Neutrino) และโฟตอน
(Photon) ซึ่งเป็นพลังงานด้วย เมื่อ
เกิดอนุภาคก็จะเกิดปฏิอนุภาค (Anti-
particle) ที่มีประจุไฟฟ้ าตรงข้าม
ยกเว้นนิวทริโนและแอนตินิวทริโน ไม่มี
ประจุไฟฟ้ า เมื่อปฏิอนุภาคพบกับ
อนุภาคชนิดเดียวกันจะหลอมรวมกัน
เนื้อสารเปลี่ยนไปเป็นพลังงานจนหมด
สิ้น
ปรากฏการณ์ที่สนับสนุนทฤษฎี BIG BANG
1. กำรขยำยตัวของเอกภพ
ฮับเบิล เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน ที่ค้นพบว่า
กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไปด้วยความเร็วที่
เพิ่มขึ้นตามระยะห่าง กาแล็กซีที่อยู่ไกล ยิ่งเคลื่อนที่
ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้ นั่นคือเอกภพ
ขยายตัว จากความเข้าใจในเรื่องนี้ทาให้นักดารา
ศาสตร์สามารถคานวณอายุของเอกภพได้
ปรำกฏกำรณ์ที่สนับสนุนทฤษฎี BIG BANG
2. อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน
การค้นพบอุณหภูมิของเอกภพในปัจจุบันหรืออุณหภูมิพื้นหลัง เป็นการค้นพบโดยบังเอิญ
ของนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 2 คน คือ อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน แห่ง
ห้องปฏิบัติการเบลเทเลโฟน
เมื่อปี พ.ศ.2508 ขณะนั้น อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน กาลังทดสอบระบบเครื่องรับ
สัญญาณของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ปรากฏว่ามีสัญญาณรบกวนตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็ น
กลางวันหรือกลางคืน หรือฤดูต่าง ๆ แม้เปลี่ยนทิศทางและทาความสะอาดสายอากาศแล้วก็
ยังมีสัญญาณรบกวนอยู่เช่นเดิม ต่อมาทราบภายหลังว่าเป็นสัญญาณที่เหลืออยู่ในอวกาศ
เทียบได้ กับพลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุดาที่มีอุณหภูมิประมาณ 3
เคลวิน หรือประมาณ -270 องศาเซลเซียส
อาร์โน เพนเซียส
โรเบิร์ต วิลสัน
กล้องโทรทัศน์วิทยุประวัติศำสตร์ที่เพนเซียสและวิลสันค้นพบอุณหภูมิพื้นหลัง
ดังนั้นการพบพลังงานจากทุกทิศทุกทางในปริมาณที่เทียบ
ได้กับพลังงานที่เกิดจากการแผ่รังสีของวัตถุดาที่มีอุณหภูมิ
ประมาณ 3 เคลวิน จึงเป็นอีกข้อหนึ่งที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงได้
เป็นอย่างดี
ทฤษฎีกำรก่อกำเนิดเอกภพ
ควอซำร์ (Quasars)
ซุปเปอร์โนวำ (Supernova)
ดำวนิวตรอน (Neutron
star)
เนบิวลำ (Nebula)
หลุมดำ (Black Hole)
ภำยหลังกำรเกิด BIG BANG
ขณะที่เอกภพขยายตัวภายหลังเกิดบิกแบงสสารก็เคลื่อนที่ไปทุกทิศทาง แรงโน้มถ่วงเริ่มทางาน แรงโน้มถ่วง
คือ สิ่งที่ควบคุมเอกภพ เป็นแรงดึงวัตถุเข้าหากัน เราเรียกแรงดึงดูด เช่นนี้ว่า แรงโน้มถ่วง วัตถุที่มีมวลสารมาก
จะมีแรงโน้มถ่วงสูง แรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุอย่างอยู่ด้วยกัน ดังนั้นเมื่อเอกภพมีอายุเพียง 1 ล้านปี สสารในรูป
ของไฮโดรเจนและฮีเลียมก็เริ่มยึดเหนี่ยวกันเป็นก้อน เรียกว่า กาแล็กซีที่ยังไม่คลอด(protogalaxy) นี่คือ
จุดเริ่มต้นของการเกิดกาแล็กซีต่อไป ก้อนก๊าซขนาดเล็กที่อยู่ภายในกลายเป็นดาวฤกษ์ กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดก็
เหมือนกระจุดดาวฤกษ์ขนาดมหิมาหรือกาแล็กซีแคระ อยู่กันเป็นกลุ่มและเป็นโครงสร้างหลักของกาแล็กซี
กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดทั้งหลายถูกยึดเหนี่ยวเข้าด้วยกัน ด้วยแรงโน้มถ่วงจึงเกิดการรวมกันเป็นกาแล็กซีใน
ช่วงแรกจะมีขนาดเล็กและมีรูปร่างแปลก ในที่สุดกาแล็กซีที่ยังไม่คลอดหลายแห่งก็รวมกันกลายเป็นกาแล็กซี
แบบสไปรัสหรือรูปไข่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่มันยังไม่สิ้นสุดแค่นี้ภายในกาแล็กซีต่าง ๆ ยังมีดาวฤกษ์เกิด
ขึ้นอยู่เรื่อย ๆ ตัวกาแล็กซีเองก็อาจชนกันหรือรวมกัน ทุกวันนี้ภายในกาแล็กซีทางช้างแผือกยังมีดาวฤกษ์
จานวนมากกาลังเกิดใหม่และกาลังดึงกาแล็กซีเล็กๆข้างเคียงเข้ามา
ทำไมกำเนิดของเอกภพจึงเป็น BIG BANG (กำรระเบิดขนำดใหญ่)
ถ้าเอกภพกาลังขยายตัวก็แสดงว่าถ้าเราย้อนเวลากลับไปใน
อดีต เอกภพก็ต้องมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ ยิ่งย้อนเวลามากก็ยิ่ง
เล็กลง แล้วเมื่อเล็ก ลงอย่างที่สุดจะเกิดอะไรขึ้น เอกภพจะ
ลดลงจนสลายไปหรือหวังว่าจะมีจุดหนึ่งที่เอกภพกาเนิด ไม่ว่า
จะเป็นกรณีใดจะเห็นว่าเราจะต้องเกี่ยวข้องกับ การเริ่มของเอก
ภพทั้งนั้น ผู้แรกที่เริ่มศึกษาปัญหาเหล่านี้อย่างจริงจังคือนัก
ฟิสิกส์ซึ่งเกิดที่รัสเซียชื่อ กามอฟ แต่ภายหลังอพยพไปอยู่
อเมริกาในช่วง ปี 1948 ที่จริงกามอฟไม่ได้ตั้งใจที่จะคิดค้น
เกี่ยวกับการเริ่มของเอกภพตั้งแต่ตอนแรก แต่ระหว่างที่เขา
กาลังคิดค้นเกี่ยวกับการเกิดของธาตุ เขาก็ได้ บรรลุถึงข้อ
สรุปว่า เอกภพจะต้องเกิดขึ้นด้วย BIG BANG
อ้ำงอิง
http://www.soulfly.th.gs/
http://www.geocities.com/Athens/Theb
es/1183/universe.html
http://www.rmutphysics.com/CHARUD/
naturemystery/sci3/universe/universe1.
htm
คำถำม ทฤษฎี BIG BANG 10 ข้อ
1. ทฤษฎีบิ๊กแบง คืออะไร
ตอบ เป็นทฤษฎีทางดาราศาสตร์ที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของจักรวาล ปัจจุบันเป็นทฤษฎีที่เป็นที่เชื่อถือและ
ยอมรับมากที่สุด
2. จักรวำลกำเนิดขึ้นเมื่อประมำณกี่ปี
ตอบ ๑๕,๐๐๐ ล้านปีที่แล้ว
3. จักรวำลกำเนิดขึ้นได้อย่ำงไร
ตอบ จักรวาลกาเนิดมาจากจุดเริ่มต้นของการระเบิด และคลี่คลายตัวตามคาอธิบายในทฤษฎี “บิกแบง”
4. เหตุกำรณ์ที่ทำให้เกิดบิกแบงมีอะไรบ้ำง
ตอบ 1.ควอซาร์ 2.ซุปเปอร์โนวา 3.ดาวนิวตรอน 4.เนบิวลา 5.หลุมดา
5. แรงโน้มถ่วงทำหน้ำที่อย่ำงไร ภำยหลังจำกกำรเกิดบิกแบง
ภายหลังเกิดบิกแบงสสารก็เคลื่อนที่ไปทุกทิศทาง แรงโน้มถ่วงเริ่มทางาน แรงโน้มถ่วง คือ สิ่งที่ควบคุมเอกภพ เป็นแรงดึง
วัตถุเข้าหากัน เราเรียกแรงดึงดูด เช่นนี้ว่า แรงโน้มถ่วง วัตถุที่มีมวลสารมากจะมีแรงโน้มถ่วงสูง แรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุทุก
อย่างอยู่ด้วยกัน
6. จุดเริ่มต้นของกำรเกิดกำแล็กซีคือ
ตอบ สสารในรูปของไฮโดรเจนและฮีเลียม เริ่มยึดเหนี่ยวกันเป็นก้อน เรียกว่า กาแล็กซีที่ยังไม่คลอด (protogalaxy)
7. ผู้แรกที่เริ่มศึกษำกำรเริ่มต้น ของเอกภพ คือใคร
ตอบ นักฟิสิกส์ซึ่งเกิดที่รัสเซียชื่อ กามอฟ แต่ภายหลังอพยพไปอยู่อเมริกาในช่วง ปี 1948
8. กำแล็กซี ในปัจจุบัน เป็นแบบใหน
ตอบ เป็นกาแล็กซีแบบสไปรัสหรือรูปไข่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
9. ปรำกฏกำร์ณ์ที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงมีอะไรบ้ำง
ตอบ การขยายตัวของเอกภพ และอุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ

More Related Content

What's hot

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
soysuwanyuennan
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Ta Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Ta Lattapol
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
พัน พัน
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
Ponpirun Homsuwan
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินJiraporn
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
piyawanrat2534
 

What's hot (20)

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
 

Viewers also liked

Resume Richard Winn 09.15.16
Resume Richard Winn 09.15.16Resume Richard Winn 09.15.16
Resume Richard Winn 09.15.16Richard Winn
 
Beyond BYOD
Beyond BYODBeyond BYOD
Beyond BYOD
WorksPad
 
Insights from the 2016 USPA Conference
Insights from the 2016 USPA ConferenceInsights from the 2016 USPA Conference
Insights from the 2016 USPA Conference
Garrett Conti
 
Trabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasciTrabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasci
Maria Boss
 
Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)
Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)
Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)Steven Henning
 
Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле» Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Делай вещь
 
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
Maria Boss
 
Jimmy fernandez 3ºb
Jimmy fernandez 3ºbJimmy fernandez 3ºb
Jimmy fernandez 3ºb
Jimmy Fernández Abanto
 
Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016
Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016
Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016Ebba G. Hult
 
Manual photoshop UTN
Manual photoshop UTNManual photoshop UTN
Manual photoshop UTN
Rodrigo Blanco
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
ppompuy pantham
 
VOCABULARIO
VOCABULARIOVOCABULARIO
VOCABULARIO
Maria Boss
 
Sprinkler Systems & Water Conservation in Massachusetts
Sprinkler Systems & Water Conservation in MassachusettsSprinkler Systems & Water Conservation in Massachusetts
Sprinkler Systems & Water Conservation in Massachusetts
SuburbanLawnSprinklerCompany
 
Jose luis prezi powerpoint
Jose luis prezi powerpointJose luis prezi powerpoint
Jose luis prezi powerpoint
Jose Luis Morales Morales
 
Presentacion contaminacion
Presentacion contaminacionPresentacion contaminacion
Presentacion contaminacion
Fatiima1115
 
VOCABULARIO
VOCABULARIOVOCABULARIO
VOCABULARIO
Maria Boss
 
Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque
Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque
Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque
Maria Boss
 

Viewers also liked (20)

Resume Richard Winn 09.15.16
Resume Richard Winn 09.15.16Resume Richard Winn 09.15.16
Resume Richard Winn 09.15.16
 
Beyond BYOD
Beyond BYODBeyond BYOD
Beyond BYOD
 
Insights from the 2016 USPA Conference
Insights from the 2016 USPA ConferenceInsights from the 2016 USPA Conference
Insights from the 2016 USPA Conference
 
Trabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasciTrabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasci
 
Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)
Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)
Claim Analytics.pptx %5bRead-Only%5d (1)
 
Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле» Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле»
 
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
 
Jimmy fernandez 3ºb
Jimmy fernandez 3ºbJimmy fernandez 3ºb
Jimmy fernandez 3ºb
 
CV
CVCV
CV
 
Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016
Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016
Korean-Swedish Executive Meeting Value-based Healthcare_Seoul 2016
 
Manual photoshop UTN
Manual photoshop UTNManual photoshop UTN
Manual photoshop UTN
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
VOCABULARIO
VOCABULARIOVOCABULARIO
VOCABULARIO
 
ganesh resume
ganesh resumeganesh resume
ganesh resume
 
Sprinkler Systems & Water Conservation in Massachusetts
Sprinkler Systems & Water Conservation in MassachusettsSprinkler Systems & Water Conservation in Massachusetts
Sprinkler Systems & Water Conservation in Massachusetts
 
Jose luis prezi powerpoint
Jose luis prezi powerpointJose luis prezi powerpoint
Jose luis prezi powerpoint
 
Presentacion contaminacion
Presentacion contaminacionPresentacion contaminacion
Presentacion contaminacion
 
VOCABULARIO
VOCABULARIOVOCABULARIO
VOCABULARIO
 
Radwa CV
Radwa CVRadwa CV
Radwa CV
 
Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque
Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque
Terminos, Vano, Viga Riostra y Bloque
 

Similar to Bigbang

บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
Sakulpit Promrungsee
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์jojoe2550
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศjihankanathip
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
งานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบง
งานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบงงานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบง
งานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบง
Tพี่ชัย พันทะสี
 

Similar to Bigbang (19)

บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
 
เอกภพ
เอกภพเอกภพ
เอกภพ
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
universe
universeuniverse
universe
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
งานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบง
งานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบงงานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบง
งานชิ้นที่1 2ทฤษฏีบิ๊กแบง
 

More from ppompuy pantham

เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
ppompuy pantham
 
Is หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือIs หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือ
ppompuy pantham
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
ppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
ppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
ppompuy pantham
 
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพการสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
ppompuy pantham
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ppompuy pantham
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
ppompuy pantham
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
ppompuy pantham
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
ppompuy pantham
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
ppompuy pantham
 
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมกฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม
ppompuy pantham
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
ppompuy pantham
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
ppompuy pantham
 

More from ppompuy pantham (14)

เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
 
Is หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือIs หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือ
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพการสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมกฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

Bigbang

  • 1. BIGBANG กำเนิดเอกภพ By : นางสาวปาริชาต พันธ์ธรรม นักศึกษาภาค กศ.พบ. 29 รหัสนักศึกษา 5530123315049
  • 2. ทฤษฎี “บิกแบง” (Big Bang Theory) เป็นทฤษฎีทางดาราศาสตร์ที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของจักรวาล ปัจจุบันเป็นทฤษฎีที่เป็นที่เชื่อถือและยอมรับมากที่สุดทฤษฎีบิกแบงเกิดขึ้นจากการ สังเกตของนักดาราศาสตร์ที่ว่า ขณะนี้จักรวาลกาลังขยายตัว ดวงดาวต่าง ๆ บนท้องฟ้ ากาลังวิ่งห่างออกจากกัน ทุกที เมื่อย้อนกลับไปสู่อดีต ดวงดาวต่างๆ จะอยู่ใกล้กันมากกว่านี้และเมื่อนักดาราศาสตร์คานวณอัตราความเร็ว ของการขยายตัวทาให้ทราบถึงอายุของจักรวาลและการคลี่คลายตัวของจักรวาล รวมทั้งสร้างทฤษฎีการกาเนิด จักรวาลขึ้นอีกด้วย ตามทฤษฎีนี้จักรวาลกาเนิดขึ้นเมื่อประมาณ ๑๕,๐๐๐ ล้านปีที่แล้ว ก่อนการเกิดของจักรวาล ไม่มีมวลสาร ช่องว่าง หรือกาลเวลา จักรวาลเป็นเพียงจุดที่เล็กยิ่งกว่าอะตอมเท่านั้น และด้วยเหตุใดยังไม่ปรากฏ แน่ชัด จักรวาลที่เล็กที่สุดนี้ได้ระเบิดออกอย่างรุนแรงและรวดเร็วในเวลาเพียงเศษเสี้ยววินาที (Inflationary period) แรงระเบิดก่อให้เกิดหมอกธาตุซึ่งแสงไม่สามารถทะลุผ่านได้ (Plasma period) ต่อมาจักรวาลที่ กาลังขยายตัวเริ่มเย็นลง หมอกธาตุเริ่มรวมตัวกันเป็นอะตอม จักรวาลเริ่มโปร่งแสง ในทางทฤษฎีแล้วพื้นที่บาง แห่งจะมีมวลหนาแน่นกว่า ร้อนกว่า และเปล่งแสงออกมามากกว่า ซึ่งต่อมาพื้นที่เหล่านี้ได้ก่อตัวเป็นกลุ่มหมอก ควันอันใหญ่โตมโหฬาร และภายใต้กฎของแรงโน้มถ่วง กลุ่มหมอกควันอันมหึมานี้ได้ค่อยๆ แตกออก จนเป็น โครงสร้างของ “กาแลกซี” (Galaxy) ดวงดาวต่าง ๆ ได้ก่อตัวขึ้นในกาแลกซี และจักรวาลขยายตัวออกอย่าง ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน นักดาราศาสตร์คานวณว่าจักรวาลว่าประกอบไปด้วยกาแลกซีประมาณ ๑ ล้านล้านกาแลกซี และแต่ ละกาแลกซีมีดาวฤกษ์อย่างเช่นดวงอาทิตย์อยู่ประมาณ ๑ ล้านล้านดวง และสุริยจักรวาลของเราอยู่ปลายขอบ ของกาแลกซีที่เรียกว่า “ทางช้างเผือก” (Milky Galaxy) และกาแลกซีทางช้างเผือกก็อยู่ปลายขอบของ จักรวาลใหญ่ทั้งหมด เราจึงมิได้เป็นศูนย์กลางของจักรวาลเลย ไม่ว่าจะในความหมายใด
  • 3. ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ดาวเทียม “โคบี” (COBE) ขององค์การนาซ่าแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งถูกส่งขึ้นไปเพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ของจักรวาลโดยเฉพาะ ได้ค้นพบรังสีโบราณ ซึ่งบ่งบอกถึงโครงสร้างของจักรวาลขณะเมื่อจักรวาลมีอายุเพียง ๓๐๐,๐๐๐ ปี นับเป็นการค้นพบครั้งสาคัญที่ยืนยันว่า จักรวาลกาเนิด ขึ้นมาจากจุดเริ่มต้นของการระเบิด และคลี่คลายตัวตามคาอธิบายในทฤษฎี “บิกแบง” จริง เมื่อได้ทฤษฎีการกาเนิดจักรวาลแล้ว นักดาราศาสตร์ก็สนใจว่า จักรวาลจะสิ้นสุดลงอย่างไร มีทฤษฎีที่อธิบายเรื่องนี้อยู่ ๓ ทฤษฎี ทฤษฎีแรก กล่าวว่า เมื่อแรงระเบิดสิ้นสุดลง มวลอันมหึมาของกาแลกซีต่างๆ จะดึงดูดซึ่งกัน และกัน ทาให้จักรวาลหดตัวกลับจนกระทั่งถึงกาลอวสาน ทฤษฎีที่สอง อธิบายว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราช้า ๆ จึงเชื่อว่าน่าจะมี “มวลดา”(dark matter) ที่เรายังไม่รู้จักปริมาณมหึมาคอยยึดโยงจักรวาลไว้ จักรวาลจะขยายตัวไปเรื่อยๆ จนยากแก่การสืบค้น ส่วนสตีเฟ่น ฮอว์กกิ้ง (Stephen Hawking) ได้เสนอทฤษฎีที่สามว่า จักรวาลจะขยายตัวในอัตราความเร็วที่เพิ่มขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทฤษฎีบิกแบงนั้นได้รับการเชื่อมต่อด้วยทฤษฎี วิวัฒนาการ (Evolution Theory) ของชาร์ล ดาร์วิน (Charles Darwin) เมื่อโลกเย็นตัวลงนั้น ปฏิกิริยาเคมีจากมวลสารในโลกในที่สุดแล้วก่อให้เกิด ไอน้า และไอน้าก่อให้เกิดเมฆ และเมฆตกลงมาเป็นฝน ทาให้เกิดแม่น้า ลาธาร ทะเล และมหาสมุทร วิวัฒนาการนี้มีลักษณะแบบ “ก้าวกระโดด” (Emergent Evolution) เมื่อมีสารอนินทรีย์และน้าปริมาณมหาศาลเป็นเวลาที่ยาวนาน ในที่สุดคุณภาพใหม่คือ “ชีวิต” ก็เกิดขึ้น คาว่า บิกแบง ที่จริงเป็น คาล้อเลียนที่เกิดจาก นักดาราศาสตร์ ชื่อ เฟรดฮอยล์ ซึ่งเขาดูหมิ่นและตั้งใจจะทาลายความน่าเชื่อถือของทฤษฎีที่เขาเห็นว่าไม่มีทางเป็นจริงอย่างไรก็ดี การ ค้นพบ ไมโครเวฟพื้นหลัง ในปี ค.ศ. 1964 ยิ่งทาให้ไม่สามารถปฏิเสธทฤษฎีบิกแบงได้ มีหลักฐานสาคัญพิสูจน์ความถูกต้องของทฤษฎีการเกิดของเอกภพตาม ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ประการหนึ่ง คือ ในปี ค.ศ. 1965 นักวิทยาศาสตร์ที่ บริษัท เบลล์ แลบอรอทอรี่ สหรัฐ ได้ยินเสียบรบกวนของคลื่นวิทยุดัง มากจาก รอบทิศบนท้องฟ้ า นักวิทยาศาสตร์ได้คานวณได้แล้วว่า ถ้าหากเอกภพมีจุดกาเนิด จากปฐมดวงไฟในจักรวาลเมื่อประมาณ 1.1 x 1010- 1.8x1010 ปีมาแล้ว ตาม ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ของจักรวาลพลังงานที่ยังหลงเหลืออยู่ในการระเบิด ครั้งใหญ่จะต้องค้นหาพบได้ในปัจจุบัน และจะมี อุณหภูมิประมาณ 3 องศาเหนือ ศูนย์องศาสมบูรณ์ เนื่องจากพลังงานจะแผ่ออกมาเป็นไมโครเวฟ มีความยาวคลื่น น้อยกว่า 1 ม.ม. ผลจากการได้ยินเสียงคลื่น ไม่โครเวฟดังมากจากรอบทิศทางบน ท้องฟ้ าดังกล่าว เมื่อนักวิทยาศาสตร์ทาการวัดอย่างระมัดระวังทาให้นักวิทยาศาสตร์ แน่ใจว่า การแพร่ของคลื่นไมโครเวฟ บนท้องฟ้ าทั่วทิศทาง คือ ส่วนที่หลงเหลือ จากการระเบิดครั้งใหญ่ของจักรวาล
  • 6. ขณะเกิดบิกแบง มีเนื้อสารเกิดขึ้นในรูป ของอนุภาคพื้นฐานชื่อ ควาร์ก (Quark) อิเล็กตรอน (Electron) นิวทริโน (Neutrino) และโฟตอน (Photon) ซึ่งเป็นพลังงานด้วย เมื่อ เกิดอนุภาคก็จะเกิดปฏิอนุภาค (Anti- particle) ที่มีประจุไฟฟ้ าตรงข้าม ยกเว้นนิวทริโนและแอนตินิวทริโน ไม่มี ประจุไฟฟ้ า เมื่อปฏิอนุภาคพบกับ อนุภาคชนิดเดียวกันจะหลอมรวมกัน เนื้อสารเปลี่ยนไปเป็นพลังงานจนหมด สิ้น
  • 7. ปรากฏการณ์ที่สนับสนุนทฤษฎี BIG BANG 1. กำรขยำยตัวของเอกภพ ฮับเบิล เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน ที่ค้นพบว่า กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไปด้วยความเร็วที่ เพิ่มขึ้นตามระยะห่าง กาแล็กซีที่อยู่ไกล ยิ่งเคลื่อนที่ ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้ นั่นคือเอกภพ ขยายตัว จากความเข้าใจในเรื่องนี้ทาให้นักดารา ศาสตร์สามารถคานวณอายุของเอกภพได้
  • 8. ปรำกฏกำรณ์ที่สนับสนุนทฤษฎี BIG BANG 2. อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน การค้นพบอุณหภูมิของเอกภพในปัจจุบันหรืออุณหภูมิพื้นหลัง เป็นการค้นพบโดยบังเอิญ ของนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 2 คน คือ อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน แห่ง ห้องปฏิบัติการเบลเทเลโฟน เมื่อปี พ.ศ.2508 ขณะนั้น อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน กาลังทดสอบระบบเครื่องรับ สัญญาณของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ปรากฏว่ามีสัญญาณรบกวนตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็ น กลางวันหรือกลางคืน หรือฤดูต่าง ๆ แม้เปลี่ยนทิศทางและทาความสะอาดสายอากาศแล้วก็ ยังมีสัญญาณรบกวนอยู่เช่นเดิม ต่อมาทราบภายหลังว่าเป็นสัญญาณที่เหลืออยู่ในอวกาศ เทียบได้ กับพลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุดาที่มีอุณหภูมิประมาณ 3 เคลวิน หรือประมาณ -270 องศาเซลเซียส อาร์โน เพนเซียส โรเบิร์ต วิลสัน
  • 12. ภำยหลังกำรเกิด BIG BANG ขณะที่เอกภพขยายตัวภายหลังเกิดบิกแบงสสารก็เคลื่อนที่ไปทุกทิศทาง แรงโน้มถ่วงเริ่มทางาน แรงโน้มถ่วง คือ สิ่งที่ควบคุมเอกภพ เป็นแรงดึงวัตถุเข้าหากัน เราเรียกแรงดึงดูด เช่นนี้ว่า แรงโน้มถ่วง วัตถุที่มีมวลสารมาก จะมีแรงโน้มถ่วงสูง แรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุอย่างอยู่ด้วยกัน ดังนั้นเมื่อเอกภพมีอายุเพียง 1 ล้านปี สสารในรูป ของไฮโดรเจนและฮีเลียมก็เริ่มยึดเหนี่ยวกันเป็นก้อน เรียกว่า กาแล็กซีที่ยังไม่คลอด(protogalaxy) นี่คือ จุดเริ่มต้นของการเกิดกาแล็กซีต่อไป ก้อนก๊าซขนาดเล็กที่อยู่ภายในกลายเป็นดาวฤกษ์ กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดก็ เหมือนกระจุดดาวฤกษ์ขนาดมหิมาหรือกาแล็กซีแคระ อยู่กันเป็นกลุ่มและเป็นโครงสร้างหลักของกาแล็กซี กาแล็กซีที่ยังไม่คลอดทั้งหลายถูกยึดเหนี่ยวเข้าด้วยกัน ด้วยแรงโน้มถ่วงจึงเกิดการรวมกันเป็นกาแล็กซีใน ช่วงแรกจะมีขนาดเล็กและมีรูปร่างแปลก ในที่สุดกาแล็กซีที่ยังไม่คลอดหลายแห่งก็รวมกันกลายเป็นกาแล็กซี แบบสไปรัสหรือรูปไข่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่มันยังไม่สิ้นสุดแค่นี้ภายในกาแล็กซีต่าง ๆ ยังมีดาวฤกษ์เกิด ขึ้นอยู่เรื่อย ๆ ตัวกาแล็กซีเองก็อาจชนกันหรือรวมกัน ทุกวันนี้ภายในกาแล็กซีทางช้างแผือกยังมีดาวฤกษ์ จานวนมากกาลังเกิดใหม่และกาลังดึงกาแล็กซีเล็กๆข้างเคียงเข้ามา
  • 13. ทำไมกำเนิดของเอกภพจึงเป็น BIG BANG (กำรระเบิดขนำดใหญ่) ถ้าเอกภพกาลังขยายตัวก็แสดงว่าถ้าเราย้อนเวลากลับไปใน อดีต เอกภพก็ต้องมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ ยิ่งย้อนเวลามากก็ยิ่ง เล็กลง แล้วเมื่อเล็ก ลงอย่างที่สุดจะเกิดอะไรขึ้น เอกภพจะ ลดลงจนสลายไปหรือหวังว่าจะมีจุดหนึ่งที่เอกภพกาเนิด ไม่ว่า จะเป็นกรณีใดจะเห็นว่าเราจะต้องเกี่ยวข้องกับ การเริ่มของเอก ภพทั้งนั้น ผู้แรกที่เริ่มศึกษาปัญหาเหล่านี้อย่างจริงจังคือนัก ฟิสิกส์ซึ่งเกิดที่รัสเซียชื่อ กามอฟ แต่ภายหลังอพยพไปอยู่ อเมริกาในช่วง ปี 1948 ที่จริงกามอฟไม่ได้ตั้งใจที่จะคิดค้น เกี่ยวกับการเริ่มของเอกภพตั้งแต่ตอนแรก แต่ระหว่างที่เขา กาลังคิดค้นเกี่ยวกับการเกิดของธาตุ เขาก็ได้ บรรลุถึงข้อ สรุปว่า เอกภพจะต้องเกิดขึ้นด้วย BIG BANG
  • 15. คำถำม ทฤษฎี BIG BANG 10 ข้อ 1. ทฤษฎีบิ๊กแบง คืออะไร ตอบ เป็นทฤษฎีทางดาราศาสตร์ที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของจักรวาล ปัจจุบันเป็นทฤษฎีที่เป็นที่เชื่อถือและ ยอมรับมากที่สุด 2. จักรวำลกำเนิดขึ้นเมื่อประมำณกี่ปี ตอบ ๑๕,๐๐๐ ล้านปีที่แล้ว 3. จักรวำลกำเนิดขึ้นได้อย่ำงไร ตอบ จักรวาลกาเนิดมาจากจุดเริ่มต้นของการระเบิด และคลี่คลายตัวตามคาอธิบายในทฤษฎี “บิกแบง” 4. เหตุกำรณ์ที่ทำให้เกิดบิกแบงมีอะไรบ้ำง ตอบ 1.ควอซาร์ 2.ซุปเปอร์โนวา 3.ดาวนิวตรอน 4.เนบิวลา 5.หลุมดา 5. แรงโน้มถ่วงทำหน้ำที่อย่ำงไร ภำยหลังจำกกำรเกิดบิกแบง ภายหลังเกิดบิกแบงสสารก็เคลื่อนที่ไปทุกทิศทาง แรงโน้มถ่วงเริ่มทางาน แรงโน้มถ่วง คือ สิ่งที่ควบคุมเอกภพ เป็นแรงดึง วัตถุเข้าหากัน เราเรียกแรงดึงดูด เช่นนี้ว่า แรงโน้มถ่วง วัตถุที่มีมวลสารมากจะมีแรงโน้มถ่วงสูง แรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุทุก อย่างอยู่ด้วยกัน
  • 16. 6. จุดเริ่มต้นของกำรเกิดกำแล็กซีคือ ตอบ สสารในรูปของไฮโดรเจนและฮีเลียม เริ่มยึดเหนี่ยวกันเป็นก้อน เรียกว่า กาแล็กซีที่ยังไม่คลอด (protogalaxy) 7. ผู้แรกที่เริ่มศึกษำกำรเริ่มต้น ของเอกภพ คือใคร ตอบ นักฟิสิกส์ซึ่งเกิดที่รัสเซียชื่อ กามอฟ แต่ภายหลังอพยพไปอยู่อเมริกาในช่วง ปี 1948 8. กำแล็กซี ในปัจจุบัน เป็นแบบใหน ตอบ เป็นกาแล็กซีแบบสไปรัสหรือรูปไข่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 9. ปรำกฏกำร์ณ์ที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงมีอะไรบ้ำง ตอบ การขยายตัวของเอกภพ และอุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ