SlideShare a Scribd company logo
เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555
39
Autosomal dominant polycystic kidney disease
(ADPKD) เปนสาเหตุ​ที่​พบ​บอย​ของ​โรคไต​เรื้อรัง​ที่​มี​การ​ถายทอด​
ทาง​พันธุกรรม​โดย​มีความผิด​ปกติ​ใน​ระดับ​ยีน โมเลกุล และ​กลไก​
ระหวาง​เซลล ทำ�ใหเกิด​ถุง​น้ำ�​ภายในไต ซึ่ง​มี​ความ​นาสนใจ​คือ การ​
เกิด​พยาธิ​สภาพ​นอกจาก​ถุง​น้ำ�​ภายในไต​แลว​ยัง​สามารถ​เกิด​ถุง​น้ำ�​
ได​ใน​อวัยวะ​อื่นๆ ดวย เชน เยื่อหุม​สมอง ตับ ตับออน หัวใจ และ​
หลอดเลือด อีกทั้ง​ยัง​พบ​รวมกับ​ความ​ผิด​ปกติ​อื่นๆ เชน เสนเลือด​ใน​
สมอง​โปง​พอง mitral valve prolapsed, aortic root dilatation
และ abdominal wall hernias
อุบัติ​การณ
ADPKD มี​อุบัติ​การณ​ประมาณ 1 ราย​ใน​ประชากร​ทุกๆ 1,000
คน ของ​ประชากร​ทั่วโลก เปน​โรค​ที่​เปนสาเหตุ​ของไต​เรื้อรัง​ระยะ​
สุดทาย​ได​บอย​โรค​หนึ่ง​คือ พบ​ประมาณ​รอยละ 8-10 ของ​ผูปวย
ไต​เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย โดย​พบ​เพศชาย​มากกวา​เพศหญิง​เปน​อัตรา
สวน 1.2-1.3 ตอ 1 และ​เมื่อ​เทียบ​ใน​อายุ​เดียวกัน เพศชาย​มี​ความ​
รุนแรง​ของ​โรค​มากกวา​เพศหญิง1
พยาธิ​กำ�เนิด​โรค
ความ​ผิด​ปกติ​ใน​ระดับ​ยีน
ADPKD มี​การ​ถายทอด​ทาง​พันธุกรรม​แบบ autosomal
dominant trait with compenetrance โดย​ใน​ปจจุบัน​คนพบ​
ยีน​ที่​เกี่ยวของ​กับ​การ​เกิด ADPKD อยาง​นอย 3 ยีน คือ
1.	 ยีน polycystic kidney disease 1 (PKD 1) พบ​อยู​บน​
แขน​ขาง​สั้น (short arm) ของ​โครโมโซม​ที่ 16p13.3 และ​
เปน​ยีน​ที่​เปนสาเหตุ​ของ​โรค​ถึง​รอยละ 80
2.	 ยีน polycystic kidney disease 2 (PKD 2) พบ​อยู​
บน​แขน​ขาง​ยาว (long arm) ของ​โครโมโซม​ที่ 4q21 เปน
สาเหตุ​ของ​โรค​ประมาณ​รอยละ 15
3.	 ยีน polycystic kidney disease 3 (PKD 3) ปจจุบัน​
ยัง​ไม​ทราบ​ตำ�แหนงที่​แนนอน
Polycystin 1 เปน membrane proteins ประกอบดวย
amino acids 4,302 ตัว มี​น้ำ�หนัก 460 kDa แบง​เปน​สวน long
N-terminal portion อยู​ภายนอก​เซลล 11 transmembrane
domains และ short C-terminal portion อยู​ภายใน​เซลล สวน
extracellular portion ประกอบดวย​โปรตีน​ชนิด​ตางๆ คือ leucine
rich repeat (LRR), C-lectin, low density lipoprotein (LDL)
cysteine-rich repeat, receptor for Egg Jelly (REJ) domain,
polycystin1(PC1) พบ​ไดที่ primary cilia, cytoplasmic vesicles,
desmosome, adherens junctions, plasma membrane บริเวณ
focal adhesions, endoplasmic reticulum และ nuclei2
Polycystin 2 มี 6 transmembranous domain มี​ลักษณะ​
คลาย Ca voltage activate channel, Na voltage activated
channel, polycystin 1 และ transient receptor potential
(TRP) channel subunit, polycystin 2 พบ​ไดที่ endoplasmic
reticulum, basolateral plasma membranes, lamellopodia,
primary cilia และ mitotic spindles3
จาก​การ​ศึกษา​ใน​หอง
ทดลอง พบ​วา polycystin 1 ทำ�งาน​รวมกับ polycystin 2 ผาน​
ทาง​ตำ�แหนง coiled-coil domain ที่ C-terminal region
ความ​ผิด​ปกติ​ของ polycystin 1 และ 2 complex ทำ�ให​
แคลเซียม​ภายนอก​เซลล​ไม​สามารถ​เขาสู​ภายใน​เซลล​ได โดย​ภาวะ​
ปกติ polycystin 2 จะ​กระตุน store-operated Ca2+
channel
(SOC) ทำ�ให​แคลเซียม​เขาสู​เซลล สวน polycystin 1 จะ​กระตุน
sarcoplasmic/endoplasmic reticulum Ca2+
ATPase (SERCA)
ใน​การนำ�​แคลเซียม​ไป​เก็บ​ไว​ที่ endoplasmic reticulum (ER)
สภาวะปกติ​เมื่อ​มี​ปสสาวะ​ไหลผาน​มา​ทำ�ใหเกิด​การ bending
ของ cilia ดาน apical ของ tubular epithelial cell5
เปน​เหตุ​
ให​มี​การ​ทำ�งาน​ประสานกัน​ของ TRPP1 (PKD1) และ TRPP2
บทความ​ฟน​วิชา
Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic
Kidney Disease
อาจารี  ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา  ​สถิระ​พจน
หนวยไต กอง​อายุรกรรม โรง​พยาบาลพระ​มงกุฏ​เกลา
อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน
Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012
40
(PKD2) ซึ่ง​ทำ�หนาที่​เปน mechano-sensors หรือ chemo-sensors
ทำ�ใหเกิด​เปน polycystin 1/2 complex ขึ้น​ที่​ผนัง​เซลล ทำ�ให Ca2+
influx เขามา​ภายใน​เซลล​ได6,7
แลว​เกิด​การ switches off the
Wnt/B-catenin pathway ไป​ยับยั้ง disheveled (Dvl) สงผลให
β catenin (β-cat) ถูก​ทำ�ลาย​โดย destruction complex8
ซึ่ง​
ประกอบดวย axin, glycogen synthetase kinase -3β (GSK-
3B) และ adenomatous polyposis coli (APC) protein ทำ�ให
β-cat ไม​สามารถ​จับ​กับ Tcell factor (TCF1) family ได จึง​
ไมมี​การ​กระตุน​การ​แบง​เซลล​เกิดขึ้น แต​ใน​สภาวะ​ที่​มีความผิด​ปกติ​
ของ poycystin 1/2 complex มี​การนำ�​แคลเซียม​เขาสู​เซลล​ลด
ลง จึง​ไม​สามารถ​กระตุน​ให invesin (Inv) ยับยั้ง Dvl สงผลให
β- catenin ไม​ถูก​ทำ�ลาย จึง​จับ​กับ TCF1 family เกิด​การ​แบง​
เซลล​ตาม​มา3,9
การ​เพิ่มขึ้น​ของ​จำ�นวน​เซลล​ที่​ผิด​ปกติ​เปนสาเหตุ​ของ​การ​โต​ของ​
ถุง​น้ำ�​ภายในไต ผาน​ทาง chloride channel และ​การ​กระตุน​ผาน
cystic fibrosis transmembrane conductance regulator
(CFTR) ทำ�ให​มี​การ​หลั่ง​ของ​สาร​น้ำ�​เขาสู ถุง​น้ำ�​ในไต และ​การ​เพิ่ม​
ของ​ระดับ cAMP ก็​มีผลตอ​การ​เพิ่มขึ้น​ของ​จำ�นวน​เซลล​โดย​อธิบาย​
ผาน​กลไก​ดัง​ตอไปนี้
1.	 Polycystin 1 ligand เมื่อ​จับ​กับ receptor กระตุน Gi
protein มี​ผล​ยับยั้ง adenylyl cyclase 6 (AC6) ใน​
ขบวนการ​สราง cAMP ดังนั้น​เมื่อ​มีความผิด​ปกติ​ของ
polycystin 1 ทำ�ให​ระดับ cAMP เพิ่ม​มากขึ้น
2.	 การ​จับ​ของ vasopressin (V2 receptor) กระตุน Gs
protein ให เปลี่ยน ATP เปน cAMP
3.	 การ​ลดลง​ของ​แคลเซียม​ภายใน​เซลล ทำ�ให​ไม​สามารถ​ยับยั้ง
adenylyl cyclase 6 (AC6) และ​ไม​สามารถ​กระตุน​การ​
ทำ�งาน​ของ phosphodiesterase (PDEs) สงผลให ATP
เปลี่ยน​เปน cAMP เพิ่มขึ้น
4.	 การ​ยับยั้ง​การ​ทำ�งาน​ของ PDEs โดย​การ​กระตุน extracellularly
regulated kinase (ERK) และ​การ​ลดลง​ระดับ​แคลเซียม​
ภายใน​เซลล จึง​ไม​สามารถ​ลดปริมาณ cAMP ลง​ได
เซลล​ของ​ทอไต (renal tubular epithelium) มี​คุณสมบัติ​เฉพาะ
คือ​ความ​เปน​ประจุ (polarized) ซึ่ง​ถูก​กำ�หนด​โดย​การ​จัด​เรียงตัว
(organization) ของ​สวนประกอบ​ของ​ผนัง​เซลล​ดาน basolateral
และ apical ที่​ประกอบดวย ion channel, transport protein,
enzyme, matrix receptor และ lipid การ​จัด​เรียงตัว​ที่​เฉพาะ​มี​
ความ​สำ�คัญตอ​การ​ทำ�งาน​ของ​เซลล เมื่อ​การ​จัด​เรียงตัว​ที่​ผิด​ปกติ​
จะ​นำ�ไปสู​การ​ทำ�งาน​ที่​ผิด​ปกติ​ของ​เซลล และ​การ​เกิด​พยาธิ​สภาพ
การ​เรียงตัว​ของ​สวนประกอบ​ตางๆ ใน​ผนัง​เซลล​ถูก​ควบคุม​โดย
cell-cell และ cell-matrix interaction ผาน​ทาง adhesive
molecule คือ integrin และ cadherin โดย​มี​การ​สื่อสาร​กัน​
ระหวาง​เซลล (cell talk) ที่อยู​ใกลเคียง​กัน และ​ระหวาง​เซลล​กับ
extracellular matrix ทำ�ใหเกิด​สัญญาณ​ภายใน​เซลล ผาน​ทาง
cytoskeletal protein และ signal transduction pathway
กลไก​การ​เกิด​โรค
ADPKD เปน​โรค​ที่​มี​ถุง​น้ำ�​เกิดขึ้น​ในไต​ทั้งสอง​ขาง​จำ�นวน​มาก​
ทำ�ใหไต​มี​ขนาดใหญ ถุง​น้ำ�​ที่เกิด​ในไต คือ renal tubule ที่​มี​การ​
ขยาย​ใหญ​ขึ้น ถุง​น้ำ�​ที่​เกิดขึ้น​อาจ​เกิด​ที่ proximal tubule หรือ
distal tubule ก็ได ระยะแรก​ถุง​น้ำ�​ในไต​ยัง​ทำ�งาน​ได ตอมา​เมื่อ​
มี​การ​ขยาย​ขนาด​ถุง​น้ำ�ขึ้น​เรื่อยๆ จน​เบียด​เนื้อไต และ​เกิด​การ​
ทำ�งาน​ของไต​ลดลง​ในที่สุด ซึ่ง ADPKD เปนสาเหตุ​ของ​ภาวะไต​
เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย​ถึง​รอยละ 2-9 สำ�หรับ​พยาธิ​กำ�เนิด​โรค​ยัง​ไม​
เปนที่​ทราบ​แนชัด จาก​หลักฐาน​ใน​ปจจุบัน​สามารถ​สรุป​การ​เกิด​
โรค​จาก 3 กลไก​หลัก คือ
1.	 ความ​ผิด​ปกติ​ของ epithelial cell proliferation
2.	 ความ​ผิด​ปกติ​ของ matrix remodeling
3.	 การ​เปลี่ยนแปลง​ของ Na/K -ATPase ของ renal cyst
epithelial cell
ความ​ผิด​ปกติ​ของ epithelial cell proliferation
การ​เพิ่มจำ�นวน​อยาง​มาก​ของ renal tubular epithelium
รวมกับ​การ​ขยาย​ขนาด​ของ renal tubular epithelium หรือ​เรียก
วา renal tubular hyperplasia รอบๆ จน​กลาย​เปน​ถุง​น้ำ�​ในที่สุด
การ​เกิด​ถุง​น้ำ�​ใน ADPKD เริ่มแรก​ถุง​น้ำ�​ยัง​สามารถ​ติดตอ​กับ tubule
ตอมา​ระยะหลัง​ถุง​น้ำ�​คอยๆ โตขึ้น แลว​แยกออกจาก tubule เปน
isolated cyst ในที่สุด สวน​การ​เกิด​ถุง​น้ำ�​ใน ARPKD จะ​มี​การ​
ขยาย​ขนาด​ของ renal tubular epithelium ใน​สวน collecting
tubule เกิด​เปน​ถุง​น้ำ� แต​จะ​ไม​แยกออกจาก tubule10
ความ​ผิด​ปกติ​ของ matrix remodeling
จาก​การ​ศึกษา​ใน​สัตว​ทดลอง​ที่เกิด​ถุง​น้ำ�​ในไต พบ​วา​มีความ
ผิด​ปกติ​ของ extracellular fluid matrix ซึ่ง​เปน​สวนหนึ่ง​ของ
basement membrane โดย​พบ​ความ​ผิด​ปกติ​ของ​สาร​ที่​เปน​สวน
ประกอบ​ของ basement membrane คือ heparan sulfate
เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555
Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 41
proteoglycan ซึ่ง​คาดวา​มี​บทบาท​สำ�คัญตอ​การ​เกิด​พยาธิ​สภาพ​
ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต และ​สามารถ​พบ​ความ​ผิด​ปกติ​ดังกลาว​กับ​การ​เกิด​
หลอดเลือด​โปง​พอง​ใน​สมอง​ได​เชนกัน11
การ​เปลี่ยนแปลง​ของ Na/K -ATPase ของ renal cyst epithelial
cell
Wilson และ​คณะ แสดงใหเห็น​วา EGFR และ Na-K-ATPase
pumps ซึ่ง​ปกติ​อยู​ทาง​ดาน basolateral membrane ของ​เซลล
renal tubular epithelium ได​เคลื่อน​มา​อยู​ทาง​ดาน luminal
membrane12
เปน​เหตุ​ให​เกิด​การ​กระตุน EGFR และ/หรือ Erb
receptors ที่​ไม​พบ​ใน​ผูใหญ นำ�มาซึ่ง​การ​กระตุน Ras/MAPK
(RAt Sarcoma/mitogen activated protein kinase) signaling
การ​เกิด misslocation ของ Na/K ATPase นี้ ทำ�​ใหการ​ทำ�งาน​
ของ​เซลล renal tubular epithelium ผิด​ปกติ​เกิด​การ​สะสม​ของ​
สาร​น้ำ� และ​โซเดียม​ภายใน​ถุง​น้ำ� แลว​เปน​เหตุ​ให​ถุง​น้ำ�ไต​มี​ขนาด​
โตขึ้น จาก​การ​ศึกษา​ใน​หองทดลอง พบ​วา ความ​ผิด​ปกติ​ของ​การ​
เคลื่อน​ยาย Na/K ATPase pumps ใน​โรค ADPKD เกิด​ใน​
ชวง​พัฒนาการ​ปกติ​ของ​เซลล collecting tubule หรือ​เกิด​จาก​
การ​แบงตัว​ผิด​ปกติ​ของ​เซลล​ถุง​น้ำ�​ได13
นอกจาก Na/K ATPase
แลว spectrin และ ankyrin ซึ่ง​เปน cytoskelatel protein ที่​
ควบคุม​การ​ทำ�งาน​ของ Na/K ATPase ก็​มี​การ​เคลื่อน​ยาย​จาก
basolateral มาสู apical membrane เชนกัน
Two hit hypothesis
จาก​หลักฐาน​ใน​ปจจุบัน​พบ​วา ถุง​น้ำ�​ที่​เกิดขึ้น​ที่ไต​ใน​ผูปวย
ADPKD นั้น มาจาก​เพียง​รอยละ1-2 ของ nephron ทั้งหมด​เทา
นั้น แสดงใหเห็น​วา​ไมใช​ทุก nephron ที่จะ​กลาย​เปน​ถุง​น้ำ�​ได ดังนั้น​
จึง​นาจะ​มี​ปจจัย​บางประการ​ที่​ทำ�ให nephron บาง​หนวย​กลาย​เปน​ถุง​
น้ำ� ขอ​สังเกต​นี้​ไดรับ​การ​พิสูจน​โดย Qian และ​คณะ พบ​เซลล renal
tubular epithelium ลอม​ถุง​น้ำ�​มี​ลักษณะ monoclonality และ
DNA ของ​ถุง​น้ำ�​เหลานี้ มีความผิด​ปกติ (mutation) 2 ประการ คือ1
1.	 Germ line mutation เปน mutation ที่​ถายทอด​ทาง​
พันธุกรรม​จาก​บิดา มารดา DNA จาก​ถุง​น้ำ�​แตละ​อัน​มี
ความผิด​ปกติ แต​อาศัย​เพียง germ line mutation ไม​
เพียง​พอที่จะ​เกิด​ถุง​น้ำ�​ได จะ​ตอง​มี second hit
2.	 Somatic mutation (point mutation) เปน mutation
ของ wild type gene ที่เกิด​บน chromosome อีก​ขาง​
ที่​ปกติ โดย​ความ​ผิด​ปกติ​ที่​เกิดขึ้น​อาจ​เปน non sense
mutation, miss-sense mutation, deletion ไป​ทั้ง PKD1
gene ทำ�ใหเกิด​สิ่ง​ที่​เรียกวา “loss of heterozygosity”
ปกติ การ​ทำ� typing ของ PKD1 gene พบ​วา DNA มี 2
alleles กรณี​นี้​จะ​พบ​วา​มี​เพียง allele เพียง​ชุด​เดียว เรียก
วา มี loss of heterozygosity
พยาธิ​สภาพไต
ไต​มี​ขนาดใหญ พบ​มี​ถุง​น้ำ�​ขนาด​แตก​ตางๆ กัน ทั้ง​ใน​บริเวณ
cortex และ medulla ของไต และ​จาก​ลักษณะ​ทาง​กลอง​จุลทรรศน​
พบ​วา ถุง​น้ำ�​แตละ​อัน มี​ผนัง​บาง​เปน simple cuboidal epithelium
เรียงตัว​เปน​ชั้นเดียว
อาการ​และ​อาการ​แสดง​ทางไต
อาการ​ปวด​เปน​อาการ​ที่​พบ​บอย และ​เปน​สิ่ง​ที่​นำ�​ผูปวย​มา​พบ​
แพทย โดย​มักจะ​มา​ดวย​อาการ​ปวดทอง ปวด​เอว​แบบ colicky
pain และ​มี​ปสสาวะ​เปน​เลือด​รวมดวย
Hematuria
ผูปวย​สวนใหญ​มา​ดวย​ปสสาวะ​เปน​เลือด พบ​ได​ประมาณ​รอยละ
35-50 มัก​เกิด​ตามหลัง​การ​ติดเชื้อ​ทาง​เดิน​ปสสาวะ มี​สาเหตุ​มาจาก​
การ​แตก​ของ​ถุง​น้ำ�​เขาไป​ใน collecting system ภาวะ​เลือดออก​ใน​
ถุง​น้ำ� นิ่ว​ในไต สวนใหญ​เกิด​ขึ้นกับ​ผูปวย​ที่​มี​ถุง​น้ำ�​ขนาดใหญ​กวา
15 เซนติเมตร และ​มี​ภาวะ​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​รวมดวย ถา​มี​อาการ​
กอน​อายุ 30 ป จะ​มี​การ​พยากรณ​โรค​ไมดี ผูปวย​ที่​มี​ปสสาวะ​เปน​
เลือด​เปนๆ หายๆ เปน​ระยะเวลา​นาน ควร​วินิจฉัย​แยก​โรค​จาก​โรค
ไต​กลุม​อื่นๆ เชน IgA nephropathy มะเร็ง​ของไต โดยเฉพาะ​
ผูปวย​ชาย​ที่​มีอายุ​มากกวา 50 ป มะเร็ง​กระเพาะ​ปสสาวะ เปนตน
Concentrating defect
ผูปวย ADPKD จำ�นวน​หนึ่ง​มีความผิด​ปกติ​เข​องไต​ใน​การ​
ทำ�ให​ปสสาวะ​เขมขน (concentrating defect) จาก​การ​ศึกษา​
ผูปวย ADPKD 177 ราย​ที่​มี​การ​ทำ�งานไต​ปกติ พบ​วา​หลัง​การ​ทำ�
overnight water deprivation ผูปวย​ไม​สามารถ​ทำ�ให​ปสสาวะ​
เขมขน​ได โดยเฉพาะ​ใน​กลุม​ผูปวย​สูงอายุ ผูปวย​ที่​มี​โรคประจำ�ตัว​
จาก tubulointerstitial disease มี​การ​ผิด​ปกติ​ของ​โครงสราง​
ของ tubule และ principal cell จึง​ทำ�ให​สูญเสีย​ความ​สามารถ​
ใน​การ​ทำ�ให​ปสสาวะ​เขม​ขึ้น
Proteinuria
ผูปวย ADPKD สวนใหญ​มี​ระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​เฉลี่ย 260
มิลลิกรัม/วัน15
สวนนอย​ที่จะ​มี​ระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​มากกวา 300
มิลลิกรัม/วัน อยางไร​ก็ตาม​ผูปวย​บางราย​ที่​มีไต​เสื่อ​มมาก​อาจ​มี​
อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน
Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012
42
โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​ได​มาก​ถึง​เฉลี่ย 900 มิลลิกรัม/วัน โดย​พบ​วา​
ระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​สัมพันธกับ​ภาวะไต​เสื่อม16
มี​รายงาน​ภาวะ
nephrotic syndrome ใน​ผูปวย ADPKD นอยมาก ดังนั้น​หาก​ตรวจ​
พบ​ภาวะ nephrotic syndrome ตองระวัง​โรค​ทาง glomerular
จาก​สาเหตุ​อื่น​รวมดวย​คือ focal glomerulosclerosis เปน​อันดับ
แรก รอง​ลงมา​คือ minimal change disease, membranous
nephropathy, IgA nephropathy และ membranoproliferative
glomerulonephritis17
ยัง​ไมมี​ขอมูล​ชวย​ใน​การ​วินิจฉัย​แยก​โรค​วา​
ผูปวย​เปน primary หรือ secondary focal glomerulosclerosis
ภาวะ​หลัง​พบ​ได​นอย​ใน​ผูปวย ADPKD
Hypertension
สาเหตุ​การ​เกิด​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​ใน​ผูปวย ADPKD สันนิษฐาน​
วา เกิด​จาก​ถุง​น้ำ�​ไป​เบียด​เนื้อไต​ที่​ปกติ ทำ�ใหเกิด​ภาวะ​ขาด​เลือด
เกิด​การ​กระตุน renin angiotensin system ซึ่ง angiotensin II
เปน​ตัวกระตุน​ให​มี​การ​เพิ่ม​ของ vascular tone และ​การ​เพิ่ม​ของ
aldosterone ทำ�ให​มี​การ​เก็บ​โซเดียม​กลับ​คืน​สู​รางกาย​ทำ�ใหเกิด​
ความ​ดัน​โลหิต​สูง​ตาม​มา
จาก​การ​ศึกษา​ของ Gabow และ​คณะ​พบ​วา มี​ความ​สัมพันธกัน​
ระหวาง​ปริมาณ​และ​ขนาด​ของ​ถุง​น้ำ�​กับ​อัตรา​การ​เกิด​ความ​ดัน​โลหิต​
สูง16
และ​ผูปวย ADPKD ประมาณ​รอยละ 60 มี​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​
รวมดวย โดย​ที่​การ​ทำ�งาน​ของไต​ยังคง​ปกติ พบ​เพียง​ครึ่ง​หนึ่ง​ของ​
ผูปวย​เทานั้น​ที่​ไดรับ​การ​รักษา​ดวย​ยา​ลด​ความ​ดัน​โลหิต15
Extrarenal manifestations
Cerebral aneurysms
การ​แตก​ของ cerebral aneurysm สงผลให​เกิด subarachnoid
หรือ intracerebral hemorrhage ซึ่ง​เปน​ภาวะ​แทรกซอน​ที่​รุนแรง​
ของ ADPKD ถา​พบ​มี​การ​แตก​ของ aneurysm แลว จะ​มี​อัตรา​
การ​เสียชีวิต และ​ทุพพลภาพ​สูง​ถึง​รอยละ 48 พบ​อุบัติ​การณ​การ​
เกิด aneurysm รอยละ 4 ใน​ผูปวย​อายุ​นอย และ​อุบัติ​การณ​จะ​
เพิ่มขึ้น​ตาม​อายุ​เปน​รอยละ 10 ใน​ผูปวย​สูงอายุ3,18-21
ผูปวย​สวน
ใหญ​ไมมี​อาการ​ผิด​ปกติ22
ผูปวย ADPKD ที่​มี cerebral aneurysm ประมาณ​ครึ่ง​หนึ่ง​
มี​คา​การ​ทำ�งาน​ของไต​ปกติ สวนใหญ​เกิด​กับ middle cerebral
artery และ​ใน​ผูปวย​บางราย​อาจ​เกิด​การ​โปง​พอง​ของ​เสนเลือด​
ได​ห​ลายเสน
การ​แตก​ของ cerebral aneurysm มัก​พบ​บอย​ใน​ผูปวย​ที่​มีอายุ​
นอยกวา 50 ป ผูปวย​ที่​ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​ไมดี ผูปวย​ที่​มี​
ประวัติ subarachnoid hemorrhage ใน​ครอบครัว cerebral
aneurysm บริเวณ anterior circulation ที่​มี​ขนาด​มากกวา 7
มิลลิเมตร หรือ aneurysm บริเวณ posterior circulation เปนก
ลุม​ที่​มี​ปจจัย​เสี่ยง​ตอ​การ​แตก​ของ cerebral aneurysm อัตรา​
การ​แตก​ของ cerebral aneurysm ใน​ระยะเวลา 5 ป สูงกวา
หรือ​เทากับ​ความ​เสี่ยง​ตอ​การ​ผาตัด​หลอดเลือด​ใน​สมอง3,2,6,21,23
อธิบายความ​ผิด​ปกติ​ของ​หลอดเลือด​วา​เกิด​จาก​การ​มี mutation
ของ PKD1 หรือ PKD2 เปน​เหตุ​ให​มี​การ proliferation และ
apoptosis ของ vascular smooth muscle cell และ​เมื่อ​มี​ความ​
ดัน​โลหิต​สูง​รวมดวย ทำ�ใหเกิด​ความ​ผิด​ปกติ​ได​งาย​ขึ้น ดังนั้น​เปน​ที่
ยอมรับ​กัน​วา​ถา cerebral aneurysm ขนาด​นอยกวา 5 มิลลิเมตร
แนะนำ�​ให​เฝาติดตาม​อาการ​ของ​ผูปวย​เปนระยะ ถา​ขนาด​มากกวา
10 มิลลิเมตร หรือ​มี​อาการ​ทาง​ระบบประสาท หรือ​เคย​มี​ประวัติการ​
แตก​ของ cerebral aneurysm มา​กอน​แนะนำ�​ให​ทำ�การ​ผาตัด​ดวย​
การ clipped aneurysm สวน cerebral aneurysm ที่​มี​ขนาด
6-9 มิลลิเมตร พิจารณา​ใหการ​รักษา​เปนรายๆ ไป
Hepatic cysts
Hepatic cysts สวนใหญ​เกิด​ตามหลัง​ถุง​น้ำ�​ในไต​ใน​ผูปวย
ADPKD อุบัติ​การณ​เพิ่มขึ้น​ตาม​อายุ​พบ​รอยละ 10-20 ใน​กลุม​
ผูปวย​อายุ​นอยกวา 30 ป และ พบ​ได รอยละ 50-70 ใน​กลุม​
ผูปวย​อายุ​มากกวา 60 ป24-26
มีการศึกษา​ผูปวย ADPKD 230
ราย​ใน​ชวงอายุ​ระหวาง 15 ถึง 46 ป พบ​วา​มี hepatic cysts ได​
ถึง​รอยละ 8327
สวน​อุบัติ​การณ​การ​เกิด hepatic cyst ไม​แตก
ตางกัน​ระหวาง​เพศ แต​เพศหญิง​มี​โอกาส​เกิด hepatic cyst ใน​
ชวงอายุ​นอยกวา และ hepatic cyst มัก​มี​ขนาด​โตขึ้น​ใน​กลุม​
ผูปวย​หญิง​ตั้งครรภ24,25,27
สันนิษฐาน​วา การ​โต​ของ hepatic cyst
นาจะ​เกี่ยวของ​กับ​ระดับ​ฮอรโมน estrogen28
นอกจากนี้​ขนาด​ของ
hepatic cysts เพิ่มขึ้น​แปรผัน​ตาม​ขนาด​ของ renal cyst การ​เกิด
hepatic cysts ใน ADPKD แตกตางจาก autosomal dominant
polycystic liver disease (ADPLD) คือ ADPLD ไม​เกี่ยวของ​
กับ​การ​เกิด​พยาธิ​สภาพ​ทางไต สมอง และ​การ​เกิด mutation ของ​
ยีน​ดังกลาว​ใน ADPKD
Cardiac valvular disease
ผูปวย ADPKD พบ mitral valve prolapsed มาก​ที่สุด​ถึง​
รอยละ 25 และ​มี​รายงาน​ตรวจ​พบ aortic root dilatation สวน
ใหญ​ผูปวย​มี​อาการ​ไม​รุนแรง และ​นอยมาก​ที่​จำ�เปน​ตอง​ทำ� valve
เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555
Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 43
replacement29
การ​ตรวจ echocardiography ไม​จำ�เปน​ตอง​
ทำ�​ใน​ผูปวย​ทุกราย ให​ทำ�​เมื่อ​ตรวจ​รางกาย​สงสัย​วา​จะ​มี cardiac
valvular disease
Colonic diverticulum
ผูปวย ADPKD พบ colonic diverticulum ได​บอย3,8,14,30,31
โดยเฉพาะ​ใน​ผูปวยไต​เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย​ที่​ไดรับ​การ​บำ�บัด​ทดแทน​
ทางไต14
อุบัติ​การณ​ไมได​เพิ่มขึ้น​ใน​กลุม​ผูปวย​ที่​ไมได​เขาสู​ภาวะไต​
เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย30
อาการ​ที่​นำ�​ผูปวย​มา​พบ​แพทย​คือ อาการ​ปวด
ทอง ถาย​เหลว ตรวจ​อุจจาระ​พบ​หลักฐาน​ของ​เลือดออก​ใน​ระบบ​ทาง​
เดิน​อาหาร ภาวะ​แทรกซอน​ที่​สำ�คัญ​คือ colonic perforation มี​
โอกาส​เกิด​สูงกวา​ผูปวย diverticulum ที่​ไมได​เปน ADPKD และ​
โอกาส​เกิด​เพิ่มขึ้น​ตามหลัง​การ​ปลูกถายไต3,14
Abdominal wall และ inguinal hernia
Abdominal wall และ inguinal hernia พบ​รอยละ 45 ใน​
ผูปวย ADPKD มี​อุบัติ​การณ​เกิด​สูงกวา​ผูปวยไต​เรื้อรัง​จาก​สาเหตุ​
อื่น32
โดยเฉพาะ​อยางยิ่ง​ใน​ผูปวย ADPKD ที่​รักษา​ดวย continuous
ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) ยิ่ง​เปน​ปจจัย​เสี่ยง​
ตอ​การ​เกิด indirect inguinal hernia เพิ่มขึ้น31
อาการ​แสดง​นอกไต​อื่นๆ
ผูปวย ADPKD มี​โอกาส​เกิด ovarian cyst 33,34
และ​
การ​เจริญ​พันธุ​ไม​แตกตางจาก​ประชากร​ปกติ อาจ​พบ amotile
spermatozoas และ ectopic pregnancy ได​เพิ่มขึ้น
การ​วินิจฉัย
เกณฑ​ใน​การ​วินิจฉัย ADPKD มี​ดังนี้
1.	 ประวัติ​สมาชิก​ใน​ครอบครัว​จาก​ญาติ​สาย​ตรง​เปน ADPKD
2.	 ตรวจ​พบ​ถุง​น้ำ�​ที่ไต ทั้ง​ใน​สวน cortex และ medulla
การ​วินิจฉัย​อาศัย​การ​ตรวจ​อัลตรา​ซาวดไต​เปน​วิธีการ​ตรวจ​ที่​ดี​
ใน​การ​วินิจฉัย ADPKD การ​ตรวจ​พบ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ตอง​วินิจฉัย​แยก​
โรค​จาก 1) simple renal cyst มัก​พบ​ใน​ผู​ที่​มีอายุ​มากกวา 50
ป ถุง​น้ำ�​มักจะ​กลม และ​มี​ขอบ​เรียบ บางครั้ง​พบ​ได​ใน​ผูปวย​โรคไต​
เรื้อรัง 2) polycystic kidney disease ไดแก ADPKD และ
autosomol recessive polycystic kidney disease (ARPKD)
Von hippel –Lindeu disease เปน​โรค​ทาง​พันธุกรรม โดย​มี
ความผิด​ปกติ​รวม​คือ cerebellar หรือ retinal hemangioblastomas,
pheochromocytoma และ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ตั้งแต​อายุ​นอย สวน
pheochromocytoma มัก​ไมมี​อาการ​ทาง​คลินิก ที่​สำ�คัญ​คือ renal
carcimona พบ​สูง​ถึง​รอยละ 70 ของ​ผูปวย​ที่​อายุ​มากกวา 60 ป
Tuberous sclerosis เปนความ​ผิด​ปกติ​ของ gene 2 ตำ�แหนง
คือ TSC1 (tuberous sclerosis protein 1) เปนความ​ผิด​ปกติ​บน
chromosome 9 และ TSC2 เปนความ​ผิด​ปกติ​บน chromosome
16 ใกล​ตำ�​แนง​ของ PKD1gene35
นอกจาก​ถุง​น้ำ�​ในไต​แลว ยัง​พบ
adenoma sebaceum บริเวณ​ผิวหนัง angiomyolipoma บริเวณ
ไต​หรือ​สมอง โดย​โอกาส​เกิด​มะเร็ง​จาก​พยาธิ​สภาพ​ในไต​นอยมาก
จาก​งานวิจัย​ของ Ravine และ​คณะ ได​รวบรวม​ผล​การ​ตรวจ​
อัลตรา​ซาวด​ใน​ผูปวย​ที่​สงสัย​เปน ADPKD โดย​ตอง​มี​ญาติ​สาย​ตรง
หรือ​บิดา มารดา​เปน​โรค ADPKD ที่​มี mutation ของ​ยีน PKD1
โดย​เกณฑ​การ​วินิจฉัยโรค​ดัง​ตาราง​ที่ 1 (original Ravine’s PKD1
diagnostic criteria)
การ​วินิจฉัย​ดังกลาว กรณี​การ​ตรวจ​ไม​พบ cysts ใน​ผูปวย​อายุ​
นอยกวา 30 ป ไม​สามารถ​ตัด​ภาวะ ADPKD ได ขอดี​ของ​เกณฑ​นี้​
คือ​มี​ความ​จำ�เพาะ​สูง ความ​ไว​ต่ำ� โดยเฉพาะ​ผูปวย​อายุ​นอย และ​
ขอมูล​นี้​ได​จาก​ผูปวย ADPKD ที่​มี mutation ของ PKD1 เปน​
สวนใหญ ดังนั้น​จึง​ยัง​ไม​ชัดเจน​วา​จะ​นำ�มาใช​ใน​ผูปวย ADPKD
ชนิด​ที่สอง​ได​หรือไม รวมทั้ง​กรณี​ไม​ทราบ​ชนิด mutation ที่​เกิด
ขึ้น​ใน​ครอบครัว จึง​ได​ปรับปรุง​เกณฑ​วินิจฉัย​ใหม36
เพื่อ​เพิ่ม​ความ​
จำ�เพาะ และ​สามารถ​นำ�มา​ใชกับ​ผูปวย ADPKD ที่​มี mutation
ของ PKD2 ได โดย​มี​หลักเกณฑ​การ​วินิจฉัยโรค​ดัง​ตาราง​ที่ 2
3.	 DNA study
ปจจุบัน​การ​วินิจฉัยโรค​จาก​การ​ตรวจ​ทาง​ยีน หรือ DNA ใน​
โรค ADPKD แบง​เปน 2 วิธี​หลัก​คือ
3.1	 Indirect analysis (linkage analysis)
ตาราง​ที่ 1 การ​วินิจฉัย ADPKD ตาม Ravine criteria ใน​ผูปวย​ที่​มี​ประวัติ​ครอบครัว ADPKD ที่​มี mutation ของ​ยีน PKD1
อายุ (ปี) จำ�นวน renal cyst
15-29 ≥ 2 cysts ไต​ขางเดียว​หรือ​ไต​ทั้งสอง​ขาง
30-59 ≥ 2 cysts ในไต​แตละ​ขาง
≥ 60 ≥ 4 cysts ในไต​แตละ​ขาง
อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน
Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012
44
เปน​วิธีการ​ตรวจ​โดย​อาศัย indirect evidence ไมได​
เปนการ​ตรวจ​ความ​ผิด​ปกติ​ของ​ยีน (mutation) โดย​ตรง หลัก
การ​คือ ถา​มี DNAs ที่​รู​ตำ�แหนง​แนนอน​อยู​ใกล​กับ PKD1 หรือ
PKD2 gene ที่​ตองการ​ตรวจ ถา marker นั้น​อยู​ใกล​กับ PKD1
มากๆ หรือ​ติดกัน​เลย พบ​วา marker นั้น​ยอม​กระจาย​ไป​กับ PKD1
ทุกๆ ครั้ง​ที่​มี mitosis หรือ meiosis คุณสมบัติ​ที่​สำ�คัญ​ขอ​ที่ 2
ของ marker คือ จะ​ตอง​มี​ลักษณะ polymorphic หมายความวา​
จะ​ตอง​มี variation ใน​ตัว marker เอง ยกตัวอยาง marker ที่​
นิยม​ใช​ใน​ปจจุบัน​คือ microsatellite marker โดย​สวนใหญ​เปน
marker ที่อยู​ใน intron มัก​มี​ลักษณะ repeated dinucleotide
หรือ trinucleotide คือ​มี​ความ​ซ้ำ�ๆ ของ base pair เชน AC
AC AC หรือ ACC ACC ACC โดย​จำ�นวน repeat นั้น จะ​
แตกตาง​ไป​ใน​แตละบุคคล แตละ​เชื้อชาติ เชน บุคคล​หนึ่ง​อาจ​มี
dinucleotide repeats ของ marker A = 2-3 อีก​บุคคล​หนึ่ง​จะ​
มี dinucleotide repeats = 1,4 เรา​อาศัย​คุณสมบัติ​ขอ​นี้​ที่​เรียก
วา polymorphic มา​เปน​เครื่องมือ​ใน​การ​ทำ� linkage analysis
แต​การ​ทำ�​ก็​มี​ขอจำ�กัด​คือ
1.	 จำ�เปน​ตอง​อาศัย​ความ​รวมมือ​ของ​สมาชิก​ตางๆ ใน​
ครอบครัว​ผูปวย โดย​การ​ที่​มี​สมาชิก​มาก​เทาใด การ​ทำ�นาย​ก็​จะ​ยิ่ง​
แมนยำ�
2.	 Close-link markers
การ​เลือก markers ใน​การ​ทำ� linkage analysis จำ�เปน​
ตอง​เลือก markers ที่อยู​กับ​ยีน​นั้น ถา markers ที่​เรา​เลือก​อยู​หาง​
จาก​ยีน​มาก​อาจ​ทำ�ใหเกิด​การ crossing over ของ chromosome
ทำ�ให​มี​การ​ไขว​สลับ​เอา genetic information ของ chromosome
อีก​ขาง​เขามา ทำ�ให DNA markers ไม​กระจาย​ไป​กับ PKD gene
3.	 Informative marker
คือ markers ที่​เลือก​อาจ​ไม polymorphic พอ หรือ
ไม variation เพียงพอ สงผล​ใหการ​ทำ� typing โดย marker ตัว​
นี้​ไมมี​ประโยชน
3.2	Direct mutation detection37
	 ปจจุบัน​ทำ�ได 3 วิธี คือ
3.2.1	 DNA approach
3.2.2	 RNA approach
3.2.3	 Protein approach
ปญหา​คือ​ความ​ลำ�บาก​ใน​การ​ทำ� mutation detection ของ PKD1
ใน​ระดับ DNA เนื่องจาก
A.	Size ขนาด​ของ genomic DNA มี​ขนาด​ใหญมาก
ดังนั้น​การ​ตรวจ​ตอง​อาศัย​เวลา​นาน ใน​การ​ตรวจ​ทีละ
axon ไป​เรื่อยๆ
B.	 Presence of the homologous ถา​ดู​จาก​ลักษณะ
PKD1 gene จะ​พบ sequence ที่​ปลาย 3 end มี​
เฉพาะที่ PKD1 locus เทานั้น สวน sequence ที่​
ปลาย 5 end จะ​มี sequence ที่​มี​ความ​ซ้ำ�​ไม​จำ�เพาะ​
สำ�หรับ PKD1 locus
C.	High cytidine and guanosine (GC rich content)
ทำ�ให​ยาก​ตอ​การ amplification โดย PCR ทั่วๆ ไป
D.	Presence of unusual DNA sequence repeats
Polypytimidine ประกอบดวย cytidine และ thymidine
จำ�นวน​มากๆ ประมาณ​รอยละ 96 ทำ�ใหเกิด​รูปราง​เปน unusual
DNA structure โครงสราง​ดังกลาว​ยาก​ตอ​การ amplify sequence
ขาม intron นี้​ไป​ได
สวน​ขอจำ�กัด​ของ​การ​ทำ� mutation detection อื่นๆ คือ คา​
ใชจาย​สูง ใช​ระยะเวลา​นาน​ใน​การ​ตรวจ และ​ขั้นตอน​การ​ตรวจ​มี​
ความ​ยุงยาก ดังนั้น mutation detection จึง​ไมเหมาะ​ใน​การ​
ตรวจ​คัด​กรอง​ผูปวย ADPKD จึง​แนะ​นำ�สง​ตรวจ​ดวย​วิธี linkage
analysis มากกวา
การ​รักษา38
ปจจุบัน​ยัง​ไมมี​การ​รักษา​เฉพาะที่​ไดผล​ใน​ผูปวย ADPKD แพทย​
ตาราง​ที่ 2 การ​วินิจฉัย ADPKD ใน​ผูปวย​ที่​มี​ประวัติ​ครอบครัว ADPKD
อายุ (ปี) จำ�นวน renal cyst PPV ความไว ความจำ�เพาะ
15-39 ≥ 3 cysts ​ไต​ขางเดียว​หรือ​ไต​ทั้งสอง​ขาง 100 100 82-96
40-59 ≥ 2 cysts ในไต​แตละ​ขาง 100 90 100
≥ 60 ≥ 4 cysts ในไต​แตละ​ขาง 100 100 100
PPV: positive predictive value
เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555
Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 45
ควร​ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต และ​ตรวจหา​ภาวะ​แทรกซอน​ตางๆ ที่​
สำ�คัญ รวมทั้ง​การ​ใหคำ�ปรึกษา​แนะ​นำ�ทาง​ดาน​พันธุศาสตร (genetic
counseling) และ​คำ�​แนะนำ�​เกี่ยวกับ​การ​ออกกำ�ลังกาย เพื่อ​หลีก
เลี่ยง​ภาวะ​แทรกซอน​จาก​ถุง​น้ำ�​ในไต​แตก​ได
1.	 การ​เพิ่ม​ปริมาณ​น้ำ�ดื่ม แนะนำ�​ผูปวย​ควร​ดื่ม​น้ำ�​ให​เพียงพอ
มากกวา 3 ลิตร​ตอ​วัน กรณี​ผูปวย​มี​การ​ทำ�งาน​ของไต​นอยกวา 15
มล./นาที ตอ 1.73 ตารางเมตร ควร​ลดปริมาณ​น้ำ�ดื่ม​ลง เชื่อ​วา
การ​ดื่ม​น้ำ�​ที่​เพียงพอ สามารถ​ลดระดับ vasopressin ใน​เลือด มี
ผลตอ​การ​ลด​อัตรา​การ​โต​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต และ​การ​เกิด​นิ่ว​ในไต​ได
2.	 การ​ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต ระยะแรก​ที่ไต​ทำ�งาน​ปกติ​สามารถ​
ใช​ยา​ลด​ความ​ดัน​โลหิต​ได​เหมือนกับ​การ​รักษา​ผูปวย​ความ​ดัน​โลหิต​
สูง​ทั่วไป โดย JNC 7 และ KDOQI แนะนำ�​ควบคุม​ระดับ​ความ​ดัน​
โลหิต​ต่ำ�กวา 130/80 มม.ปรอท โดย​เลือก​ใช​ยา​กลุม angiotensin
converting enzyme inhibitors (ACEIs) หรือ angiotensin
receptor blocker (ARB) เนื่องจาก​ชวย​ลดระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสา​วะ
และ​ยัง​ชวย​ชะลอ​ความ​เสื่อม​ของไต แต​เมื่อไต​ทำ�งาน​นอยลง ตอง​
ระมัดระวัง​ใน​การ​ใช​ยา39
เมื่อ​การ​ทำ�งาน​ของไต​ลดลง​เกิด​การ​คั่ง​ของ​
โซเดียม​ใน​รางกาย​จึง​ควร​เลือก​ใช​ยา​ขับ​ปสสาวะ​รวมดวย เพื่อ​ชวย​
ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต​ได​งาย​ขึ้น40
3.	 การ​รักษา​อาการ​ปวด อาการ​ปวด​ใน​ผูปวย ADPKD ควร​
หา​สาเหตุ​ทุกราย อาจ​เกิด​จาก​นิ่ว​ในไต การ​ติดเชื้อ​อักเสบ เลือด
ออก​ใน​ถุง​น้ำ� และ​มะเร็ง โดย​ทั่วไป​ยา​ลด​อาการ​ปวด​มัก​ไดผล ยา
แกปวด​ที่​แนะนำ�​ที่​ไมมีผล​เสีย​ตอไต​คือ ยา​กลุม narcotic, tricyclic
antidepressants ถา​ปวด​มาก​โดย​ไมมี​ภาวะ​แทรกซอน​อื่นๆ แนะนำ�​
ให​ทำ�การ​เจาะ​ถุง​น้ำ� โดย​วิธี Rosiving ซึ่ง​เคย​เลิกใช​ไป​ระยะเวลา​
หนึ่ง เพราะ​มี​รายงาน​การ​เกิด​ภาวะไต​วาย​ได ระยะหลัง​มี​ผู​นำ�มาใช​
ใหม และ​ไดผล​ดี​ใน​ผูปวย​บางราย29
วิธี​นี้​ยัง​ไม​เปน​ที่ยอมรับ​โดย​
ทั่วไป สวน​การ​ผาตัดไต​ออก​อาจ​พิจารณา​ใน​ผูปวยไต​เรื้อรัง​ระยะ​
สุดทาย​ที่​รักษา​เบื้องตน​แลว​ไม​ดีขึ้น
4.	 การ​รักษา​ภาวะ​เลือดออก​ใน​ถุง​น้ำ�​ในไต ภาวะ​เลือดออก​
ใน​ถุง​น้ำ�​มัก​เกิด​จาก​ถุง​น้ำ�​แตก​เขาไป​ใน​กรวยไต อาจ​เกิด​จาก​นิ่ว
ภาวะ​ติดเชื้อ หรือ​มะเร็ง​ได หลักการ​รักษา​คือ ให​ผูปวย​นอน​พัก
ให​สาร​น้ำ� และ​ยา​ลด​อาการ​ปวด​อยาง​เพียงพอ กรณี​ผูปวย​อาการ​
รุนแรง และ​สัญญาณ​ชีพ​ไม​คงที่ หรือ​ความ​เขมขน​เลือด​ลดลง ควร​ให​
นอน​รักษาตัว​ใน​โรงพยาบาล และ​อาจ​ตอง​ทำ� segmental arterial
embolization
5.	 การ​รักษา​ภาวะ​ติดเชื้อ​ใน​ถุง​น้ำ�​ในไต ยา​ที่​ควร​เลือก​ใช​ขึ้น
กับ​ชนิด​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต คือ ถุง​น้ำ�​ที่เกิด​จาก proximal tubule
ซึ่ง​เปน​ชนิด non gradient สวน​ถุง​น้ำ�​จาก distal tubule เปน​
ชนิด gradient มี​คุณสมบัติ​ไม​เหมือนกัน41
ยา​ตาน​จุลชีพ​สวนใหญ​
ผาน​ถุง​น้ำ�​ชนิด non gradient ได​ดีกวา สวน​ยา​ที่​ผาน​ถุง​น้ำ�​ชนิด
gradient ได คือ​ยา​ที่​เปน lipid soluble เชน clindamycin,
chloramphenicol, ciprofloxacin, erythromycin, tetracycline
และ sulfa-trimethoprim การ​รักษา​ภาวะ​ติดเชื้อ​ควร​เปนเวลา​อยาง​
นอย 3 สัปดาห ถา​อาการ​ไม​ดีขึ้น​ควร​พิจารณา​ทำ� percutaneous
หรือ surgical drainage ใน​กรณี​ผูปวยไต​เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย​อาจ​
พิจารณา​ผาตัดไต​ออก ถา​อาการ​ไม​ทุเลา22
6.	 การ​รักษา​ภาวะไต​เรื้อรัง การ​รักษา​ภาวะไต​เรื้อรัง​จาก ADPKD
เชน​เดียว​กับ​การ​รักษาไต​เรื้อรัง​จาก​สาเหตุ​อื่นๆ สามารถ​รักษา​ดวย​
วิธีการ​ลางไต​ทาง​หนาทอง ฟอกเลือด​ดวย​เครื่อง​ไตเทียม หรือ การ​
ผาตัด​เปลี่ยนไต พบ​วา​ไดผล​ใกลเคียง​กับ​โรค​อื่นๆ ภาวะ​แทรกซอน
คือ การ​ติดเชื้อ เปนสาเหตุ​การ​เสียชีวิต​อันดับแรก รอง​ลงมา​คือ
โรค​หลอดเลือด​หัวใจ​อุดตัน42
แนวทาง​การ​รักษา​ใหม​ใน​ผูปวย ADPKD
การ​รักษา​ดวย Mammalian target of rapamycin (MTOR)
inhibitor
mTOR มี​ความ​สำ�คัญตอ cell proliferation และ cyst growth
ผูปวย ADPKD มีความผิด​ปกติ​ใน mTOR pathway ดัง​รูป​ที่
1 แสดงใหเห็น​วาการ​กระตุน​ผาน​ทาง growth factors สงผลให
phosphatidyllinositol 3 kinase (PI3K) กระตุน​ให protein
kinase B (Akt) ไป​ยับยั้ง​การ​ทำ�งาน​ของ TSC ทำ�ให​ไม​สามารถ​
ยับยั้ง Ras homology enriched brain (Rheb) จึง​เกิด​การ​กระ
ตุน mTOR pathway ในทาง​ตรงกันขาม​การ​ขาด​พลังงาน​มี​ผล​
ให adenosine monophosphate activated protein kinase
(AMPK) กระตุน​การ​ทำ�งาน​ของ TSC ยับยั้ง mTOR pathway
การ​คนพบ​วา PC1 ปกติ​จะ​ทำ�​ปฏิกิริยา​กับ tuberin และ​การ​ขัด
ขวาง​ปฏิกิริยา​นี้ ทำ�ใหเกิด mTOR activation ใน​ผูปวย ADPKD
การ​ให mTOR inhibition ใน​สัตว​ทดลอง พบ​วา recessive PKD2
ดีขึ้น มี​ขอมูล​แสดงใหเห็น​วา​ขนาด​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ใน​ผูปวย ADPKD
หลัง​ผาตัด​ปลูกถายไต และ​ไดรับ rapamycin ลดลง เมื่อ​เทียบ
กับ​กลุม​ที่​ไม​ไดรับ​ยา43
จาก​รายงาน​ผูปวย ADPKD หลัง​ไดรับ​ยา
rapamycin สามารถ​ลด​ขนาด​ถุง​น้ำ�​ในไต​จาก 1,026 มิลลิลิตร​เหลือ
785 มิลลิลิตร และ​สามารถ​ชะลอ​ความ​เสื่อม​ของไต​ได54
อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน
Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012
46
จาก​การ​ศึกษา SIRENA study เปนการ​เปรียบเทียบ​การ​รักษา​
ผูปวย ADPKD จำ�นวน 21 ราย ที่​มี​คา​อัตรา​การ​กรอง​ของไต​มากกวา
40 มล.ตอ​นาที ตอ 1.73 ตารางเมตร แบง​เปน 2 กลุม​คือ กลุม​
แรก​รักษา​ดวย sirolimus เปน​ระยะเวลา 6 เดือน กับ​กลุม​สอง​
คือ กลุม​ควบคุม พบ​วา อัตรา​การ​เพิ่ม​ของ​ขนาดไต​ชา​ลง​ใน​กลุม​
ที่​ไดรับ sirolimus แตกลับ​พบ albuminuria และ proteinuria
เพิ่ม​มากขึ้น​ใน​กลุม​ที่​ไดรับ​ยา sirolimus ดวย26
จาก​การ​ศึกษา​ของ CRITIQUE มากกวา​ครึ่ง​หนึ่ง​ของ​ผูปวย​
เปน​โรคไต​เรื้อรัง​ระยะ 3-4 และ​จาก​ขอมูล​ของ CRISP (The
consortium for radiologic imaging studies of polycystic
kidney disease) แสดงใหเห็น​วา​ใน​ผูปวย ADPKD ที่​มี​โรคไต​
เรื้อรัง​ระยะ​ทายๆ ถือวา​เปน late phenomenon ดังนั้น​การ​รักษา​
ดวย mTOR inhibitor ใน​ผูปวย​กลุม​ดังกลาว​จึง​ไมได​รับประโยชน​
จาก​การ​รักษา44
จาก​การ​ศึกษา Suisse Study ใน​ผูปวย​ที่​มีอายุ 18-40 ป
จำ�นวน 100 ราย ที่​มี​ระดับ​คา​อัตรา​การ​กรอง​ของไต​มากกวา 70
มล./นาที ตอ 1.73 ตารางเมตร หรือไต​เรื้อรัง​ระยะ 1-3 โดย​ดู​การ​
เปลี่ยนแปลง​ขนาดไต​จาก​การ​วัด​ดวย high resolution MRI และ
secondary outcome ดู​อัตรา​การ​กรอง​ของไต และ​ผล​ขางเคียง​
ของ​การ​รักษา พบ​วา ขนาด​ของไต​ไมมี​ความ​แตกตางกัน​ระหวาง​
กลุม​ที่​ไดรับ​ยา sirolimus กับ​กลุม​ควบคุม​หลัง​ติดตาม​การ​รักษา​
เปน​ระยะเวลา 18 เดือน ดังนั้น​จาก​การ​ศึกษา​นี้​แสดงใหเห็น​วา​ยา
sirolimus ไม​ชวย​ลด​อัตรา​การ​เจริญ​เติบโต​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ใน​ผูปวย
ADPKD ที่​มีไต​เรื้อรัง​ระยะตน ใน​การ​ศึกษา​นี้​ใช​ยา sirolimus ขนาด​
ต่ำ�กวา​มาตรฐาน​ทั่วไป​คือ trough level 4-10 ไมโครกรัม/ลิตร45
การ​รักษา​ดวย vasopressin V2 receptor (VPV2R)
เมื่อ vasopressin จับ​กับ VPV2R มี​ผล​ใน​การ​เพิ่ม​ระดับ
CAMP ใน​เซลล​ทำ�ให​ถุง​น้ำ�​เจริญ​เติบโต ดังนั้น​ยา​ยับยั้ง​การ​ทำ�งาน​
ของ vasopressin นาจะ​มี​ผล​ยับยั้ง​การ​เจริญ​ของ​ถุง​น้ำ�​ได คาดวา​
ไม​มีผลตอ​ขนาด​ถุง​น้ำ�​ใน​ตับ เนื่องจาก​ตับ​ไมมี VPV2R46,47
จาก​การ​
ศึกษา ของ Gattone และ​คณะ พบ​วา ยา OPC-31260 ซึ่ง​เปน
VPV2R antagonist สามารถ​ปองกัน และ​ชะลอ​การ​เกิด cyst
ใน​สัตว​ทดลอง​เกิด ADPKD ได
จาก​การ​ศึกษา​ถึง​ประสิทธิภาพ​ของ​ยา tolvaptan ซึ่ง​เปน VPV2R
antagonist ใน​ผูปวย​อยาง​นอย 1,200 ราย อายุ 18-50 ป แบง​
เปนกลุม​ที่​ไดรับ tolvaptan และ​ยา​หลอก เปน​ระยะเวลา 3 ป
โดย​ผูปวย​มี​อัตรา​การ​กรอง​ของไต​มากกวา 60 มล./นาที ตอ 1.73
ตารางเมตร และ​ขนาดไต​มากกวา 750 มล. ขณะนี้​การ​ศึกษา​ดัง
กลาว​อยู​ใน​ระหวาง​การ​ศึกษา
Somatostatin
จาก​การ​ศึกษา​แบบ randomized clinical trial เพื่อ​ศึกษา​ผล​
ของ long acting somatostatin ใน​การ​รักษา ADPKD ที่​มี​ถุง​น้ำ�​
รูป​ที่ 1 การ​กระตุน mTOR pathway ใน​การ​เกิด cell growth และ proliferation
เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555
Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 47
ที่ไต และ​ตับ จำ�นวน 42 ราย พบ​วา กลุม​ที่​ได somatostatin ชวย​
ชะลอ​ขนาด​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต (total kidney volume) มากกวา​กลุม​
ควบคุม อีกทั้ง​ยัง​ลด​ขนาด​ถุง​น้ำ�​ใน​ตับ (total liver volume) ดวย4
ErbB receptor tyrosine kinase inhibitors
EGF และ TGF-beta พบ​วา​สามารถ​ทำ�ให​เพิ่มขนาด​และ​
จำ�นวน​ถุง​น้ำ�​ได จึง​มี​การ​ทดลอง​ใช EGF receptor tryorine
kinase inhibitors ใน​สัตว​ทดลอง​ชนิด Han:SPRD และ PCK
พบ​วา สามารถ​ชะลอ​ขนาด​ของไต​ใน​หนู​ชนิด Han:SPRD แต​ไม​
มีผลตอไต​ของ​หนู​ชนิด PCK ดังนั้น​บทบาท​ของ​ยา​กลุม​นี้​คง​ตอง​
รอ​การ​ศึกษา​เพิ่มเติม
สรุป
ADPKD เปน​โรค​พันธุกรรม​ที่​มีความผิด​ปกติ​ระดับ​ยีน (mutation
ที่ PKD1 หรือ PKD2 gene) และ​มี​การ​แสดงออก​ใน​หลายๆ อวัยวะ
ใน​แตละบุคคล​ก็​มี​การ​แสดงออก และ​ความ​รุนแรง​ที่​แตกตางกัน​
ไป การ​ตรวจ​คัด​กรอง​หา​ยีน mutation ชวย​ใน​การ​วินิจ​โรค​กอน​
มี​อาการ และ​อาการ​แสดง​ได เพื่อให​ทราบ​ถึง​ความ​เสี่ยง​ตอ​การ​เกิด​
โรค ปจจุบัน​มีการศึกษา ADPKD กัน​อยาง​กวางขวาง​ทำ�ใหเกิด​
วิทยา​การ​ใหมๆ ทั้ง​ทาง​ดาน​การ​ตรวจคน​ยีน​เพื่อ​ชวย​ใน​การ​วินิจฉัย
สงผลให​เกิด​ประโยชน​ทั้ง​ในดาน​การ​ใหคำ�ปรึกษา​รวมถึง​การ​รักษา​
ที่​ได มี​การ​พัฒนา​คิดคน​ยา​ใหมๆ อยาง​ตอเนื่อง ชวย​ใหการ​ดูแล
รักษา​ผูปวย ADPKD เปนไป​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ​มากขึ้น
ขอ​เสนอแนะ
ADPKD เปน​โรค​ทาง​พันธุกรรม​ที่​พบ​ได​บอย ความรู​เกี่ยวกับ​
ยีน การ​ถายทอด​ทาง​พันธุกรรม พยาธิวิทยา ลักษณะ​ทาง​คลินิก
การ​ดำ�เนิน​โรค มีการศึกษา​กัน​อยาง​ตอเนื่อง​กอ​ให​เกิด​ความ​กาวหนา​
ทาง​วิชาการ​อยาง​รวดเร็ว จึง​มี​ความ​จำ�เปน​อยางยิ่ง​ที่​ควร​มีความรู
ความ​สนใจ และ​ติดตาม​ความรู​ทาง​วิชาการ อยาง​สม่ำ�เสมอ เพื่อ​
ชวย​ใหการ​ดูแลรักษา​ผูปวย​มี​มาตรฐาน​ใน​ทิศทาง​เดียวกัน
เอกสาร​อางอิง
1.	Bergmann C, Zerres K. Early manifestations of polycystic kidney
disease. Lancet 2007;369:2157.
2.	Harris PC, Torres VE. Polycystic kidney disease. Annu Rev Med
2009;60:321-37.
3.	 Low SH, Vasanth S, Larson CH, et al. Polycystin-1, STAT6, and P100
function in a pathway that transduces ciliary mechanosensation
and is activated in polycystic kidney disease. Dev Cell 2006;10:57-
69.
4.	Torres VE, Harris PC, Pirson Y. Autosomal dominant polycystic
kidney disease. Lancet 2007;369:1287-301.
5.	Li Q, Montalbetti N, Wu Y, et al. Polycystin-2 cation channel
function is under the control of microtubular structures in primary
cilia of renal epithelial cells. J Biol Chem 2006;281:37566-75.
6.	Kottgen M. TRPP2 and autosomal dominant polycystic kidney
disease. Biochim Biophys Acta 2007;1772:836-50.
7.	Wei W, Hackmann K, Xu H, Germino G, Qian F. Characterization of
cis-autoproteolysis of polycystin-1, the product of human polycystic
kidney disease 1 gene. J Biol Chem 2007;282:21729-37.
8.	Du J, Ding M, Sours-Brothers S, Graham S, Ma R. Mediation of
angiotensin II-induced Ca2+ signaling by polycystin 2 in glomerular
mesangial cells. Am J Physiol Renal Physiol 2008;294:F909-18.
9.	Lal M, Song X, Pluznick JL, et al. Polycystin-1 C-terminal tail
associates with beta-catenin and inhibits canonical Wnt signaling.
Hum Mol Genet 2008;17:3105-17.
10.	 Wilson PD. Polycystic kidney disease. N Engl J Med 2004;350:151-
64.
11.	 Grantham JJ. Polycystic kidney disease: I. Etiology and pathogenesis.
Hosp Pract (Off Ed) 1992;27:51-9.
12.	 Carone FA, Nakamura S, Caputo M, Bacallao R, Nelson WJ,
Kanwar YS. Cell polarity in human renal cystic disease. Lab
Invest 1994;70:648-55.
13.	 Avner ED, Sweeney WE, Jr., Nelson WJ. Abnormal sodium
pump distribution during renal tubulogenesis in congenital murine
polycystic kidney disease. Proc Natl Acad Sci U S A 1992;89:7447-
51.
14.	 Pei Y, Watnick T, He N, et al. Somatic PKD2 mutations in
individual kidney and liver cysts support a “two-hit” model of
cystogenesis in type 2 autosomal dominant polycystic kidney
disease. J Am Soc Nephrol 1999;10:1524-9.
15.	 Bell PE, Hossack KF, Gabow PA, Durr JA, Johnson AM, Schrier RW.
Hypertension in autosomal dominant polycystic kidney disease.
Kidney Int 1988;34:683-90.
16.	 Gabow PA, Chapman AB, Johnson AM, et al. Renal structure and
hypertension in autosomal dominant polycystic kidney disease.
Kidney Int 1990;38:1177-80.
17.	 Fick GM, Gabow PA. Hereditary and acquired cystic disease of
the kidney. Kidney Int 1994;46:951-64.
18.	 Watson ML. Complications of polycystic kidney disease. Kidney
Int 1997;51:353-65.
19.	 Chapman AB, Rubinstein D, Hughes R, et al. Intracranial aneurysms
in autosomal dominant polycystic kidney disease. N Engl J Med
1992;327:916-20.
อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน
Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012
48
20.	 Schievink WI, Torres VE, Piepgras DG, Wiebers DO. Saccular
intracranial aneurysms in autosomal dominant polycystic kidney
disease. J Am Soc Nephrol 1992;3:88-95.
21.	 Huston J, 3rd
, Torres VE, Sulivan PP, Offord KP, Wiebers DO.
Value of magnetic resonance angiography for the detection of
intracranial aneurysms in autosomal dominant polycystic kidney
disease. J Am Soc Nephrol 1993;3:1871-7.
22.	 Ring T, Spiegelhalter D. Risk of intracranial aneurysm bleeding
in autosomal-dominant polycystic kidney disease. Kidney Int
2007;72:1400-2.
23.	 Graf S, Schischma A, Eberhardt KE, Istel R, Stiasny B, Schulze BD.
Intracranial aneurysms and dolichoectasia in autosomal dominant
polycystic kidney disease. Nephrol Dial Transplant 2002;17:819-23.
24.	 Gabow PA, Johnson AM, Kaehny WD, Manco-Johnson ML, Duley
IT, Everson GT. Risk factors for the development of hepatic cysts
in autosomal dominant polycystic kidney disease. Hepatology
1990;11:1033-7.
25.	 Everson GT. Hepatic cysts in autosomal dominant polycystic
kidney disease. Am J Kidney Dis 1993;22:520-5.
26.	 Chauveau D, Fakhouri F, Grunfeld JP. Liver involvement in
autosomal-dominant polycystic kidney disease: therapeutic dilemma.
J Am Soc Nephrol 2000;11:1767-75.
27.	 Bae KT, Zhu F, Chapman AB, et al. Magnetic resonance imaging
evaluation of hepatic cysts in early autosomal-dominant polycystic
kidney disease: the Consortium for Radiologic Imaging Studies
of Polycystic Kidney Disease cohort. Clin J Am Soc Nephrol
2006;1:64-9.
28.	 Sherstha R, McKinley C, Russ P, et al. Postmenopausal estrogen
therapy selectively stimulates hepatic enlargement in women
with autosomal dominant polycystic kidney disease. Hepatology
1997;26:1282-6.
29.	 Bennett WM, Elzinga L, Golper TA, Barry JM. Reduction of cyst
volume for symptomatic management of autosomal dominant
polycystic kidney disease. J Urol 1987;137:620-2.
30.	 Sharp CK, Zeligman BE, Johnson AM, Duley I, Gabow PA. Evaluation
of colonic diverticular disease in autosomal dominant polycystic
kidney disease without end-stage renal disease. Am J Kidney
Dis 1999;34:863-8.
31.	 Modi KB, Grant AC, Garret A, Rodger RS. Indirect inguinal
hernia in CAPD patients with polycystic kidney disease. Adv
Perit Dial 1989;5:84-6.
32.	 Morris-Stiff G, Coles G, Moore R, Jurewicz A, Lord R. Abdominal
wall hernia in autosomal dominant polycystic kidney disease. Br
J Surg 1997;84:615-7.
33.	 Stamm ER, Townsend RR, Johnson AM, Garg K, Manco-Johnson
M, Gabow PA. Frequency of ovarian cysts in patients with
autosomal dominant polycystic kidney disease. Am J Kidney
Dis 1999;34:120-4.
34.	 Heinonen PK, Vuento M, Maunola M, Ala-Houhala I. Ovarian
manifestations in women with autosomal dominant polycystic
kidney disease. Am J Kidney Dis 2002;40:504-7.
35.	 Brook-Carter PT, Peral B, Ward CJ, et al. Deletion of the TSC2
and PKD1 genes associated with severe infantile polycystic kidney
disease--a contiguous gene syndrome. Nat Genet 1994;8:328-32.
36.	 Pei Y, Obaji J, Dupuis A, et al. Unified criteria for ultrasonographic
diagnosis of ADPKD. J Am Soc Nephrol 2009;20:205-12.
37.	 Zhao X, Paterson AD, Zahirieh A, He N, Wang K, Pei Y. Molecular
diagnostics in autosomal dominant polycystic kidney disease:
utility and limitations. Clin J Am Soc Nephrol 2008;3:146-52.
38.	 Patel V, Chowdhury R, Igarashi P. Advances in the pathogenesis
and treatment of polycystic kidney disease. Curr Opin Nephrol
Hypertens 2009;18:99-106.
39.	 Chapman AB, Gabow PA, Schrier RW. Reversible renal failure
associated with angiotensin-converting enzyme inhibitors in
polycystic kidney disease. Ann Intern Med 1991;115:769-73.
40.	 K/DOQI clinical practice guidelines on hypertension and antihypertensive
agents in chronic kidney disease. Am J Kidney Dis 2004;43:S1-
290.
41.	 Muther RS, Bennett WM. Cyst fluid antibiotic concentrations
in polycystic kidney disease: differences between proximal and
distal cysts. Kidney Int 1981;20:519-22.
42.	 Singh S, Hariharan S. Renal replacement therapy in autosomal
dominant polycystic kidney disease. Nephron 1991;57:40-4.
43.	 Shillingford JM, Murcia NS, Larson CH, et al. The mTOR pathway
is regulated by polycystin-1, and its inhibition reverses renal
cystogenesis in polycystic kidney disease. Proc Natl Acad Sci
U S A 2006;103:5466-71.
44.	 O’Neill WC, Robbin ML, Bae KT, et al. Sonographic assessment
of the severity and progression of autosomal dominant polycystic
kidney disease: the Consortium of Renal Imaging Studies in
Polycystic Kidney Disease (CRISP). Am J Kidney Dis 2005;46:1058-
64.
45.	 Qian Q, Du H, King BF, et al. Sirolimus reduces polycystic liver
volume in ADPKD patients. J Am Soc Nephrol 2008;19:631-8.
46.	 Bennett WM. V2 receptor antagonists in cystic kidney diseases:
an exciting step towards a practical treatment. J Am Soc Nephrol
2005;16:838-9.
47.	 Torres VE. Role of vasopressin antagonists. Clin J Am Soc
Nephrol 2008;3:1212-8.

More Related Content

What's hot

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
chawisa44361
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
Pathitta Satethakit
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
kasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
kasidid20309
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
Aphisit Aunbusdumberdor
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์Krupol Phato
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
Thitaree Samphao
 

What's hot (19)

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Cell
CellCell
Cell
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 

Viewers also liked

David Ash working at Cineplex Theatres
David Ash working at Cineplex TheatresDavid Ash working at Cineplex Theatres
David Ash working at Cineplex Theatreskaren1775
 
Sivuhyöty 13.10.2016 säilöntäkokeet
Sivuhyöty 13.10.2016 säilöntäkokeetSivuhyöty 13.10.2016 säilöntäkokeet
Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016
Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016
Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016
Natural Resources Institute Finland (Luke) / Luonnonvarakeskus (Luke)
 
Comprehensive Press Release
Comprehensive Press ReleaseComprehensive Press Release
Comprehensive Press ReleaseRadgia Cook
 
презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015
презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015
презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015
IT1811
 
Elie Nassim's resume
Elie Nassim's resumeElie Nassim's resume
Elie Nassim's resumeElie Nassim
 
Jason.fate resume 08.15.15
Jason.fate resume 08.15.15Jason.fate resume 08.15.15
Jason.fate resume 08.15.15
Jason Fate
 
Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...
Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...
Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...
Natural Resources Institute Finland (Luke) / Luonnonvarakeskus (Luke)
 
How to Accelerate Your Business Performance
How to Accelerate Your Business PerformanceHow to Accelerate Your Business Performance
How to Accelerate Your Business Performance
Chuck Gumbert
 
Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014
Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014
Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014Johan Smedema
 
проект концепции развития гимназии
проект концепции развития гимназиипроект концепции развития гимназии
проект концепции развития гимназии
IT1811
 
SEO Training Courses in Glasgow, Scotland
SEO Training Courses in Glasgow, ScotlandSEO Training Courses in Glasgow, Scotland
SEO Training Courses in Glasgow, Scotland
Brian Lonsdale
 
How to boost biomass production for bio-economy
How to boost biomass production for bio-economyHow to boost biomass production for bio-economy
How to boost biomass production for bio-economy
Natural Resources Institute Finland (Luke) / Luonnonvarakeskus (Luke)
 
Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016
Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016
Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016
Natural Resources Institute Finland (Luke) / Luonnonvarakeskus (Luke)
 

Viewers also liked (14)

David Ash working at Cineplex Theatres
David Ash working at Cineplex TheatresDavid Ash working at Cineplex Theatres
David Ash working at Cineplex Theatres
 
Sivuhyöty 13.10.2016 säilöntäkokeet
Sivuhyöty 13.10.2016 säilöntäkokeetSivuhyöty 13.10.2016 säilöntäkokeet
Sivuhyöty 13.10.2016 säilöntäkokeet
 
Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016
Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016
Janne Heliölä - METSO-tutkimusseminaari Helsingissä 16.11.2016
 
Comprehensive Press Release
Comprehensive Press ReleaseComprehensive Press Release
Comprehensive Press Release
 
презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015
презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015
презентация к род. собранию 11 кл. сентябрь 2015
 
Elie Nassim's resume
Elie Nassim's resumeElie Nassim's resume
Elie Nassim's resume
 
Jason.fate resume 08.15.15
Jason.fate resume 08.15.15Jason.fate resume 08.15.15
Jason.fate resume 08.15.15
 
Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...
Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...
Tönäisyjä keksimässä poikkitieteellisyys suurpetokantojen hallinnassa, Juha H...
 
How to Accelerate Your Business Performance
How to Accelerate Your Business PerformanceHow to Accelerate Your Business Performance
How to Accelerate Your Business Performance
 
Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014
Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014
Betaalbaarheid van de woonlasten per december 2014
 
проект концепции развития гимназии
проект концепции развития гимназиипроект концепции развития гимназии
проект концепции развития гимназии
 
SEO Training Courses in Glasgow, Scotland
SEO Training Courses in Glasgow, ScotlandSEO Training Courses in Glasgow, Scotland
SEO Training Courses in Glasgow, Scotland
 
How to boost biomass production for bio-economy
How to boost biomass production for bio-economyHow to boost biomass production for bio-economy
How to boost biomass production for bio-economy
 
Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016
Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016
Päivi Kurki, Kohti parempia satoja –seminaari Iisalmessa 8.11.2016
 

Similar to Apkd

Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Kamol Khositrangsikun
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Utai Sukviwatsirikul
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Tanchanok Pps
 
ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์supphawan
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
Namthip Theangtrong
 
กาย่า presentation
กาย่า presentationกาย่า presentation
กาย่า presentationCrystalpet
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
Wichai Likitponrak
 
2007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_12007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_1
New Srsn
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
Heart
HeartHeart
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Chutchavarn Wongsaree
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
Kamol Khositrangsikun
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
Thanyamon Chat.
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 

Similar to Apkd (20)

Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
 
Hepatocellular Carcinoma
Hepatocellular CarcinomaHepatocellular Carcinoma
Hepatocellular Carcinoma
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
กาย่า presentation
กาย่า presentationกาย่า presentation
กาย่า presentation
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
2007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_12007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_1
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 

Apkd

  • 1. เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555 39 Autosomal dominant polycystic kidney disease (ADPKD) เปนสาเหตุ​ที่​พบ​บอย​ของ​โรคไต​เรื้อรัง​ที่​มี​การ​ถายทอด​ ทาง​พันธุกรรม​โดย​มีความผิด​ปกติ​ใน​ระดับ​ยีน โมเลกุล และ​กลไก​ ระหวาง​เซลล ทำ�ใหเกิด​ถุง​น้ำ�​ภายในไต ซึ่ง​มี​ความ​นาสนใจ​คือ การ​ เกิด​พยาธิ​สภาพ​นอกจาก​ถุง​น้ำ�​ภายในไต​แลว​ยัง​สามารถ​เกิด​ถุง​น้ำ�​ ได​ใน​อวัยวะ​อื่นๆ ดวย เชน เยื่อหุม​สมอง ตับ ตับออน หัวใจ และ​ หลอดเลือด อีกทั้ง​ยัง​พบ​รวมกับ​ความ​ผิด​ปกติ​อื่นๆ เชน เสนเลือด​ใน​ สมอง​โปง​พอง mitral valve prolapsed, aortic root dilatation และ abdominal wall hernias อุบัติ​การณ ADPKD มี​อุบัติ​การณ​ประมาณ 1 ราย​ใน​ประชากร​ทุกๆ 1,000 คน ของ​ประชากร​ทั่วโลก เปน​โรค​ที่​เปนสาเหตุ​ของไต​เรื้อรัง​ระยะ​ สุดทาย​ได​บอย​โรค​หนึ่ง​คือ พบ​ประมาณ​รอยละ 8-10 ของ​ผูปวย ไต​เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย โดย​พบ​เพศชาย​มากกวา​เพศหญิง​เปน​อัตรา สวน 1.2-1.3 ตอ 1 และ​เมื่อ​เทียบ​ใน​อายุ​เดียวกัน เพศชาย​มี​ความ​ รุนแรง​ของ​โรค​มากกวา​เพศหญิง1 พยาธิ​กำ�เนิด​โรค ความ​ผิด​ปกติ​ใน​ระดับ​ยีน ADPKD มี​การ​ถายทอด​ทาง​พันธุกรรม​แบบ autosomal dominant trait with compenetrance โดย​ใน​ปจจุบัน​คนพบ​ ยีน​ที่​เกี่ยวของ​กับ​การ​เกิด ADPKD อยาง​นอย 3 ยีน คือ 1. ยีน polycystic kidney disease 1 (PKD 1) พบ​อยู​บน​ แขน​ขาง​สั้น (short arm) ของ​โครโมโซม​ที่ 16p13.3 และ​ เปน​ยีน​ที่​เปนสาเหตุ​ของ​โรค​ถึง​รอยละ 80 2. ยีน polycystic kidney disease 2 (PKD 2) พบ​อยู​ บน​แขน​ขาง​ยาว (long arm) ของ​โครโมโซม​ที่ 4q21 เปน สาเหตุ​ของ​โรค​ประมาณ​รอยละ 15 3. ยีน polycystic kidney disease 3 (PKD 3) ปจจุบัน​ ยัง​ไม​ทราบ​ตำ�แหนงที่​แนนอน Polycystin 1 เปน membrane proteins ประกอบดวย amino acids 4,302 ตัว มี​น้ำ�หนัก 460 kDa แบง​เปน​สวน long N-terminal portion อยู​ภายนอก​เซลล 11 transmembrane domains และ short C-terminal portion อยู​ภายใน​เซลล สวน extracellular portion ประกอบดวย​โปรตีน​ชนิด​ตางๆ คือ leucine rich repeat (LRR), C-lectin, low density lipoprotein (LDL) cysteine-rich repeat, receptor for Egg Jelly (REJ) domain, polycystin1(PC1) พบ​ไดที่ primary cilia, cytoplasmic vesicles, desmosome, adherens junctions, plasma membrane บริเวณ focal adhesions, endoplasmic reticulum และ nuclei2 Polycystin 2 มี 6 transmembranous domain มี​ลักษณะ​ คลาย Ca voltage activate channel, Na voltage activated channel, polycystin 1 และ transient receptor potential (TRP) channel subunit, polycystin 2 พบ​ไดที่ endoplasmic reticulum, basolateral plasma membranes, lamellopodia, primary cilia และ mitotic spindles3 จาก​การ​ศึกษา​ใน​หอง ทดลอง พบ​วา polycystin 1 ทำ�งาน​รวมกับ polycystin 2 ผาน​ ทาง​ตำ�แหนง coiled-coil domain ที่ C-terminal region ความ​ผิด​ปกติ​ของ polycystin 1 และ 2 complex ทำ�ให​ แคลเซียม​ภายนอก​เซลล​ไม​สามารถ​เขาสู​ภายใน​เซลล​ได โดย​ภาวะ​ ปกติ polycystin 2 จะ​กระตุน store-operated Ca2+ channel (SOC) ทำ�ให​แคลเซียม​เขาสู​เซลล สวน polycystin 1 จะ​กระตุน sarcoplasmic/endoplasmic reticulum Ca2+ ATPase (SERCA) ใน​การนำ�​แคลเซียม​ไป​เก็บ​ไว​ที่ endoplasmic reticulum (ER) สภาวะปกติ​เมื่อ​มี​ปสสาวะ​ไหลผาน​มา​ทำ�ใหเกิด​การ bending ของ cilia ดาน apical ของ tubular epithelial cell5 เปน​เหตุ​ ให​มี​การ​ทำ�งาน​ประสานกัน​ของ TRPP1 (PKD1) และ TRPP2 บทความ​ฟน​วิชา Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน หนวยไต กอง​อายุรกรรม โรง​พยาบาลพระ​มงกุฏ​เกลา
  • 2. อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012 40 (PKD2) ซึ่ง​ทำ�หนาที่​เปน mechano-sensors หรือ chemo-sensors ทำ�ใหเกิด​เปน polycystin 1/2 complex ขึ้น​ที่​ผนัง​เซลล ทำ�ให Ca2+ influx เขามา​ภายใน​เซลล​ได6,7 แลว​เกิด​การ switches off the Wnt/B-catenin pathway ไป​ยับยั้ง disheveled (Dvl) สงผลให β catenin (β-cat) ถูก​ทำ�ลาย​โดย destruction complex8 ซึ่ง​ ประกอบดวย axin, glycogen synthetase kinase -3β (GSK- 3B) และ adenomatous polyposis coli (APC) protein ทำ�ให β-cat ไม​สามารถ​จับ​กับ Tcell factor (TCF1) family ได จึง​ ไมมี​การ​กระตุน​การ​แบง​เซลล​เกิดขึ้น แต​ใน​สภาวะ​ที่​มีความผิด​ปกติ​ ของ poycystin 1/2 complex มี​การนำ�​แคลเซียม​เขาสู​เซลล​ลด ลง จึง​ไม​สามารถ​กระตุน​ให invesin (Inv) ยับยั้ง Dvl สงผลให β- catenin ไม​ถูก​ทำ�ลาย จึง​จับ​กับ TCF1 family เกิด​การ​แบง​ เซลล​ตาม​มา3,9 การ​เพิ่มขึ้น​ของ​จำ�นวน​เซลล​ที่​ผิด​ปกติ​เปนสาเหตุ​ของ​การ​โต​ของ​ ถุง​น้ำ�​ภายในไต ผาน​ทาง chloride channel และ​การ​กระตุน​ผาน cystic fibrosis transmembrane conductance regulator (CFTR) ทำ�ให​มี​การ​หลั่ง​ของ​สาร​น้ำ�​เขาสู ถุง​น้ำ�​ในไต และ​การ​เพิ่ม​ ของ​ระดับ cAMP ก็​มีผลตอ​การ​เพิ่มขึ้น​ของ​จำ�นวน​เซลล​โดย​อธิบาย​ ผาน​กลไก​ดัง​ตอไปนี้ 1. Polycystin 1 ligand เมื่อ​จับ​กับ receptor กระตุน Gi protein มี​ผล​ยับยั้ง adenylyl cyclase 6 (AC6) ใน​ ขบวนการ​สราง cAMP ดังนั้น​เมื่อ​มีความผิด​ปกติ​ของ polycystin 1 ทำ�ให​ระดับ cAMP เพิ่ม​มากขึ้น 2. การ​จับ​ของ vasopressin (V2 receptor) กระตุน Gs protein ให เปลี่ยน ATP เปน cAMP 3. การ​ลดลง​ของ​แคลเซียม​ภายใน​เซลล ทำ�ให​ไม​สามารถ​ยับยั้ง adenylyl cyclase 6 (AC6) และ​ไม​สามารถ​กระตุน​การ​ ทำ�งาน​ของ phosphodiesterase (PDEs) สงผลให ATP เปลี่ยน​เปน cAMP เพิ่มขึ้น 4. การ​ยับยั้ง​การ​ทำ�งาน​ของ PDEs โดย​การ​กระตุน extracellularly regulated kinase (ERK) และ​การ​ลดลง​ระดับ​แคลเซียม​ ภายใน​เซลล จึง​ไม​สามารถ​ลดปริมาณ cAMP ลง​ได เซลล​ของ​ทอไต (renal tubular epithelium) มี​คุณสมบัติ​เฉพาะ คือ​ความ​เปน​ประจุ (polarized) ซึ่ง​ถูก​กำ�หนด​โดย​การ​จัด​เรียงตัว (organization) ของ​สวนประกอบ​ของ​ผนัง​เซลล​ดาน basolateral และ apical ที่​ประกอบดวย ion channel, transport protein, enzyme, matrix receptor และ lipid การ​จัด​เรียงตัว​ที่​เฉพาะ​มี​ ความ​สำ�คัญตอ​การ​ทำ�งาน​ของ​เซลล เมื่อ​การ​จัด​เรียงตัว​ที่​ผิด​ปกติ​ จะ​นำ�ไปสู​การ​ทำ�งาน​ที่​ผิด​ปกติ​ของ​เซลล และ​การ​เกิด​พยาธิ​สภาพ การ​เรียงตัว​ของ​สวนประกอบ​ตางๆ ใน​ผนัง​เซลล​ถูก​ควบคุม​โดย cell-cell และ cell-matrix interaction ผาน​ทาง adhesive molecule คือ integrin และ cadherin โดย​มี​การ​สื่อสาร​กัน​ ระหวาง​เซลล (cell talk) ที่อยู​ใกลเคียง​กัน และ​ระหวาง​เซลล​กับ extracellular matrix ทำ�ใหเกิด​สัญญาณ​ภายใน​เซลล ผาน​ทาง cytoskeletal protein และ signal transduction pathway กลไก​การ​เกิด​โรค ADPKD เปน​โรค​ที่​มี​ถุง​น้ำ�​เกิดขึ้น​ในไต​ทั้งสอง​ขาง​จำ�นวน​มาก​ ทำ�ใหไต​มี​ขนาดใหญ ถุง​น้ำ�​ที่เกิด​ในไต คือ renal tubule ที่​มี​การ​ ขยาย​ใหญ​ขึ้น ถุง​น้ำ�​ที่​เกิดขึ้น​อาจ​เกิด​ที่ proximal tubule หรือ distal tubule ก็ได ระยะแรก​ถุง​น้ำ�​ในไต​ยัง​ทำ�งาน​ได ตอมา​เมื่อ​ มี​การ​ขยาย​ขนาด​ถุง​น้ำ�ขึ้น​เรื่อยๆ จน​เบียด​เนื้อไต และ​เกิด​การ​ ทำ�งาน​ของไต​ลดลง​ในที่สุด ซึ่ง ADPKD เปนสาเหตุ​ของ​ภาวะไต​ เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย​ถึง​รอยละ 2-9 สำ�หรับ​พยาธิ​กำ�เนิด​โรค​ยัง​ไม​ เปนที่​ทราบ​แนชัด จาก​หลักฐาน​ใน​ปจจุบัน​สามารถ​สรุป​การ​เกิด​ โรค​จาก 3 กลไก​หลัก คือ 1. ความ​ผิด​ปกติ​ของ epithelial cell proliferation 2. ความ​ผิด​ปกติ​ของ matrix remodeling 3. การ​เปลี่ยนแปลง​ของ Na/K -ATPase ของ renal cyst epithelial cell ความ​ผิด​ปกติ​ของ epithelial cell proliferation การ​เพิ่มจำ�นวน​อยาง​มาก​ของ renal tubular epithelium รวมกับ​การ​ขยาย​ขนาด​ของ renal tubular epithelium หรือ​เรียก วา renal tubular hyperplasia รอบๆ จน​กลาย​เปน​ถุง​น้ำ�​ในที่สุด การ​เกิด​ถุง​น้ำ�​ใน ADPKD เริ่มแรก​ถุง​น้ำ�​ยัง​สามารถ​ติดตอ​กับ tubule ตอมา​ระยะหลัง​ถุง​น้ำ�​คอยๆ โตขึ้น แลว​แยกออกจาก tubule เปน isolated cyst ในที่สุด สวน​การ​เกิด​ถุง​น้ำ�​ใน ARPKD จะ​มี​การ​ ขยาย​ขนาด​ของ renal tubular epithelium ใน​สวน collecting tubule เกิด​เปน​ถุง​น้ำ� แต​จะ​ไม​แยกออกจาก tubule10 ความ​ผิด​ปกติ​ของ matrix remodeling จาก​การ​ศึกษา​ใน​สัตว​ทดลอง​ที่เกิด​ถุง​น้ำ�​ในไต พบ​วา​มีความ ผิด​ปกติ​ของ extracellular fluid matrix ซึ่ง​เปน​สวนหนึ่ง​ของ basement membrane โดย​พบ​ความ​ผิด​ปกติ​ของ​สาร​ที่​เปน​สวน ประกอบ​ของ basement membrane คือ heparan sulfate
  • 3. เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555 Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 41 proteoglycan ซึ่ง​คาดวา​มี​บทบาท​สำ�คัญตอ​การ​เกิด​พยาธิ​สภาพ​ ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต และ​สามารถ​พบ​ความ​ผิด​ปกติ​ดังกลาว​กับ​การ​เกิด​ หลอดเลือด​โปง​พอง​ใน​สมอง​ได​เชนกัน11 การ​เปลี่ยนแปลง​ของ Na/K -ATPase ของ renal cyst epithelial cell Wilson และ​คณะ แสดงใหเห็น​วา EGFR และ Na-K-ATPase pumps ซึ่ง​ปกติ​อยู​ทาง​ดาน basolateral membrane ของ​เซลล renal tubular epithelium ได​เคลื่อน​มา​อยู​ทาง​ดาน luminal membrane12 เปน​เหตุ​ให​เกิด​การ​กระตุน EGFR และ/หรือ Erb receptors ที่​ไม​พบ​ใน​ผูใหญ นำ�มาซึ่ง​การ​กระตุน Ras/MAPK (RAt Sarcoma/mitogen activated protein kinase) signaling การ​เกิด misslocation ของ Na/K ATPase นี้ ทำ�​ใหการ​ทำ�งาน​ ของ​เซลล renal tubular epithelium ผิด​ปกติ​เกิด​การ​สะสม​ของ​ สาร​น้ำ� และ​โซเดียม​ภายใน​ถุง​น้ำ� แลว​เปน​เหตุ​ให​ถุง​น้ำ�ไต​มี​ขนาด​ โตขึ้น จาก​การ​ศึกษา​ใน​หองทดลอง พบ​วา ความ​ผิด​ปกติ​ของ​การ​ เคลื่อน​ยาย Na/K ATPase pumps ใน​โรค ADPKD เกิด​ใน​ ชวง​พัฒนาการ​ปกติ​ของ​เซลล collecting tubule หรือ​เกิด​จาก​ การ​แบงตัว​ผิด​ปกติ​ของ​เซลล​ถุง​น้ำ�​ได13 นอกจาก Na/K ATPase แลว spectrin และ ankyrin ซึ่ง​เปน cytoskelatel protein ที่​ ควบคุม​การ​ทำ�งาน​ของ Na/K ATPase ก็​มี​การ​เคลื่อน​ยาย​จาก basolateral มาสู apical membrane เชนกัน Two hit hypothesis จาก​หลักฐาน​ใน​ปจจุบัน​พบ​วา ถุง​น้ำ�​ที่​เกิดขึ้น​ที่ไต​ใน​ผูปวย ADPKD นั้น มาจาก​เพียง​รอยละ1-2 ของ nephron ทั้งหมด​เทา นั้น แสดงใหเห็น​วา​ไมใช​ทุก nephron ที่จะ​กลาย​เปน​ถุง​น้ำ�​ได ดังนั้น​ จึง​นาจะ​มี​ปจจัย​บางประการ​ที่​ทำ�ให nephron บาง​หนวย​กลาย​เปน​ถุง​ น้ำ� ขอ​สังเกต​นี้​ไดรับ​การ​พิสูจน​โดย Qian และ​คณะ พบ​เซลล renal tubular epithelium ลอม​ถุง​น้ำ�​มี​ลักษณะ monoclonality และ DNA ของ​ถุง​น้ำ�​เหลานี้ มีความผิด​ปกติ (mutation) 2 ประการ คือ1 1. Germ line mutation เปน mutation ที่​ถายทอด​ทาง​ พันธุกรรม​จาก​บิดา มารดา DNA จาก​ถุง​น้ำ�​แตละ​อัน​มี ความผิด​ปกติ แต​อาศัย​เพียง germ line mutation ไม​ เพียง​พอที่จะ​เกิด​ถุง​น้ำ�​ได จะ​ตอง​มี second hit 2. Somatic mutation (point mutation) เปน mutation ของ wild type gene ที่เกิด​บน chromosome อีก​ขาง​ ที่​ปกติ โดย​ความ​ผิด​ปกติ​ที่​เกิดขึ้น​อาจ​เปน non sense mutation, miss-sense mutation, deletion ไป​ทั้ง PKD1 gene ทำ�ใหเกิด​สิ่ง​ที่​เรียกวา “loss of heterozygosity” ปกติ การ​ทำ� typing ของ PKD1 gene พบ​วา DNA มี 2 alleles กรณี​นี้​จะ​พบ​วา​มี​เพียง allele เพียง​ชุด​เดียว เรียก วา มี loss of heterozygosity พยาธิ​สภาพไต ไต​มี​ขนาดใหญ พบ​มี​ถุง​น้ำ�​ขนาด​แตก​ตางๆ กัน ทั้ง​ใน​บริเวณ cortex และ medulla ของไต และ​จาก​ลักษณะ​ทาง​กลอง​จุลทรรศน​ พบ​วา ถุง​น้ำ�​แตละ​อัน มี​ผนัง​บาง​เปน simple cuboidal epithelium เรียงตัว​เปน​ชั้นเดียว อาการ​และ​อาการ​แสดง​ทางไต อาการ​ปวด​เปน​อาการ​ที่​พบ​บอย และ​เปน​สิ่ง​ที่​นำ�​ผูปวย​มา​พบ​ แพทย โดย​มักจะ​มา​ดวย​อาการ​ปวดทอง ปวด​เอว​แบบ colicky pain และ​มี​ปสสาวะ​เปน​เลือด​รวมดวย Hematuria ผูปวย​สวนใหญ​มา​ดวย​ปสสาวะ​เปน​เลือด พบ​ได​ประมาณ​รอยละ 35-50 มัก​เกิด​ตามหลัง​การ​ติดเชื้อ​ทาง​เดิน​ปสสาวะ มี​สาเหตุ​มาจาก​ การ​แตก​ของ​ถุง​น้ำ�​เขาไป​ใน collecting system ภาวะ​เลือดออก​ใน​ ถุง​น้ำ� นิ่ว​ในไต สวนใหญ​เกิด​ขึ้นกับ​ผูปวย​ที่​มี​ถุง​น้ำ�​ขนาดใหญ​กวา 15 เซนติเมตร และ​มี​ภาวะ​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​รวมดวย ถา​มี​อาการ​ กอน​อายุ 30 ป จะ​มี​การ​พยากรณ​โรค​ไมดี ผูปวย​ที่​มี​ปสสาวะ​เปน​ เลือด​เปนๆ หายๆ เปน​ระยะเวลา​นาน ควร​วินิจฉัย​แยก​โรค​จาก​โรค ไต​กลุม​อื่นๆ เชน IgA nephropathy มะเร็ง​ของไต โดยเฉพาะ​ ผูปวย​ชาย​ที่​มีอายุ​มากกวา 50 ป มะเร็ง​กระเพาะ​ปสสาวะ เปนตน Concentrating defect ผูปวย ADPKD จำ�นวน​หนึ่ง​มีความผิด​ปกติ​เข​องไต​ใน​การ​ ทำ�ให​ปสสาวะ​เขมขน (concentrating defect) จาก​การ​ศึกษา​ ผูปวย ADPKD 177 ราย​ที่​มี​การ​ทำ�งานไต​ปกติ พบ​วา​หลัง​การ​ทำ� overnight water deprivation ผูปวย​ไม​สามารถ​ทำ�ให​ปสสาวะ​ เขมขน​ได โดยเฉพาะ​ใน​กลุม​ผูปวย​สูงอายุ ผูปวย​ที่​มี​โรคประจำ�ตัว​ จาก tubulointerstitial disease มี​การ​ผิด​ปกติ​ของ​โครงสราง​ ของ tubule และ principal cell จึง​ทำ�ให​สูญเสีย​ความ​สามารถ​ ใน​การ​ทำ�ให​ปสสาวะ​เขม​ขึ้น Proteinuria ผูปวย ADPKD สวนใหญ​มี​ระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​เฉลี่ย 260 มิลลิกรัม/วัน15 สวนนอย​ที่จะ​มี​ระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​มากกวา 300 มิลลิกรัม/วัน อยางไร​ก็ตาม​ผูปวย​บางราย​ที่​มีไต​เสื่อ​มมาก​อาจ​มี​
  • 4. อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012 42 โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​ได​มาก​ถึง​เฉลี่ย 900 มิลลิกรัม/วัน โดย​พบ​วา​ ระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสาวะ​สัมพันธกับ​ภาวะไต​เสื่อม16 มี​รายงาน​ภาวะ nephrotic syndrome ใน​ผูปวย ADPKD นอยมาก ดังนั้น​หาก​ตรวจ​ พบ​ภาวะ nephrotic syndrome ตองระวัง​โรค​ทาง glomerular จาก​สาเหตุ​อื่น​รวมดวย​คือ focal glomerulosclerosis เปน​อันดับ แรก รอง​ลงมา​คือ minimal change disease, membranous nephropathy, IgA nephropathy และ membranoproliferative glomerulonephritis17 ยัง​ไมมี​ขอมูล​ชวย​ใน​การ​วินิจฉัย​แยก​โรค​วา​ ผูปวย​เปน primary หรือ secondary focal glomerulosclerosis ภาวะ​หลัง​พบ​ได​นอย​ใน​ผูปวย ADPKD Hypertension สาเหตุ​การ​เกิด​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​ใน​ผูปวย ADPKD สันนิษฐาน​ วา เกิด​จาก​ถุง​น้ำ�​ไป​เบียด​เนื้อไต​ที่​ปกติ ทำ�ใหเกิด​ภาวะ​ขาด​เลือด เกิด​การ​กระตุน renin angiotensin system ซึ่ง angiotensin II เปน​ตัวกระตุน​ให​มี​การ​เพิ่ม​ของ vascular tone และ​การ​เพิ่ม​ของ aldosterone ทำ�ให​มี​การ​เก็บ​โซเดียม​กลับ​คืน​สู​รางกาย​ทำ�ใหเกิด​ ความ​ดัน​โลหิต​สูง​ตาม​มา จาก​การ​ศึกษา​ของ Gabow และ​คณะ​พบ​วา มี​ความ​สัมพันธกัน​ ระหวาง​ปริมาณ​และ​ขนาด​ของ​ถุง​น้ำ�​กับ​อัตรา​การ​เกิด​ความ​ดัน​โลหิต​ สูง16 และ​ผูปวย ADPKD ประมาณ​รอยละ 60 มี​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​ รวมดวย โดย​ที่​การ​ทำ�งาน​ของไต​ยังคง​ปกติ พบ​เพียง​ครึ่ง​หนึ่ง​ของ​ ผูปวย​เทานั้น​ที่​ไดรับ​การ​รักษา​ดวย​ยา​ลด​ความ​ดัน​โลหิต15 Extrarenal manifestations Cerebral aneurysms การ​แตก​ของ cerebral aneurysm สงผลให​เกิด subarachnoid หรือ intracerebral hemorrhage ซึ่ง​เปน​ภาวะ​แทรกซอน​ที่​รุนแรง​ ของ ADPKD ถา​พบ​มี​การ​แตก​ของ aneurysm แลว จะ​มี​อัตรา​ การ​เสียชีวิต และ​ทุพพลภาพ​สูง​ถึง​รอยละ 48 พบ​อุบัติ​การณ​การ​ เกิด aneurysm รอยละ 4 ใน​ผูปวย​อายุ​นอย และ​อุบัติ​การณ​จะ​ เพิ่มขึ้น​ตาม​อายุ​เปน​รอยละ 10 ใน​ผูปวย​สูงอายุ3,18-21 ผูปวย​สวน ใหญ​ไมมี​อาการ​ผิด​ปกติ22 ผูปวย ADPKD ที่​มี cerebral aneurysm ประมาณ​ครึ่ง​หนึ่ง​ มี​คา​การ​ทำ�งาน​ของไต​ปกติ สวนใหญ​เกิด​กับ middle cerebral artery และ​ใน​ผูปวย​บางราย​อาจ​เกิด​การ​โปง​พอง​ของ​เสนเลือด​ ได​ห​ลายเสน การ​แตก​ของ cerebral aneurysm มัก​พบ​บอย​ใน​ผูปวย​ที่​มีอายุ​ นอยกวา 50 ป ผูปวย​ที่​ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต​สูง​ไมดี ผูปวย​ที่​มี​ ประวัติ subarachnoid hemorrhage ใน​ครอบครัว cerebral aneurysm บริเวณ anterior circulation ที่​มี​ขนาด​มากกวา 7 มิลลิเมตร หรือ aneurysm บริเวณ posterior circulation เปนก ลุม​ที่​มี​ปจจัย​เสี่ยง​ตอ​การ​แตก​ของ cerebral aneurysm อัตรา​ การ​แตก​ของ cerebral aneurysm ใน​ระยะเวลา 5 ป สูงกวา หรือ​เทากับ​ความ​เสี่ยง​ตอ​การ​ผาตัด​หลอดเลือด​ใน​สมอง3,2,6,21,23 อธิบายความ​ผิด​ปกติ​ของ​หลอดเลือด​วา​เกิด​จาก​การ​มี mutation ของ PKD1 หรือ PKD2 เปน​เหตุ​ให​มี​การ proliferation และ apoptosis ของ vascular smooth muscle cell และ​เมื่อ​มี​ความ​ ดัน​โลหิต​สูง​รวมดวย ทำ�ใหเกิด​ความ​ผิด​ปกติ​ได​งาย​ขึ้น ดังนั้น​เปน​ที่ ยอมรับ​กัน​วา​ถา cerebral aneurysm ขนาด​นอยกวา 5 มิลลิเมตร แนะนำ�​ให​เฝาติดตาม​อาการ​ของ​ผูปวย​เปนระยะ ถา​ขนาด​มากกวา 10 มิลลิเมตร หรือ​มี​อาการ​ทาง​ระบบประสาท หรือ​เคย​มี​ประวัติการ​ แตก​ของ cerebral aneurysm มา​กอน​แนะนำ�​ให​ทำ�การ​ผาตัด​ดวย​ การ clipped aneurysm สวน cerebral aneurysm ที่​มี​ขนาด 6-9 มิลลิเมตร พิจารณา​ใหการ​รักษา​เปนรายๆ ไป Hepatic cysts Hepatic cysts สวนใหญ​เกิด​ตามหลัง​ถุง​น้ำ�​ในไต​ใน​ผูปวย ADPKD อุบัติ​การณ​เพิ่มขึ้น​ตาม​อายุ​พบ​รอยละ 10-20 ใน​กลุม​ ผูปวย​อายุ​นอยกวา 30 ป และ พบ​ได รอยละ 50-70 ใน​กลุม​ ผูปวย​อายุ​มากกวา 60 ป24-26 มีการศึกษา​ผูปวย ADPKD 230 ราย​ใน​ชวงอายุ​ระหวาง 15 ถึง 46 ป พบ​วา​มี hepatic cysts ได​ ถึง​รอยละ 8327 สวน​อุบัติ​การณ​การ​เกิด hepatic cyst ไม​แตก ตางกัน​ระหวาง​เพศ แต​เพศหญิง​มี​โอกาส​เกิด hepatic cyst ใน​ ชวงอายุ​นอยกวา และ hepatic cyst มัก​มี​ขนาด​โตขึ้น​ใน​กลุม​ ผูปวย​หญิง​ตั้งครรภ24,25,27 สันนิษฐาน​วา การ​โต​ของ hepatic cyst นาจะ​เกี่ยวของ​กับ​ระดับ​ฮอรโมน estrogen28 นอกจากนี้​ขนาด​ของ hepatic cysts เพิ่มขึ้น​แปรผัน​ตาม​ขนาด​ของ renal cyst การ​เกิด hepatic cysts ใน ADPKD แตกตางจาก autosomal dominant polycystic liver disease (ADPLD) คือ ADPLD ไม​เกี่ยวของ​ กับ​การ​เกิด​พยาธิ​สภาพ​ทางไต สมอง และ​การ​เกิด mutation ของ​ ยีน​ดังกลาว​ใน ADPKD Cardiac valvular disease ผูปวย ADPKD พบ mitral valve prolapsed มาก​ที่สุด​ถึง​ รอยละ 25 และ​มี​รายงาน​ตรวจ​พบ aortic root dilatation สวน ใหญ​ผูปวย​มี​อาการ​ไม​รุนแรง และ​นอยมาก​ที่​จำ�เปน​ตอง​ทำ� valve
  • 5. เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555 Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 43 replacement29 การ​ตรวจ echocardiography ไม​จำ�เปน​ตอง​ ทำ�​ใน​ผูปวย​ทุกราย ให​ทำ�​เมื่อ​ตรวจ​รางกาย​สงสัย​วา​จะ​มี cardiac valvular disease Colonic diverticulum ผูปวย ADPKD พบ colonic diverticulum ได​บอย3,8,14,30,31 โดยเฉพาะ​ใน​ผูปวยไต​เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย​ที่​ไดรับ​การ​บำ�บัด​ทดแทน​ ทางไต14 อุบัติ​การณ​ไมได​เพิ่มขึ้น​ใน​กลุม​ผูปวย​ที่​ไมได​เขาสู​ภาวะไต​ เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย30 อาการ​ที่​นำ�​ผูปวย​มา​พบ​แพทย​คือ อาการ​ปวด ทอง ถาย​เหลว ตรวจ​อุจจาระ​พบ​หลักฐาน​ของ​เลือดออก​ใน​ระบบ​ทาง​ เดิน​อาหาร ภาวะ​แทรกซอน​ที่​สำ�คัญ​คือ colonic perforation มี​ โอกาส​เกิด​สูงกวา​ผูปวย diverticulum ที่​ไมได​เปน ADPKD และ​ โอกาส​เกิด​เพิ่มขึ้น​ตามหลัง​การ​ปลูกถายไต3,14 Abdominal wall และ inguinal hernia Abdominal wall และ inguinal hernia พบ​รอยละ 45 ใน​ ผูปวย ADPKD มี​อุบัติ​การณ​เกิด​สูงกวา​ผูปวยไต​เรื้อรัง​จาก​สาเหตุ​ อื่น32 โดยเฉพาะ​อยางยิ่ง​ใน​ผูปวย ADPKD ที่​รักษา​ดวย continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) ยิ่ง​เปน​ปจจัย​เสี่ยง​ ตอ​การ​เกิด indirect inguinal hernia เพิ่มขึ้น31 อาการ​แสดง​นอกไต​อื่นๆ ผูปวย ADPKD มี​โอกาส​เกิด ovarian cyst 33,34 และ​ การ​เจริญ​พันธุ​ไม​แตกตางจาก​ประชากร​ปกติ อาจ​พบ amotile spermatozoas และ ectopic pregnancy ได​เพิ่มขึ้น การ​วินิจฉัย เกณฑ​ใน​การ​วินิจฉัย ADPKD มี​ดังนี้ 1. ประวัติ​สมาชิก​ใน​ครอบครัว​จาก​ญาติ​สาย​ตรง​เปน ADPKD 2. ตรวจ​พบ​ถุง​น้ำ�​ที่ไต ทั้ง​ใน​สวน cortex และ medulla การ​วินิจฉัย​อาศัย​การ​ตรวจ​อัลตรา​ซาวดไต​เปน​วิธีการ​ตรวจ​ที่​ดี​ ใน​การ​วินิจฉัย ADPKD การ​ตรวจ​พบ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ตอง​วินิจฉัย​แยก​ โรค​จาก 1) simple renal cyst มัก​พบ​ใน​ผู​ที่​มีอายุ​มากกวา 50 ป ถุง​น้ำ�​มักจะ​กลม และ​มี​ขอบ​เรียบ บางครั้ง​พบ​ได​ใน​ผูปวย​โรคไต​ เรื้อรัง 2) polycystic kidney disease ไดแก ADPKD และ autosomol recessive polycystic kidney disease (ARPKD) Von hippel –Lindeu disease เปน​โรค​ทาง​พันธุกรรม โดย​มี ความผิด​ปกติ​รวม​คือ cerebellar หรือ retinal hemangioblastomas, pheochromocytoma และ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ตั้งแต​อายุ​นอย สวน pheochromocytoma มัก​ไมมี​อาการ​ทาง​คลินิก ที่​สำ�คัญ​คือ renal carcimona พบ​สูง​ถึง​รอยละ 70 ของ​ผูปวย​ที่​อายุ​มากกวา 60 ป Tuberous sclerosis เปนความ​ผิด​ปกติ​ของ gene 2 ตำ�แหนง คือ TSC1 (tuberous sclerosis protein 1) เปนความ​ผิด​ปกติ​บน chromosome 9 และ TSC2 เปนความ​ผิด​ปกติ​บน chromosome 16 ใกล​ตำ�​แนง​ของ PKD1gene35 นอกจาก​ถุง​น้ำ�​ในไต​แลว ยัง​พบ adenoma sebaceum บริเวณ​ผิวหนัง angiomyolipoma บริเวณ ไต​หรือ​สมอง โดย​โอกาส​เกิด​มะเร็ง​จาก​พยาธิ​สภาพ​ในไต​นอยมาก จาก​งานวิจัย​ของ Ravine และ​คณะ ได​รวบรวม​ผล​การ​ตรวจ​ อัลตรา​ซาวด​ใน​ผูปวย​ที่​สงสัย​เปน ADPKD โดย​ตอง​มี​ญาติ​สาย​ตรง หรือ​บิดา มารดา​เปน​โรค ADPKD ที่​มี mutation ของ​ยีน PKD1 โดย​เกณฑ​การ​วินิจฉัยโรค​ดัง​ตาราง​ที่ 1 (original Ravine’s PKD1 diagnostic criteria) การ​วินิจฉัย​ดังกลาว กรณี​การ​ตรวจ​ไม​พบ cysts ใน​ผูปวย​อายุ​ นอยกวา 30 ป ไม​สามารถ​ตัด​ภาวะ ADPKD ได ขอดี​ของ​เกณฑ​นี้​ คือ​มี​ความ​จำ�เพาะ​สูง ความ​ไว​ต่ำ� โดยเฉพาะ​ผูปวย​อายุ​นอย และ​ ขอมูล​นี้​ได​จาก​ผูปวย ADPKD ที่​มี mutation ของ PKD1 เปน​ สวนใหญ ดังนั้น​จึง​ยัง​ไม​ชัดเจน​วา​จะ​นำ�มาใช​ใน​ผูปวย ADPKD ชนิด​ที่สอง​ได​หรือไม รวมทั้ง​กรณี​ไม​ทราบ​ชนิด mutation ที่​เกิด ขึ้น​ใน​ครอบครัว จึง​ได​ปรับปรุง​เกณฑ​วินิจฉัย​ใหม36 เพื่อ​เพิ่ม​ความ​ จำ�เพาะ และ​สามารถ​นำ�มา​ใชกับ​ผูปวย ADPKD ที่​มี mutation ของ PKD2 ได โดย​มี​หลักเกณฑ​การ​วินิจฉัยโรค​ดัง​ตาราง​ที่ 2 3. DNA study ปจจุบัน​การ​วินิจฉัยโรค​จาก​การ​ตรวจ​ทาง​ยีน หรือ DNA ใน​ โรค ADPKD แบง​เปน 2 วิธี​หลัก​คือ 3.1 Indirect analysis (linkage analysis) ตาราง​ที่ 1 การ​วินิจฉัย ADPKD ตาม Ravine criteria ใน​ผูปวย​ที่​มี​ประวัติ​ครอบครัว ADPKD ที่​มี mutation ของ​ยีน PKD1 อายุ (ปี) จำ�นวน renal cyst 15-29 ≥ 2 cysts ไต​ขางเดียว​หรือ​ไต​ทั้งสอง​ขาง 30-59 ≥ 2 cysts ในไต​แตละ​ขาง ≥ 60 ≥ 4 cysts ในไต​แตละ​ขาง
  • 6. อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012 44 เปน​วิธีการ​ตรวจ​โดย​อาศัย indirect evidence ไมได​ เปนการ​ตรวจ​ความ​ผิด​ปกติ​ของ​ยีน (mutation) โดย​ตรง หลัก การ​คือ ถา​มี DNAs ที่​รู​ตำ�แหนง​แนนอน​อยู​ใกล​กับ PKD1 หรือ PKD2 gene ที่​ตองการ​ตรวจ ถา marker นั้น​อยู​ใกล​กับ PKD1 มากๆ หรือ​ติดกัน​เลย พบ​วา marker นั้น​ยอม​กระจาย​ไป​กับ PKD1 ทุกๆ ครั้ง​ที่​มี mitosis หรือ meiosis คุณสมบัติ​ที่​สำ�คัญ​ขอ​ที่ 2 ของ marker คือ จะ​ตอง​มี​ลักษณะ polymorphic หมายความวา​ จะ​ตอง​มี variation ใน​ตัว marker เอง ยกตัวอยาง marker ที่​ นิยม​ใช​ใน​ปจจุบัน​คือ microsatellite marker โดย​สวนใหญ​เปน marker ที่อยู​ใน intron มัก​มี​ลักษณะ repeated dinucleotide หรือ trinucleotide คือ​มี​ความ​ซ้ำ�ๆ ของ base pair เชน AC AC AC หรือ ACC ACC ACC โดย​จำ�นวน repeat นั้น จะ​ แตกตาง​ไป​ใน​แตละบุคคล แตละ​เชื้อชาติ เชน บุคคล​หนึ่ง​อาจ​มี dinucleotide repeats ของ marker A = 2-3 อีก​บุคคล​หนึ่ง​จะ​ มี dinucleotide repeats = 1,4 เรา​อาศัย​คุณสมบัติ​ขอ​นี้​ที่​เรียก วา polymorphic มา​เปน​เครื่องมือ​ใน​การ​ทำ� linkage analysis แต​การ​ทำ�​ก็​มี​ขอจำ�กัด​คือ 1. จำ�เปน​ตอง​อาศัย​ความ​รวมมือ​ของ​สมาชิก​ตางๆ ใน​ ครอบครัว​ผูปวย โดย​การ​ที่​มี​สมาชิก​มาก​เทาใด การ​ทำ�นาย​ก็​จะ​ยิ่ง​ แมนยำ� 2. Close-link markers การ​เลือก markers ใน​การ​ทำ� linkage analysis จำ�เปน​ ตอง​เลือก markers ที่อยู​กับ​ยีน​นั้น ถา markers ที่​เรา​เลือก​อยู​หาง​ จาก​ยีน​มาก​อาจ​ทำ�ใหเกิด​การ crossing over ของ chromosome ทำ�ให​มี​การ​ไขว​สลับ​เอา genetic information ของ chromosome อีก​ขาง​เขามา ทำ�ให DNA markers ไม​กระจาย​ไป​กับ PKD gene 3. Informative marker คือ markers ที่​เลือก​อาจ​ไม polymorphic พอ หรือ ไม variation เพียงพอ สงผล​ใหการ​ทำ� typing โดย marker ตัว​ นี้​ไมมี​ประโยชน 3.2 Direct mutation detection37 ปจจุบัน​ทำ�ได 3 วิธี คือ 3.2.1 DNA approach 3.2.2 RNA approach 3.2.3 Protein approach ปญหา​คือ​ความ​ลำ�บาก​ใน​การ​ทำ� mutation detection ของ PKD1 ใน​ระดับ DNA เนื่องจาก A. Size ขนาด​ของ genomic DNA มี​ขนาด​ใหญมาก ดังนั้น​การ​ตรวจ​ตอง​อาศัย​เวลา​นาน ใน​การ​ตรวจ​ทีละ axon ไป​เรื่อยๆ B. Presence of the homologous ถา​ดู​จาก​ลักษณะ PKD1 gene จะ​พบ sequence ที่​ปลาย 3 end มี​ เฉพาะที่ PKD1 locus เทานั้น สวน sequence ที่​ ปลาย 5 end จะ​มี sequence ที่​มี​ความ​ซ้ำ�​ไม​จำ�เพาะ​ สำ�หรับ PKD1 locus C. High cytidine and guanosine (GC rich content) ทำ�ให​ยาก​ตอ​การ amplification โดย PCR ทั่วๆ ไป D. Presence of unusual DNA sequence repeats Polypytimidine ประกอบดวย cytidine และ thymidine จำ�นวน​มากๆ ประมาณ​รอยละ 96 ทำ�ใหเกิด​รูปราง​เปน unusual DNA structure โครงสราง​ดังกลาว​ยาก​ตอ​การ amplify sequence ขาม intron นี้​ไป​ได สวน​ขอจำ�กัด​ของ​การ​ทำ� mutation detection อื่นๆ คือ คา​ ใชจาย​สูง ใช​ระยะเวลา​นาน​ใน​การ​ตรวจ และ​ขั้นตอน​การ​ตรวจ​มี​ ความ​ยุงยาก ดังนั้น mutation detection จึง​ไมเหมาะ​ใน​การ​ ตรวจ​คัด​กรอง​ผูปวย ADPKD จึง​แนะ​นำ�สง​ตรวจ​ดวย​วิธี linkage analysis มากกวา การ​รักษา38 ปจจุบัน​ยัง​ไมมี​การ​รักษา​เฉพาะที่​ไดผล​ใน​ผูปวย ADPKD แพทย​ ตาราง​ที่ 2 การ​วินิจฉัย ADPKD ใน​ผูปวย​ที่​มี​ประวัติ​ครอบครัว ADPKD อายุ (ปี) จำ�นวน renal cyst PPV ความไว ความจำ�เพาะ 15-39 ≥ 3 cysts ​ไต​ขางเดียว​หรือ​ไต​ทั้งสอง​ขาง 100 100 82-96 40-59 ≥ 2 cysts ในไต​แตละ​ขาง 100 90 100 ≥ 60 ≥ 4 cysts ในไต​แตละ​ขาง 100 100 100 PPV: positive predictive value
  • 7. เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555 Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 45 ควร​ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต และ​ตรวจหา​ภาวะ​แทรกซอน​ตางๆ ที่​ สำ�คัญ รวมทั้ง​การ​ใหคำ�ปรึกษา​แนะ​นำ�ทาง​ดาน​พันธุศาสตร (genetic counseling) และ​คำ�​แนะนำ�​เกี่ยวกับ​การ​ออกกำ�ลังกาย เพื่อ​หลีก เลี่ยง​ภาวะ​แทรกซอน​จาก​ถุง​น้ำ�​ในไต​แตก​ได 1. การ​เพิ่ม​ปริมาณ​น้ำ�ดื่ม แนะนำ�​ผูปวย​ควร​ดื่ม​น้ำ�​ให​เพียงพอ มากกวา 3 ลิตร​ตอ​วัน กรณี​ผูปวย​มี​การ​ทำ�งาน​ของไต​นอยกวา 15 มล./นาที ตอ 1.73 ตารางเมตร ควร​ลดปริมาณ​น้ำ�ดื่ม​ลง เชื่อ​วา การ​ดื่ม​น้ำ�​ที่​เพียงพอ สามารถ​ลดระดับ vasopressin ใน​เลือด มี ผลตอ​การ​ลด​อัตรา​การ​โต​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต และ​การ​เกิด​นิ่ว​ในไต​ได 2. การ​ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต ระยะแรก​ที่ไต​ทำ�งาน​ปกติ​สามารถ​ ใช​ยา​ลด​ความ​ดัน​โลหิต​ได​เหมือนกับ​การ​รักษา​ผูปวย​ความ​ดัน​โลหิต​ สูง​ทั่วไป โดย JNC 7 และ KDOQI แนะนำ�​ควบคุม​ระดับ​ความ​ดัน​ โลหิต​ต่ำ�กวา 130/80 มม.ปรอท โดย​เลือก​ใช​ยา​กลุม angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) หรือ angiotensin receptor blocker (ARB) เนื่องจาก​ชวย​ลดระดับ​โปรตีน​ใน​ปสสา​วะ และ​ยัง​ชวย​ชะลอ​ความ​เสื่อม​ของไต แต​เมื่อไต​ทำ�งาน​นอยลง ตอง​ ระมัดระวัง​ใน​การ​ใช​ยา39 เมื่อ​การ​ทำ�งาน​ของไต​ลดลง​เกิด​การ​คั่ง​ของ​ โซเดียม​ใน​รางกาย​จึง​ควร​เลือก​ใช​ยา​ขับ​ปสสาวะ​รวมดวย เพื่อ​ชวย​ ควบคุม​ความ​ดัน​โลหิต​ได​งาย​ขึ้น40 3. การ​รักษา​อาการ​ปวด อาการ​ปวด​ใน​ผูปวย ADPKD ควร​ หา​สาเหตุ​ทุกราย อาจ​เกิด​จาก​นิ่ว​ในไต การ​ติดเชื้อ​อักเสบ เลือด ออก​ใน​ถุง​น้ำ� และ​มะเร็ง โดย​ทั่วไป​ยา​ลด​อาการ​ปวด​มัก​ไดผล ยา แกปวด​ที่​แนะนำ�​ที่​ไมมีผล​เสีย​ตอไต​คือ ยา​กลุม narcotic, tricyclic antidepressants ถา​ปวด​มาก​โดย​ไมมี​ภาวะ​แทรกซอน​อื่นๆ แนะนำ�​ ให​ทำ�การ​เจาะ​ถุง​น้ำ� โดย​วิธี Rosiving ซึ่ง​เคย​เลิกใช​ไป​ระยะเวลา​ หนึ่ง เพราะ​มี​รายงาน​การ​เกิด​ภาวะไต​วาย​ได ระยะหลัง​มี​ผู​นำ�มาใช​ ใหม และ​ไดผล​ดี​ใน​ผูปวย​บางราย29 วิธี​นี้​ยัง​ไม​เปน​ที่ยอมรับ​โดย​ ทั่วไป สวน​การ​ผาตัดไต​ออก​อาจ​พิจารณา​ใน​ผูปวยไต​เรื้อรัง​ระยะ​ สุดทาย​ที่​รักษา​เบื้องตน​แลว​ไม​ดีขึ้น 4. การ​รักษา​ภาวะ​เลือดออก​ใน​ถุง​น้ำ�​ในไต ภาวะ​เลือดออก​ ใน​ถุง​น้ำ�​มัก​เกิด​จาก​ถุง​น้ำ�​แตก​เขาไป​ใน​กรวยไต อาจ​เกิด​จาก​นิ่ว ภาวะ​ติดเชื้อ หรือ​มะเร็ง​ได หลักการ​รักษา​คือ ให​ผูปวย​นอน​พัก ให​สาร​น้ำ� และ​ยา​ลด​อาการ​ปวด​อยาง​เพียงพอ กรณี​ผูปวย​อาการ​ รุนแรง และ​สัญญาณ​ชีพ​ไม​คงที่ หรือ​ความ​เขมขน​เลือด​ลดลง ควร​ให​ นอน​รักษาตัว​ใน​โรงพยาบาล และ​อาจ​ตอง​ทำ� segmental arterial embolization 5. การ​รักษา​ภาวะ​ติดเชื้อ​ใน​ถุง​น้ำ�​ในไต ยา​ที่​ควร​เลือก​ใช​ขึ้น กับ​ชนิด​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต คือ ถุง​น้ำ�​ที่เกิด​จาก proximal tubule ซึ่ง​เปน​ชนิด non gradient สวน​ถุง​น้ำ�​จาก distal tubule เปน​ ชนิด gradient มี​คุณสมบัติ​ไม​เหมือนกัน41 ยา​ตาน​จุลชีพ​สวนใหญ​ ผาน​ถุง​น้ำ�​ชนิด non gradient ได​ดีกวา สวน​ยา​ที่​ผาน​ถุง​น้ำ�​ชนิด gradient ได คือ​ยา​ที่​เปน lipid soluble เชน clindamycin, chloramphenicol, ciprofloxacin, erythromycin, tetracycline และ sulfa-trimethoprim การ​รักษา​ภาวะ​ติดเชื้อ​ควร​เปนเวลา​อยาง​ นอย 3 สัปดาห ถา​อาการ​ไม​ดีขึ้น​ควร​พิจารณา​ทำ� percutaneous หรือ surgical drainage ใน​กรณี​ผูปวยไต​เรื้อรัง​ระยะ​สุดทาย​อาจ​ พิจารณา​ผาตัดไต​ออก ถา​อาการ​ไม​ทุเลา22 6. การ​รักษา​ภาวะไต​เรื้อรัง การ​รักษา​ภาวะไต​เรื้อรัง​จาก ADPKD เชน​เดียว​กับ​การ​รักษาไต​เรื้อรัง​จาก​สาเหตุ​อื่นๆ สามารถ​รักษา​ดวย​ วิธีการ​ลางไต​ทาง​หนาทอง ฟอกเลือด​ดวย​เครื่อง​ไตเทียม หรือ การ​ ผาตัด​เปลี่ยนไต พบ​วา​ไดผล​ใกลเคียง​กับ​โรค​อื่นๆ ภาวะ​แทรกซอน คือ การ​ติดเชื้อ เปนสาเหตุ​การ​เสียชีวิต​อันดับแรก รอง​ลงมา​คือ โรค​หลอดเลือด​หัวใจ​อุดตัน42 แนวทาง​การ​รักษา​ใหม​ใน​ผูปวย ADPKD การ​รักษา​ดวย Mammalian target of rapamycin (MTOR) inhibitor mTOR มี​ความ​สำ�คัญตอ cell proliferation และ cyst growth ผูปวย ADPKD มีความผิด​ปกติ​ใน mTOR pathway ดัง​รูป​ที่ 1 แสดงใหเห็น​วาการ​กระตุน​ผาน​ทาง growth factors สงผลให phosphatidyllinositol 3 kinase (PI3K) กระตุน​ให protein kinase B (Akt) ไป​ยับยั้ง​การ​ทำ�งาน​ของ TSC ทำ�ให​ไม​สามารถ​ ยับยั้ง Ras homology enriched brain (Rheb) จึง​เกิด​การ​กระ ตุน mTOR pathway ในทาง​ตรงกันขาม​การ​ขาด​พลังงาน​มี​ผล​ ให adenosine monophosphate activated protein kinase (AMPK) กระตุน​การ​ทำ�งาน​ของ TSC ยับยั้ง mTOR pathway การ​คนพบ​วา PC1 ปกติ​จะ​ทำ�​ปฏิกิริยา​กับ tuberin และ​การ​ขัด ขวาง​ปฏิกิริยา​นี้ ทำ�ใหเกิด mTOR activation ใน​ผูปวย ADPKD การ​ให mTOR inhibition ใน​สัตว​ทดลอง พบ​วา recessive PKD2 ดีขึ้น มี​ขอมูล​แสดงใหเห็น​วา​ขนาด​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ใน​ผูปวย ADPKD หลัง​ผาตัด​ปลูกถายไต และ​ไดรับ rapamycin ลดลง เมื่อ​เทียบ กับ​กลุม​ที่​ไม​ไดรับ​ยา43 จาก​รายงาน​ผูปวย ADPKD หลัง​ไดรับ​ยา rapamycin สามารถ​ลด​ขนาด​ถุง​น้ำ�​ในไต​จาก 1,026 มิลลิลิตร​เหลือ 785 มิลลิลิตร และ​สามารถ​ชะลอ​ความ​เสื่อม​ของไต​ได54
  • 8. อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012 46 จาก​การ​ศึกษา SIRENA study เปนการ​เปรียบเทียบ​การ​รักษา​ ผูปวย ADPKD จำ�นวน 21 ราย ที่​มี​คา​อัตรา​การ​กรอง​ของไต​มากกวา 40 มล.ตอ​นาที ตอ 1.73 ตารางเมตร แบง​เปน 2 กลุม​คือ กลุม​ แรก​รักษา​ดวย sirolimus เปน​ระยะเวลา 6 เดือน กับ​กลุม​สอง​ คือ กลุม​ควบคุม พบ​วา อัตรา​การ​เพิ่ม​ของ​ขนาดไต​ชา​ลง​ใน​กลุม​ ที่​ไดรับ sirolimus แตกลับ​พบ albuminuria และ proteinuria เพิ่ม​มากขึ้น​ใน​กลุม​ที่​ไดรับ​ยา sirolimus ดวย26 จาก​การ​ศึกษา​ของ CRITIQUE มากกวา​ครึ่ง​หนึ่ง​ของ​ผูปวย​ เปน​โรคไต​เรื้อรัง​ระยะ 3-4 และ​จาก​ขอมูล​ของ CRISP (The consortium for radiologic imaging studies of polycystic kidney disease) แสดงใหเห็น​วา​ใน​ผูปวย ADPKD ที่​มี​โรคไต​ เรื้อรัง​ระยะ​ทายๆ ถือวา​เปน late phenomenon ดังนั้น​การ​รักษา​ ดวย mTOR inhibitor ใน​ผูปวย​กลุม​ดังกลาว​จึง​ไมได​รับประโยชน​ จาก​การ​รักษา44 จาก​การ​ศึกษา Suisse Study ใน​ผูปวย​ที่​มีอายุ 18-40 ป จำ�นวน 100 ราย ที่​มี​ระดับ​คา​อัตรา​การ​กรอง​ของไต​มากกวา 70 มล./นาที ตอ 1.73 ตารางเมตร หรือไต​เรื้อรัง​ระยะ 1-3 โดย​ดู​การ​ เปลี่ยนแปลง​ขนาดไต​จาก​การ​วัด​ดวย high resolution MRI และ secondary outcome ดู​อัตรา​การ​กรอง​ของไต และ​ผล​ขางเคียง​ ของ​การ​รักษา พบ​วา ขนาด​ของไต​ไมมี​ความ​แตกตางกัน​ระหวาง​ กลุม​ที่​ไดรับ​ยา sirolimus กับ​กลุม​ควบคุม​หลัง​ติดตาม​การ​รักษา​ เปน​ระยะเวลา 18 เดือน ดังนั้น​จาก​การ​ศึกษา​นี้​แสดงใหเห็น​วา​ยา sirolimus ไม​ชวย​ลด​อัตรา​การ​เจริญ​เติบโต​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต​ใน​ผูปวย ADPKD ที่​มีไต​เรื้อรัง​ระยะตน ใน​การ​ศึกษา​นี้​ใช​ยา sirolimus ขนาด​ ต่ำ�กวา​มาตรฐาน​ทั่วไป​คือ trough level 4-10 ไมโครกรัม/ลิตร45 การ​รักษา​ดวย vasopressin V2 receptor (VPV2R) เมื่อ vasopressin จับ​กับ VPV2R มี​ผล​ใน​การ​เพิ่ม​ระดับ CAMP ใน​เซลล​ทำ�ให​ถุง​น้ำ�​เจริญ​เติบโต ดังนั้น​ยา​ยับยั้ง​การ​ทำ�งาน​ ของ vasopressin นาจะ​มี​ผล​ยับยั้ง​การ​เจริญ​ของ​ถุง​น้ำ�​ได คาดวา​ ไม​มีผลตอ​ขนาด​ถุง​น้ำ�​ใน​ตับ เนื่องจาก​ตับ​ไมมี VPV2R46,47 จาก​การ​ ศึกษา ของ Gattone และ​คณะ พบ​วา ยา OPC-31260 ซึ่ง​เปน VPV2R antagonist สามารถ​ปองกัน และ​ชะลอ​การ​เกิด cyst ใน​สัตว​ทดลอง​เกิด ADPKD ได จาก​การ​ศึกษา​ถึง​ประสิทธิภาพ​ของ​ยา tolvaptan ซึ่ง​เปน VPV2R antagonist ใน​ผูปวย​อยาง​นอย 1,200 ราย อายุ 18-50 ป แบง​ เปนกลุม​ที่​ไดรับ tolvaptan และ​ยา​หลอก เปน​ระยะเวลา 3 ป โดย​ผูปวย​มี​อัตรา​การ​กรอง​ของไต​มากกวา 60 มล./นาที ตอ 1.73 ตารางเมตร และ​ขนาดไต​มากกวา 750 มล. ขณะนี้​การ​ศึกษา​ดัง กลาว​อยู​ใน​ระหวาง​การ​ศึกษา Somatostatin จาก​การ​ศึกษา​แบบ randomized clinical trial เพื่อ​ศึกษา​ผล​ ของ long acting somatostatin ใน​การ​รักษา ADPKD ที่​มี​ถุง​น้ำ�​ รูป​ที่ 1 การ​กระตุน mTOR pathway ใน​การ​เกิด cell growth และ proliferation
  • 9. เวชสารแพทยทหารบก ปที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2555 Diagnosis and Treatment of Autosomal Dominant Polycystic Kidney Disease 47 ที่ไต และ​ตับ จำ�นวน 42 ราย พบ​วา กลุม​ที่​ได somatostatin ชวย​ ชะลอ​ขนาด​ของ​ถุง​น้ำ�​ในไต (total kidney volume) มากกวา​กลุม​ ควบคุม อีกทั้ง​ยัง​ลด​ขนาด​ถุง​น้ำ�​ใน​ตับ (total liver volume) ดวย4 ErbB receptor tyrosine kinase inhibitors EGF และ TGF-beta พบ​วา​สามารถ​ทำ�ให​เพิ่มขนาด​และ​ จำ�นวน​ถุง​น้ำ�​ได จึง​มี​การ​ทดลอง​ใช EGF receptor tryorine kinase inhibitors ใน​สัตว​ทดลอง​ชนิด Han:SPRD และ PCK พบ​วา สามารถ​ชะลอ​ขนาด​ของไต​ใน​หนู​ชนิด Han:SPRD แต​ไม​ มีผลตอไต​ของ​หนู​ชนิด PCK ดังนั้น​บทบาท​ของ​ยา​กลุม​นี้​คง​ตอง​ รอ​การ​ศึกษา​เพิ่มเติม สรุป ADPKD เปน​โรค​พันธุกรรม​ที่​มีความผิด​ปกติ​ระดับ​ยีน (mutation ที่ PKD1 หรือ PKD2 gene) และ​มี​การ​แสดงออก​ใน​หลายๆ อวัยวะ ใน​แตละบุคคล​ก็​มี​การ​แสดงออก และ​ความ​รุนแรง​ที่​แตกตางกัน​ ไป การ​ตรวจ​คัด​กรอง​หา​ยีน mutation ชวย​ใน​การ​วินิจ​โรค​กอน​ มี​อาการ และ​อาการ​แสดง​ได เพื่อให​ทราบ​ถึง​ความ​เสี่ยง​ตอ​การ​เกิด​ โรค ปจจุบัน​มีการศึกษา ADPKD กัน​อยาง​กวางขวาง​ทำ�ใหเกิด​ วิทยา​การ​ใหมๆ ทั้ง​ทาง​ดาน​การ​ตรวจคน​ยีน​เพื่อ​ชวย​ใน​การ​วินิจฉัย สงผลให​เกิด​ประโยชน​ทั้ง​ในดาน​การ​ใหคำ�ปรึกษา​รวมถึง​การ​รักษา​ ที่​ได มี​การ​พัฒนา​คิดคน​ยา​ใหมๆ อยาง​ตอเนื่อง ชวย​ใหการ​ดูแล รักษา​ผูปวย ADPKD เปนไป​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ​มากขึ้น ขอ​เสนอแนะ ADPKD เปน​โรค​ทาง​พันธุกรรม​ที่​พบ​ได​บอย ความรู​เกี่ยวกับ​ ยีน การ​ถายทอด​ทาง​พันธุกรรม พยาธิวิทยา ลักษณะ​ทาง​คลินิก การ​ดำ�เนิน​โรค มีการศึกษา​กัน​อยาง​ตอเนื่อง​กอ​ให​เกิด​ความ​กาวหนา​ ทาง​วิชาการ​อยาง​รวดเร็ว จึง​มี​ความ​จำ�เปน​อยางยิ่ง​ที่​ควร​มีความรู ความ​สนใจ และ​ติดตาม​ความรู​ทาง​วิชาการ อยาง​สม่ำ�เสมอ เพื่อ​ ชวย​ใหการ​ดูแลรักษา​ผูปวย​มี​มาตรฐาน​ใน​ทิศทาง​เดียวกัน เอกสาร​อางอิง 1. Bergmann C, Zerres K. Early manifestations of polycystic kidney disease. Lancet 2007;369:2157. 2. Harris PC, Torres VE. Polycystic kidney disease. Annu Rev Med 2009;60:321-37. 3. Low SH, Vasanth S, Larson CH, et al. Polycystin-1, STAT6, and P100 function in a pathway that transduces ciliary mechanosensation and is activated in polycystic kidney disease. Dev Cell 2006;10:57- 69. 4. Torres VE, Harris PC, Pirson Y. Autosomal dominant polycystic kidney disease. Lancet 2007;369:1287-301. 5. Li Q, Montalbetti N, Wu Y, et al. Polycystin-2 cation channel function is under the control of microtubular structures in primary cilia of renal epithelial cells. J Biol Chem 2006;281:37566-75. 6. Kottgen M. TRPP2 and autosomal dominant polycystic kidney disease. Biochim Biophys Acta 2007;1772:836-50. 7. Wei W, Hackmann K, Xu H, Germino G, Qian F. Characterization of cis-autoproteolysis of polycystin-1, the product of human polycystic kidney disease 1 gene. J Biol Chem 2007;282:21729-37. 8. Du J, Ding M, Sours-Brothers S, Graham S, Ma R. Mediation of angiotensin II-induced Ca2+ signaling by polycystin 2 in glomerular mesangial cells. Am J Physiol Renal Physiol 2008;294:F909-18. 9. Lal M, Song X, Pluznick JL, et al. Polycystin-1 C-terminal tail associates with beta-catenin and inhibits canonical Wnt signaling. Hum Mol Genet 2008;17:3105-17. 10. Wilson PD. Polycystic kidney disease. N Engl J Med 2004;350:151- 64. 11. Grantham JJ. Polycystic kidney disease: I. Etiology and pathogenesis. Hosp Pract (Off Ed) 1992;27:51-9. 12. Carone FA, Nakamura S, Caputo M, Bacallao R, Nelson WJ, Kanwar YS. Cell polarity in human renal cystic disease. Lab Invest 1994;70:648-55. 13. Avner ED, Sweeney WE, Jr., Nelson WJ. Abnormal sodium pump distribution during renal tubulogenesis in congenital murine polycystic kidney disease. Proc Natl Acad Sci U S A 1992;89:7447- 51. 14. Pei Y, Watnick T, He N, et al. Somatic PKD2 mutations in individual kidney and liver cysts support a “two-hit” model of cystogenesis in type 2 autosomal dominant polycystic kidney disease. J Am Soc Nephrol 1999;10:1524-9. 15. Bell PE, Hossack KF, Gabow PA, Durr JA, Johnson AM, Schrier RW. Hypertension in autosomal dominant polycystic kidney disease. Kidney Int 1988;34:683-90. 16. Gabow PA, Chapman AB, Johnson AM, et al. Renal structure and hypertension in autosomal dominant polycystic kidney disease. Kidney Int 1990;38:1177-80. 17. Fick GM, Gabow PA. Hereditary and acquired cystic disease of the kidney. Kidney Int 1994;46:951-64. 18. Watson ML. Complications of polycystic kidney disease. Kidney Int 1997;51:353-65. 19. Chapman AB, Rubinstein D, Hughes R, et al. Intracranial aneurysms in autosomal dominant polycystic kidney disease. N Engl J Med 1992;327:916-20.
  • 10. อาจารี ชัย​กิตติ​ภรณ และ บัญชา ​สถิระ​พจน Royal Thai Army Medical Journal Vol. 65 Vol. 1 January-March 2012 48 20. Schievink WI, Torres VE, Piepgras DG, Wiebers DO. Saccular intracranial aneurysms in autosomal dominant polycystic kidney disease. J Am Soc Nephrol 1992;3:88-95. 21. Huston J, 3rd , Torres VE, Sulivan PP, Offord KP, Wiebers DO. Value of magnetic resonance angiography for the detection of intracranial aneurysms in autosomal dominant polycystic kidney disease. J Am Soc Nephrol 1993;3:1871-7. 22. Ring T, Spiegelhalter D. Risk of intracranial aneurysm bleeding in autosomal-dominant polycystic kidney disease. Kidney Int 2007;72:1400-2. 23. Graf S, Schischma A, Eberhardt KE, Istel R, Stiasny B, Schulze BD. Intracranial aneurysms and dolichoectasia in autosomal dominant polycystic kidney disease. Nephrol Dial Transplant 2002;17:819-23. 24. Gabow PA, Johnson AM, Kaehny WD, Manco-Johnson ML, Duley IT, Everson GT. Risk factors for the development of hepatic cysts in autosomal dominant polycystic kidney disease. Hepatology 1990;11:1033-7. 25. Everson GT. Hepatic cysts in autosomal dominant polycystic kidney disease. Am J Kidney Dis 1993;22:520-5. 26. Chauveau D, Fakhouri F, Grunfeld JP. Liver involvement in autosomal-dominant polycystic kidney disease: therapeutic dilemma. J Am Soc Nephrol 2000;11:1767-75. 27. Bae KT, Zhu F, Chapman AB, et al. Magnetic resonance imaging evaluation of hepatic cysts in early autosomal-dominant polycystic kidney disease: the Consortium for Radiologic Imaging Studies of Polycystic Kidney Disease cohort. Clin J Am Soc Nephrol 2006;1:64-9. 28. Sherstha R, McKinley C, Russ P, et al. Postmenopausal estrogen therapy selectively stimulates hepatic enlargement in women with autosomal dominant polycystic kidney disease. Hepatology 1997;26:1282-6. 29. Bennett WM, Elzinga L, Golper TA, Barry JM. Reduction of cyst volume for symptomatic management of autosomal dominant polycystic kidney disease. J Urol 1987;137:620-2. 30. Sharp CK, Zeligman BE, Johnson AM, Duley I, Gabow PA. Evaluation of colonic diverticular disease in autosomal dominant polycystic kidney disease without end-stage renal disease. Am J Kidney Dis 1999;34:863-8. 31. Modi KB, Grant AC, Garret A, Rodger RS. Indirect inguinal hernia in CAPD patients with polycystic kidney disease. Adv Perit Dial 1989;5:84-6. 32. Morris-Stiff G, Coles G, Moore R, Jurewicz A, Lord R. Abdominal wall hernia in autosomal dominant polycystic kidney disease. Br J Surg 1997;84:615-7. 33. Stamm ER, Townsend RR, Johnson AM, Garg K, Manco-Johnson M, Gabow PA. Frequency of ovarian cysts in patients with autosomal dominant polycystic kidney disease. Am J Kidney Dis 1999;34:120-4. 34. Heinonen PK, Vuento M, Maunola M, Ala-Houhala I. Ovarian manifestations in women with autosomal dominant polycystic kidney disease. Am J Kidney Dis 2002;40:504-7. 35. Brook-Carter PT, Peral B, Ward CJ, et al. Deletion of the TSC2 and PKD1 genes associated with severe infantile polycystic kidney disease--a contiguous gene syndrome. Nat Genet 1994;8:328-32. 36. Pei Y, Obaji J, Dupuis A, et al. Unified criteria for ultrasonographic diagnosis of ADPKD. J Am Soc Nephrol 2009;20:205-12. 37. Zhao X, Paterson AD, Zahirieh A, He N, Wang K, Pei Y. Molecular diagnostics in autosomal dominant polycystic kidney disease: utility and limitations. Clin J Am Soc Nephrol 2008;3:146-52. 38. Patel V, Chowdhury R, Igarashi P. Advances in the pathogenesis and treatment of polycystic kidney disease. Curr Opin Nephrol Hypertens 2009;18:99-106. 39. Chapman AB, Gabow PA, Schrier RW. Reversible renal failure associated with angiotensin-converting enzyme inhibitors in polycystic kidney disease. Ann Intern Med 1991;115:769-73. 40. K/DOQI clinical practice guidelines on hypertension and antihypertensive agents in chronic kidney disease. Am J Kidney Dis 2004;43:S1- 290. 41. Muther RS, Bennett WM. Cyst fluid antibiotic concentrations in polycystic kidney disease: differences between proximal and distal cysts. Kidney Int 1981;20:519-22. 42. Singh S, Hariharan S. Renal replacement therapy in autosomal dominant polycystic kidney disease. Nephron 1991;57:40-4. 43. Shillingford JM, Murcia NS, Larson CH, et al. The mTOR pathway is regulated by polycystin-1, and its inhibition reverses renal cystogenesis in polycystic kidney disease. Proc Natl Acad Sci U S A 2006;103:5466-71. 44. O’Neill WC, Robbin ML, Bae KT, et al. Sonographic assessment of the severity and progression of autosomal dominant polycystic kidney disease: the Consortium of Renal Imaging Studies in Polycystic Kidney Disease (CRISP). Am J Kidney Dis 2005;46:1058- 64. 45. Qian Q, Du H, King BF, et al. Sirolimus reduces polycystic liver volume in ADPKD patients. J Am Soc Nephrol 2008;19:631-8. 46. Bennett WM. V2 receptor antagonists in cystic kidney diseases: an exciting step towards a practical treatment. J Am Soc Nephrol 2005;16:838-9. 47. Torres VE. Role of vasopressin antagonists. Clin J Am Soc Nephrol 2008;3:1212-8.