SlideShare a Scribd company logo
• โรเบิร์ต ฮุก(Robert Hooke) เป็นคนแรกที่ใช้กล้องจุลทรรศน์ศึกษาชิ้น
ไม่คอร์ก พบว่าเป็นช่องเล็กๆจึงเรียกว่า Cell
• Cell มาจากภาษาละตินคือ Cella ซึ่งแปลว่าห้องเล็กๆ
เซลล์ (Cell)
• หน่วยโครงสร้างพื้นฐานที่มีชีวิตที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory)
สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และผลิตภัณฑ์
ของเซลล์
ตั้งขึ้นโดย
•Matthias Schleiden
•Theodor Schwann
เซลล์ (Cell)
ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory)
• สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์
• เซลล์ต้องมีกระบวนการเมทาบอลิซึมและการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม
• เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ที่มีการจัดระบบ
การทางานภายในโครงสร้างของเซลล์
• เซลล์มีกาเนิดมาจากเซลล์เริ่มแรก โดยเกิดจากการแบ่งตัวของ
เซลล์เดิม
เซลล์ (Cell)
สิ่งมีชีวิตแบ่งเป็น
1. Unicellular organism
เซลล์ (Cell)
สิ่งมีชีวิตแบ่งเป็น
2.Multicellular organism
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
ส่วนห่อหุ้มเซลล์
(Cell Coat)
ผนังเซลล์
(Cell Wall)
เยื่อหุ้มเซลล์
(Cell Membrane)
โปรโตพลาสซึม
(Protoplasm)
Cytoplasm
Nucleus
ส่วนที่ห้อหุ้มเซลล์
• ผนังเซลล์ (Cell wall)
สร้างความแข็งแรงและช่วยให้
เซลล์คงรูปอยู่ได้
ผนังเซลล์แต่ละแห่งจะมีช่องเล็กๆ
เป็นทางติดต่อระหว่าง
cytoplasm ของเซลล์ข้างเคียง
เรียกว่า Plasmodesmata
พืช--> Cellulose
แบคทีเรีย---> Peptidoglycan
เห็ด รา เปลือกแมลง เปลือกกุ้ง ปู -
--> Chitin
• เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane)
• Phospholipid bilayer
(สารประกอบของไขมันกับฟอสเฟต)
• Semipermeable membrane
ส่วนที่ห้อหุ้มเซลล์ (ต่อ)
โครงสร้างของเซลล์ (Cell Structure)
• ส่วนห่อหุ้มเซลล์
• โปรโตพลาสซึม (Protoplasm)
– นิวเคลียส (Nucleus)
– ไซโตพลาสซึม
(Cytoplasm)
• เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear
membrane or nuclear
envelope)
 มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
 หน้าที่คือเป็นทางผ่าน
เข้าออกของสารระหว่าง
นิวเคลียสกับไซโตพลา
สซึม
นิวเคลียส (Nucleus)
• นิวคลีโอพลาสซึม
(nucleoplasm) หมายถึง ส่วน
ต่างๆ ที่อยู่ในเยื่อหุ้มนิวเคลียส
ประกอบด้วย
• นิวคลีโอลัส (nucleolus)
- ไม่มีเยื่อหุ้ม
- เป็นแหล่งสังเคราะห์
และรวบรวมกรด
นิวคลีอิก (RNA)
นิวเคลียส (Nucleus)
• โครมาติน (Chromatin)
 สาย DNA ที่พันกับ Histone Protein
 เมื่อจะเกิดการแบ่งนิวเคลียสจะขดตัวแน่นเป็น โครโมโซม
นิวเคลียส (Nucleus) (ต่อ)
นักชีววิทยาแบ่งเซลล์ ออกเป็น 2 ชนิด คือ
• เซลล์โปรคาริโอต (Prokaryotic cell)
– เซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ Bacteria และ
Cyanobacteria
• เซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic cell)
– เซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
โครงสร้างที่พบในทุกเซลล์
– Plasma membrane
– Cytoplasm
– Ribosome
– Chromosome
Prokaryotic cell
Cyanobacteria
Eukaryotic cell
Plant cell
Prokaryotic cell
Eukaryotic cell
ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
• ไซโทซอล
(Cytosol)
• ออร์แกเนลล์
(Organelles)
ไซโตซอล (Cytosol)
• มีลักษณะเป็นกึ่งแข็งกึ่งเหลว
• เกิดการไหลของ cytoplasm ไปรอบๆเซลล์ เรียกว่า ไซโคลซิส (Cyclosis
หรือ Cytoplasmic streaming)
ออร์แกเนลล์ (Organelles)
ไรโบโซม (Ribosome) : แหล่งสร้างโปรตีน
• ไม่มีเยื่อหุ้ม
• รูปร่างเป็นก้อน
• หน้าที่สังเคราะห์โปรตีน
เซนทริโอล (Centriole) : โครงร่างที่ทาให้โครมาทิดแยกออกจากกัน
ในสิ่งมีชีวิตบางชนิด
• ไม่มีเยื่อหุ้ม
• ไม่พบในเซลล์พืชและเห็ดรา
• ประกอบด้วย ไมโครทิวบูล
(microtubule) เรียงตัวกันเป็น
กลุ่มๆละ 3 หลอด ทั้งหมดมี 9
กลุ่ม
 หน้าที่ช่วยในการเคลื่อน
ของโครโมโซม
ไมโครทิวบูล (Microtubule)
• เป็นหลอดกลวง
• เป็นโครงสร้างของเส้น
ใยสปินเดิล ซิเลีย เซนทริ
โอล และแฟลกเจลลัม
• หน้าที่ยึดและลาเลียงออร์
แกเนลล์ภายในเซลล์
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม หรือ ร่างแหเอนโดพลาสซึม
(Endoplasmic recticulum : ER) : โรงงานผลิตสารในเซลล์
• มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
• ลักษณะเป็นท่อแบนใหญ่บาง เรียง
ขนานและซ้อนเป็นชั้นๆ
• มี 2 ชนิด คือ
– Rough Endoplasmic Reticulum
(RER) หน้าที่สังเคราะห์โปรตีน
– Smooth Endoplasmic Reticulum
(SER) หน้าที่สังเคราะห์สารกลุ่ม
สเตรอยด์
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม หรือ ร่างแหเอนโดพลาสซึม
(Endoplasmic recticulum : ER)
กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi apparatus หรือ Golgi bodies)
ฝ่ ายบรรจุภัณฑ์
• มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
• เป็นกลุ่มของถุงกลมแบน
ขนาดใหญ่ บริเวณตรงขอบ
โป่ งพองใหญ่ขึ้น
• ทาหน้าที่เติมกลุ่ม
คาร์โบไฮเดรต ให้กับโปรตีน
หรือลิพิดที่ส่งมาจาก ER เกิด
เป็น glycoprotein และ
glycolipid
กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi complex หรือ Golgi bodies)
ไลโซโซม (Lysosome) : ผู้ขนส่งเอนไซม์
• มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
• ไม่พบในเซลล์พืช
• เป็นเวสิเคิล (vesicle) สร้าง
จาก golgi complex
• ทาหน้าที่กาจัดของเสียของ
เซลล์
• มี Hydrolytic enzyme
กระบวนการสลายตัวเอง
(Autophagy หรือ Autolysis)
แวคิวโอล (Vacuole) : ถุงบรรจุสาร
• มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
• ลักษณะเป็นถุง
• หน้าที่สะสมอาหาร
และน้า
คอนแทรคไทล์แวคิวโอล (Contractile vacuole)
• พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
เช่น อะมิบา (amoeba)
• หน้าที่รักษาสมดุลน้า
ฟูดแวคิวโอล (Food vacuole)
• พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
• ทาหน้าที่บรรจุอาหาร ที่รับจากนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายต่อไป
ไมโตคอนเดรีย (Mitochondria) : แหล่งพลังงานในเซลล์
• มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
• เป็นแหล่งผลิตสารที่
ให้พลังงานแต่เซลล์
คือ ATP
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
• มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
• มีสารคลอโรฟิลล์ (Chlorophyl)
• พบในเซลล์พืชเท่านั้น
• หน้าที่เป็นแหล่งสร้างอาหาร
ให้แก่เซลล์พืช
เปรียบเทียบโครงสร้างของเซลล์ในแต่ละประเภท
composed of a single fiber of the protein flagellin
ความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ลักษณะส่วนประกอบ เซลล์พืช เซลล์สัตว์
1. รูปร่างของเซลล์
2. ผนังเซลล์
3. Chloroplast
4. Lysosome
5. เซนตริโอล
6. Vacuole
ค่อนข้างเหลี่ยม
มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
มี-->ใหญ่
ค่อนข้างกลม
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
ไม่มี หรือมี
ขนาดเล็ก
การลาเลียงสารผ่านเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์ มีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน
(Semipermeable membrane)
การลาเลียงสารผ่านเซลล์
การลาเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลาเลียงไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มี 2 วิธีหลัก ได้แก่
การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน
(Passive transport)
การลาเลียงแบบใช้พลังงาน
(Active transport)
การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive transport)
การแพร่ (Simple diffusion)
สมดุลการแพร่ (dynamic equilibrium)
คือ กระบวนการที่สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มี
ความเข้มข้นของสารต่ากว่า
Simple Diffusion
การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive transport)
ออสโมซิส (Osmosis)
คือ กระบวนการแพร่ของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่านจากบริเวณที่มีอนุภาคของน้า
มากไปยังบริเวณที่มีอนุภาคของน้าน้อย
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์เม็ดเลือดแดง โดย
กระบวนการออสโมซิส
Hypertonic Solution
Hypotonic Solution
การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated diffusion)
การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive transport)
การลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active transport)
• Ion pump
– ตัวอย่างเช่น Sodium-
potassium pump ของ
เซลล์ประสาท
• การลาเลียงแร่ธาตุของ
รากพืช
การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
• เอนโดไซโตซิส (Endocytosis)
– ฟาโกไซโตซิส (Phagocytosis)
– พิโนไซโตซิส (Pinocytocis)
– การนาสารเข้าโดยอาศัยตัวรับ (Recepter-mediated
endocytosis)
• เอกโซไซโตซิส (Exocytosis)
Phagocytosis
• เป็นการนาสารที่ไม่ละลายน้าข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นส่วน
cytoplasm ไปโอบล้อมสารของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น
food vacuole เช่นการกินอาหารของอะมีบา การกินเชื้อโรคของ
เม็ดเลือดขาว เป็นต้น
Pinocytosis
• เป็นการนาสารที่เป็นของเหลวหรือสารละลายเข้าเซลล์ โดยเยื่อ
หุ้มเซลล์เว้าเข้าไปเพื่อนาสารเข้าไป เช่น การดูดกลับสารที่ท่อ
หน่วยไต
Receptor-mediated endocytosis
• เป็นการนาสารเข้าสู้เซลล์โดยมีตัวรับที่มีความจาเพาะกับสารอยู่
ที่บริเวณโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์ เช่น การลาเลียงโคเลสเทอรอลเข้า
สู่เซลล์
Exocytosis
• การนาสารที่ร่างกายสร้างขึ้น
เช่น โปรตีน และคาร์โบไฮ
เครต ผ่านออกนอกเซลล์
• การหลั่งสารสื่อประสาท การ
หลั่งเอนไซม์ การหลั่ง
ฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
• Homeostasis หมายถึง สภาวะที่สิ่งมีชีวิตตอบสนอง
ต่อภายนอกร่างกายเพื่อปรับให้ร่างกายอยู่ในสภาพ
สมดุล (Homeostasis is a balance between external
changes)
การรักษาดุลยภาพ (Homeostasis)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
• น้า
• แร่ธาตุ
• ความเป็นกรด-เบส
• อุณหภูมิ
การรักษาดุลยภาพน้าของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตต้องการน้าเพื่อ???????
การรักษาดุลยภาพน้าของพืช
ปัจจัยที่มีผลต่อการปิดเปิด
ของปากใบ
1. ความเข้มของแสง
2. ปริมาณลม
3. ความชื้นในอากาศ
4. ปริมาณน้าในดิน
การรักษาดุลยภาพน้าของโพรโทซัว
รูปแบบการ
กาจัดของเสีย
ของสิ่งมีชีวิต
ได้รับแร่ธาตุที่ปนมากับน้า
และจากอาหาร น้าออสโมซิสออกจากตัวปลา
ผ่านทางเหงือกและส่วนอื่นๆของตัวปลา
ขับแร่ธาตุออก
โดยเซลล์พิเศษที่เหงือก
แบบ Active transport
ขับปัสสาวะที่มีความเข้มข้น
เพื่อรักษาน้า
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต
การดื่มน้าทะเล
เพื่อชดเชยน้า
เสียไป
สวล.เป็น Hypertonic
solution ต่อตัวปลา
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต
ได้รับน้าและไออน
จากการจากอาหาร
น้าออสโมซิสเข้าสู่ตัวปลาตลอดเวลา
เซลล์พิเศษที่เหงือก
ดูดกลับแร่ธาตุ
แบบ Active transport
ขับปัสสาวะที่เจือจาง
และขับปัสสาวะในปริมาณที่มาก
สวล.เป็น Hypotonic solution ต่อตัวปลา
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
• แร่ธาตุ (mineral)
• นกทะเลหลายชนิดมีอวัยวะ
ในการกาจัดเกลือที่หัว เรียก
nasal gland
การรักษาอุณหภูมิในร่างกาย
• สัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
–สัตว์เลือดอุ่น (Homeothermic animal) สัตว์ที่มีอุณหภูมิ
ร่างกายอยู่ในระดับที่ค่อนข้างคงที่และไม่เปลี่ยนแปลงไปตาม
สภาพแวดล้อม
–สัตว์เลือดเย็น (Poikilothermic animal) สัตว์ที่มีอุณหภูมิ
เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม
บทบาทของไฮโปทาลามัสในการควบคุมอุณหภูมิภายในร่างกายสัตว์
(Thermostat Function)
กลไกรักษาอุณหภูมิเมื่อร่างกายมีอุณหภูมิลดลง
อากาศหนาว อุณหภูมิร่างกายลดลง
ไฮโปทาลามัส
อวัยวะภายในที่
เกี่ยวข้องกับเมทา
บอลิซึม เช่นตับ
หลอดเลือดบริเวณ
ผิวหนัง
เพิ่ม
อัตราเมแทบอลิซึม
กล้ามเนื้อหดตัว
ขนลุก
สั่น
ต่อมเหงื่อ
ลดการขับเหงื่อ
เกิดการหดตัว
สั่งการให้
อากาศร้อน
อุณหภูมิร่างกายเพิ่มขึ้น
ไฮโปทาลามัส
ขับเหงื่อมากขึ้น ขยายตัว ลดอัตราเมแทบอลิซึม
ต่อมเหงื่อ หลอดเลือดบริเวณ
ผิวหนัง
อวัยวะภายในที่เกี่ยวข้อง
กับเมทาบอลิซึม เช่นตับ
กลไกรักษาอุณหภูมิเมื่อร่างกายมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
• อุณหภูมิ (temperature)
วิธีการระบายความร้อนของสัตว์อื่นๆ
• ระบายความร้อนโดยการหอบ เช่น สุนัข
• ระบายความร้อนโดยการเลีย เช่น สุนัข แมว
• แช่ปลักโคลน เพื่อระบายความร้อน เช่น ควาย
พฤติกรรมหลบหลีกเมื่ออุณหภูมิแวดล้อมไม่เหมาะสม
• การจาศีล คือ การซ่อนตัวนิ่งไม่เคลื่อนไหว มี 2 แบบ คือ
–การหนีหนาว (Hibernation)
• สัตว์เลือดอุ่น: อุณหภูมิและอัตราการเมแทบอลิซึมจะลดลงเล็กน้อย
• สัตว์เลือดเย็น: อุณหภูมิร่างกายลดต่าลงตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม
อัตราการเมแทบอลิซึมลดต่ามาก
–การหนีร้อน (Aestivation)
• พบในสัตว์ที่อยู่ตามทะเลทรายและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในร่างกายของสัตว์
• พื้นที่ผิวในการระบายความร้อน หรือผิวหนัง
• ปริมาตรของสัตว์
• ขนสัตว์
• ชั้นไขมันใต้ผิว
การหลบหลีกอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสมของสภาพแวดล้อม
• การเปลี่ยนแปลงสถานที่ เพื่อที่จะอยู่อาศัยได้อย่างเหมาะสม
• การเลือกเวลาออกหากิน
• จัดหาที่อยู่อาศัย
• การจาศีล
–Hibernation
–Estivation
ของเหลวในร่างกายสิ่งมีชีวิต
Nephron(หน่วยไต) เป็นหน่วยทางานที่เล็กที่สุดของไต
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของมนุษย์
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของมนุษย์
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของมนุษย์
หน่วยไต (Nephron)
เป็นหน่วยในการทางานของไต
(functional unit)
 ประกอบด้วย 3 ส่วน
1.โบว์แมนแคบซูล
(Bowman,s capsule)
2. โกลเมอลูลัส (Glomerulus)
3. ท่อหน่วยไต
(convoluted tubule)
Glomerulus & Bowman’s Capsule
กลไกในการสร้างปัสสาวะ
• ในการผลิตและกาจัดปัสสสาวะออกนอกร่างกายมี
ขั้นตอนดังนี้
1.Filtration (การกรอง)
2.Reabsorption (การดูดกลับ) สารที่มีประโยชน์ เช่น
กลูโคส, เกลือ, กรดอะมิโน จะถูกดูดกลับคืนสู่
ระบบไหลเวียนเลือดโดย active transport
3.Secretion (การหลั่งสาร) สารพิษและไอออน
ส่วนเกินจะถูกขับออก โดย active transport
4.Excretion (การขับออก)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
• ความเป็นกรด-เบส (pH)
–ปฏิกิริยาเคมีก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงค่า
ความเป็นกรด-เบสของ
ของเหลวภายในเซลล์
จากปริมาณไฮโดรเจน
ไอออน
• การหายใจ 
คาร์บอนไดออกไซด์
Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2

More Related Content

What's hot

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
gifted10
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
Dom ChinDom
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Y'tt Khnkt
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
Cell
CellCell
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
Kankamol Kunrat
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
พัน พัน
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
kasidid20309
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
kasidid20309
 

What's hot (20)

เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
Cell
CellCell
Cell
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Doc4
Doc4Doc4
Doc4
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 

Viewers also liked

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Power point informàtica
Power point informàticaPower point informàtica
Power point informàticadavid3024
 
Lambo Archivio Personale
Lambo Archivio PersonaleLambo Archivio Personale
Lambo Archivio Personale
Giorgio Baroni
 
StaffGuide6-10-24
StaffGuide6-10-24StaffGuide6-10-24
StaffGuide6-10-24
Jerico Grantham
 
Electrostatics Lecture
Electrostatics LectureElectrostatics Lecture
Electrostatics Lecture
stwwilkinson
 
Popular food of nyc
Popular food of nycPopular food of nyc
Popular food of nyc
cocobouche
 
Candidate feedback
Candidate feedbackCandidate feedback
Candidate feedback
Neha Sharma
 
Syntax. reported speech andy y danny (1)
Syntax. reported speech andy y danny (1)Syntax. reported speech andy y danny (1)
Syntax. reported speech andy y danny (1)
Andrea Torres
 
Catalogo corralitos
Catalogo corralitosCatalogo corralitos
Catalogo corralitos
nipon49
 
Ipa共通語彙基盤イベント20140606
Ipa共通語彙基盤イベント20140606Ipa共通語彙基盤イベント20140606
Ipa共通語彙基盤イベント20140606
Hiroshi Morimoto
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตThitipong Wongchan
 
"Kuchnia hiszpańska"
"Kuchnia hiszpańska""Kuchnia hiszpańska"
"Kuchnia hiszpańska"
ZSP_Nr_dwa_Krosno
 
Why You Want Change To Be Disruptive
Why You Want Change To Be DisruptiveWhy You Want Change To Be Disruptive
Why You Want Change To Be Disruptive
TeachU
 
Коммуникация в условиях изменений
Коммуникация в условиях измененийКоммуникация в условиях изменений
Коммуникация в условиях изменений
Татьяна Романова
 
Luthfi haliyatun nisa'
Luthfi haliyatun nisa'Luthfi haliyatun nisa'
Luthfi haliyatun nisa'
LuthfiNisa
 

Viewers also liked (17)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Power point informàtica
Power point informàticaPower point informàtica
Power point informàtica
 
Lambo Archivio Personale
Lambo Archivio PersonaleLambo Archivio Personale
Lambo Archivio Personale
 
StaffGuide6-10-24
StaffGuide6-10-24StaffGuide6-10-24
StaffGuide6-10-24
 
Electrostatics Lecture
Electrostatics LectureElectrostatics Lecture
Electrostatics Lecture
 
Popular food of nyc
Popular food of nycPopular food of nyc
Popular food of nyc
 
Candidate feedback
Candidate feedbackCandidate feedback
Candidate feedback
 
Syntax. reported speech andy y danny (1)
Syntax. reported speech andy y danny (1)Syntax. reported speech andy y danny (1)
Syntax. reported speech andy y danny (1)
 
Catalogo corralitos
Catalogo corralitosCatalogo corralitos
Catalogo corralitos
 
Ipa共通語彙基盤イベント20140606
Ipa共通語彙基盤イベント20140606Ipa共通語彙基盤イベント20140606
Ipa共通語彙基盤イベント20140606
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
"Kuchnia hiszpańska"
"Kuchnia hiszpańska""Kuchnia hiszpańska"
"Kuchnia hiszpańska"
 
Why You Want Change To Be Disruptive
Why You Want Change To Be DisruptiveWhy You Want Change To Be Disruptive
Why You Want Change To Be Disruptive
 
Ooooo
OooooOoooo
Ooooo
 
Коммуникация в условиях изменений
Коммуникация в условиях измененийКоммуникация в условиях изменений
Коммуникация в условиях изменений
 
Luthfi haliyatun nisa'
Luthfi haliyatun nisa'Luthfi haliyatun nisa'
Luthfi haliyatun nisa'
 
Pseudosci v2 edit_1_0125_(1)
Pseudosci v2 edit_1_0125_(1)Pseudosci v2 edit_1_0125_(1)
Pseudosci v2 edit_1_0125_(1)
 

Similar to Part cell&homeo acr_2

Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cellPhattarawan Wai
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cellPhattarawan Wai
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
Wichai Likitponrak
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
Wichai Likitponrak
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์Chidchanok Puy
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
Kha Nan
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
Churuthikorn Kummoo
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
kasidid20309
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 

Similar to Part cell&homeo acr_2 (20)

Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Brands biology
Brands biologyBrands biology
Brands biology
 
Cell
CellCell
Cell
 
4
44
4
 
4
44
4
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 

More from Thitipong Wongchan

นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
นายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น มนายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น ม
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
Thitipong Wongchan
 
New teanabrochure combine
New teanabrochure combineNew teanabrochure combine
New teanabrochure combine
Thitipong Wongchan
 
Europe
EuropeEurope
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตThitipong Wongchan
 
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์
นายฐิติพงศ์   วงศ์จันทร์นายฐิติพงศ์   วงศ์จันทร์
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์Thitipong Wongchan
 

More from Thitipong Wongchan (10)

นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
นายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น มนายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น ม
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
 
New teanabrochure combine
New teanabrochure combineNew teanabrochure combine
New teanabrochure combine
 
Europe
EuropeEurope
Europe
 
Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
Bioo
BiooBioo
Bioo
 
Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56
 
Social
SocialSocial
Social
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์
นายฐิติพงศ์   วงศ์จันทร์นายฐิติพงศ์   วงศ์จันทร์
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์
 

Part cell&homeo acr_2