SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ทางเลือกของการบำาบัดรักษาทดแทนไต


                                                                                 รท. บัญชา สถิระพจน์
                               แผนกโรคไต กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า


อะไรจะเกิดขึนเมื่อคุณเข้าสู่ไตวายระยะสุดท้าย ?
            ้
         ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจะเกิดอาการแสดงหลากหลายระบบที่เกิดจากของ
เสี ย คั่ ง ในร่ า งกาย เริ่ ม จากบวมตามแขนขา รู้ สึ ก อ่ อ นเพลี ย หอบเหนื่ อ ย เบื่ อ อาหาร
คลื่นไส้อาเจียน รู้สึกง่วงซึม สับสน จนสุดท้ายเกิดอาการชัก หมดสติ ถึงกับการเสียชีวิต
ได้ ดั ง นั้ น เมื่ อ เข้ า สู่ ไ ตเรื้ อ รั งระยะสุ ด ท้ า ยจำา เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การบำา บั ด รั ก ษาทดแทนไต
ได้แก่ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง และการผ่าตัดปลูก
ถ่ายไต
    1. การล้างไต
    การล้างไตมี ๒ ชนิดคือ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และ การล้างไตทางหน้า
    ท้อง
              1. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม คือการนำา เลือดออกจากร่างกายผู้
                   ป่วย ผ่านเข้าเครื่องไตเทียม เพื่อฟอกเลือด แล้วส่งเลือดคืนกลับสู่ผู้ป่วย
                   ต้องทำา ในศูนย์ฟอกเลือดไตเทียม โดยทั่วไปทำา การฟอกประมาณ ๒-๓
                   ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละ ๔-๕ ชั่วโมง
              2. การล้างไตทางหน้าท้อง คือการใส่นำ้ายาล้างไตเข้าช่องท้อง แช่ทิ้งไว้
                   เพื่อให้ของเสียในร่างกายขับออกมาในนำ้ายาล้างไต แล้วเปลี่ยนถ่ายออก
                   ตามระยะเวลาที่กำา หนด วิธีที่ทำา ต่อเนื่องกันตลอดวัน วันละประมาณ ๔
                   ครั้ง ครั้งละประมาณ ๔-๖ ชั่วโมง เรียกว่าวิธี ซีเอพีดี หรือ continuous
                   ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ที่ นิ ย มทำา กั น มาก
                   ที่สุด
    2. การผ่าตัดปลูกถ่ายไต
         การผ่าตัดปลูกถ่ายไตมี ๒ ชนิดคือ ผ่าตัดจากไตบริจาคของผู้ป่วยที่มีสมองตาย
    และไตบริจ าคจากญาติ ผู้ป่ วย ในร่ างกายคนปกติ จะมีร ะบบภูมิ คุ้ ม กั น ซึ่ง ทำา หน้ า ที่
    ต้านทานเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย ดังนั้นเมื่อผ่าตัดปลูกถ่ายไต
    เข้าไปในร่างกาย ไตใหม่จึงเหมือนสิ่งแปลกปลอมในร่างกายจะเกิดการต่อต้านจาก
    ระบบภูมิคุ้มกัน จึงจำา เป็นต้องเลือกไตที่เข้าได้ดีกับผู้ป่วย และหลังผ่าตัดผู้ป่วยควร
    กินยากดภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการสลัดไต


                                                                                                              1
การรักษาบำาบัดรักษาทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
จุดมุ่งหมาย
        การฟอกเลื อ ดด้ ว ยเครื่ อ งไตเที ย มจะช่ ว ยกำา จั ด ของเสี ย จากร่ า งกาย ควบคุ ม
สมดุลของนำ้า เกลือแร่ และกรดด่างในผู้ป่วยให้กลับสู่ภาวะปกติ เพื่อให้ผู้ป่วยหายจาก
อาการที่เกิดจากของเสียคั่งในร่างกาย ลดอัตราการเจ็บป่วยและอัตราการเสียชีวิต และ
หวังผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นด้วย
การฟอกเลือดทำาได้อย่างไร
        หลักการทั่วไปของการฟอกเลือดทำาโดยการดึงเลือดผ่านวงจรนำาเลือดออกจาก
ร่างกายผู้ป่วย ส่งผ่านเข้าไปในตัวกรองเพื่อกรองของเสียในร่างกายออก ก่อนนำา เลือด
คื น กลั บ สู่ ร่ า งกายผู้ ป่ ว ย การฟอกเลื อ ดควรทำา อย่ า งน้ อ ย ๓ ครั้ ง ต่ อ สั ป ดาห์ ครั้ ง ละ
ประมาณ ๔-๕ ชั่วโมง ระหว่างการฟอกเลือดผู้ป่วยสามารถดำาเนินชีวิตประจำาวันได้ปกติ
ได้แก่ อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ นอนหลับ ดูโทรทัศน์ เป็นต้น แสดงดังรูปที่ ๑




        รูปที่ ๑ แสดงการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม


การเตรียมความพร้อมก่อนการฟอกเลือด
การผ่าตัดต่อเส้นเลือดสำาหรับการฟอกเลือด




                                                                                                    2
ก่ อนเริ่ ม การฟอกเลื อ ดด้ ว ยเครื่ อ งไตเที ยมประมาณ ๓-๔ เดื อ นจำา เป็ น ต้ อ งทำา การ
ผ่าตัดต่อเส้นเลือดเพื่อเป็นตำาแหน่งที่ใช้สำาหรับเป็นทางให้เลือดออกจากร่างกายเพื่อมา
ฟอกรวมทั้งเป็นทางสำาหรับคืนเลือดสู่ร่างกายตามเดิม ส่วนใหญ่การผ่าตัดต่อเส้นเลือด
สามารถทำาการผ่าตัดแบบผู้ป่วยนอกได้ หรืออาจนอนโรงพยาบาลต่ออีก ๑ วันหลังการ
ผ่าตัด การผ่าตัดต่อเส้นเลือดมี ๒ ชนิดคือ
   1. การผ่ า ตั ด ต่ อ เส้ น เลื อ ดแดงกั บ เส้ น เลื อ ดดำา (arteriovenous fistula, AVF) มั ก
       ทำา การผ่าตัดบริเวณแขนของผู้ป่วยแสดงดังรูป ที่ ๒ การผ่ าตั ดแบบนี้เ หมาะสม
       สำาหรับการฟอกเลือดที่สุด เพราะว่าโอกาสการติดเชื้อ และเส้นเลือดอุดตันน้อย
       แต่มีข้อเสียคือต้องใช้เวลาระยะหนึ่งหลังผ่าตัด (มักนานกว่า ๑-๓ เดือน) จึงจะ
       ใช้งานได้




   รูปที่ ๒ แสดงการผ่าตัดต่อเส้นเลือดแดงกับเส้นเลือดดำา


   2. การผ่ า ตั ด ต่ อ เส้ น เลื อ ดเที ย ม (arteriovenous graft, AVG) คื อ การผ่ า ตั ด ใช้
       เส้นเลือดเทียมเชื่อมต่อระหว่างเส้นเลือดแดงกับเส้นเลือดดำา บริเวณแขน ข้อดี
       ของการผ่ า ตั ด แบบนี้ คื อ สามารถใช้ เ ส้ น เลื อ ดหลั ง ผ่ า ตั ด ได้ เ ร็ ว แต่ มี ข้ อ เสี ย คื อ
       ปัญหาการติดเชื้อ และเส้นเลือดอุดตันได้สูงกว่าการผ่าตัดต่อเส้นเลือดจริง
   ในกรณีที่จำาเป็นต้องรับการฟอกเลือดอย่างเร่งด่วน ไม่ได้เตรียมเส้นเลือดสำาหรับการ
   ฟอกเลือดดังกล่าวมาก่ อน เราอาจใช้วิธีการใส่สายฟอกเลือดชั่วคราว หรือใส่ส าย
   ฟอกเลือดกึ่งถาวร โดยเป็นสายพิเศษฝังใต้ผิวหนัง บริเวณต้นคอใกล้หัวไหล่ หรือขา
   หนีบ
ใครเป็นผู้ทำาการฟอกเลือด




                                                                                                          3
ส่วนใหญ่ของการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมจะทำาที่ศูนย์ไตเทียม โดยแพทย์
และพยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคไต แต่บางประเทศผู้ป่วยสามารถฟอกเลือดด้วยเครื่องไต
เทียมเองที่บ้าน โดยญาติผู้ป่วยทีผ่านการฝึกอบรมการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
                                ่
ภาวะแทรกซ้อนของการฟอกเลือด
        ภาวะแทรกซ้อนที่นำาผู้ป่วยมานอนโรงพยาบาลมากสุดคือ ปัญหาการติดเชื้อ และ
การอุดตันของเส้นเลือดที่ผ่าตัดต่อสำาหรับการฟอกเลือด ซึ่งในผู้ป่วยบางรายอาจจำาเป็น
ต้องได้รับการผ่าตัดเส้นเลือดใหม่อีกครั้ง
        ภาวะแทรกซ้อนอื่นที่อาจพบในช่วงแรกระหว่างฟอกเลือดคือ ตะคริว และ ความ
ดั น โลหิ ต ตำ่า ซึ่ ง ผู้ ป่ ว ยจะมี อ าการ อ่ อ นเพลี ย มึ น งง หรื อ คลื่ น ไส้ อ าเจี ย น แต่ ภ าวะ
แทรกซ้อนเหล่านี้สามารถป้องกันได้โดย การควบคุมนำ้าหนักตัวของผู้ป่วย คือการจำากัด
นำ้าดื่ม ปรับการฟอกเลือด และนำ้ายาฟอกเลือดให้เหมาะสม
อาหารสำาหรับผู้ปวยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
                ่
    การกินอาหารอย่างเหมาะสมจะช่วยให้การรักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และผู้
ป่วยสามารถดำา รงชี วิต ได้ อย่ างมีคุ ณภาพในการฟอกเลื อ ด แต่ละศูน ย์ไ ตเทียมจะมีนั ก
โภชนาการช่วยให้คำาแนะนำาในการกินอาหาร ดังสรุปหลักในการเลือกกินอาหารในผู้ป่วย
ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมดังนี้
    ฟ ควรบริโภคอาหารที่มีโปรตีนสูง ได้แก่ เนื้อวัว เนื้อไก่ เนื้อปลา เพื่อได้รับโปรตีน
        เพียงพอกับความต้องการ
    เ   จำากัดอาหารที่มีปริมาณโปแตสเซียมสูง (เมื่อระดับโปแตสเซียมในเลือดสูง) คือ
        ผัก และผลไม้ ได้ แก่ มั นฝรั่ ง ฟักทอง มะเขื อเทศ กล้ วย ส้ม ลู กพรุน ลู กเกด
        ฝรั่ง
        จำา กั ด นำ้า ดื่ ม เนื่ อ งจากการดื่ ม นำ้า มากจะทำา ให้ เ กิ ด ภาวะนำ้า เกิ น ในร่ า งกาย เกิ ด
        อาการบวม และความดันโลหิตสูง และเกิดปัญหาได้บ่อยขณะทำาการฟอกเลือด
        คือ การเกิดตะคริว และความดันโลหิตตำ่า
    แ หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม เนื่องจากความเค็ม หรือโซเดียมจะกระตุ้นให้ผู้ป่วยหิวนำ้า
        บ่อยจะเกิดภาวะนำ้าเกินภายในร่างกาย อาการบวม และความดันโลหิตสูงตามมา
    แ จำากัดอาหารที่มีปริมาณฟอสเฟตสูง ได้แก่ นม เนย ถั่ว ขนมปัง นำ้าอัดลมสีเข้ม
ข้อดี และข้อเสียเกียวกับการฟอกเลือด
                   ่
การฟอกเลือดที่ศนย์ไตเทียม
               ู
ข้อดี
    ข อุปกรณ์ทางการแพทย์ในการรักษาพยาบาลพร้อมเพรียง
    อ ผู้เชี่ยวชาญให้การดูแลรักษาพยาบาลขณะทำาการฟอกเลือด


                                                                                                       4
สร้างสังคมให้กับผู้ป่วยในการรู้จักกับผู้ป่วยรายอื่นๆ
ข้อเสีย
    ข การฟอกเลือดต้องทำาเวลาที่กำาหนดชัดเจน
    ก ต้องเสียเวลาเดินทางไปฟอกเลือด
การฟอกเลือดที่บ้าน
ข้อดี
    ข สามารถกำาหนดเวลาในการฟอกเลือดเอง
    ส     ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปฟอกเลือด
    ไ     มีความสะดวกสบายในการฟอกเลือดเนื่องจากทำาการฟอกที่บ้านตนเอง
ข้อเสีย
    ข ต้องการผู้ช่วยเหลือในทำาการฟอกเลือดที่บ้าน
    ต สร้างภาระงาน และความเครียดแก่สมาชิกภายในครอบครัว
    แ ผู้ป่วย และสมาชิกครอบครัวต้องได้รับการฝึกปฏิบติในการฟอกเลือด
                                                   ั
    แ ต้องการพื้นที่ และอุปกรณ์ความพร้อมภายในบ้านสำาหรับการฟอกเลือด


การรักษาบำาบัดรักษาทดแทนไตด้วยการล้างไตทางช่องท้อง
จุดมุ่งหมาย
          การล้างไตทางช่องท้องเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยกำาจัดของเสียจากร่างกาย ควบคุม
สมดุลของนำ้า เกลือแร่ และกรดด่างในผู้ป่วยให้กลับสูภาวะปกติ การล้างไตทางช่องท้อง
                                                  ่
ใช้ ผ นั ง หน้ า ท้ อ งเป็ น แผ่ น กรองของเสี ย จากในเลื อ ดออกสู่ ช่ อ งท้ อ ง ผนั ง หน้ า ท้ อ งจึ ง
เปรียบเสมือนตัวกรองของเสีย
การล้างไตทางหน้าท้องทำาอย่างไร
          นำ้า ยาสำา หรับล้างไตทางช่องท้องมีส่วนผสมของเกลือแร่ชนิดต่างๆ และนำ้า ตาล
ชนิ ด เด็ ซ โตรส จะใส่ เ ข้ า ไปแช่ ใ นช่ อ งท้ อ งเพื่ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นของเสี ย จาก
ร่างกาย ใช้เวลาในการแช่ในช่องท้องประมาณ ๓-๔ ชั่วโมง แล้วจึงปล่อยนำ้า ยาล้างไต
ออก แล้วจึงทำาซำ้าอีกตามจำานวนที่แพทย์สั่ง แสดงดังรูปที่ ๓




                                                                                                    5
รูปที่ ๓ แสดงการล้างไตทางช่องท้อง


การเตรียมความพร้อมก่อนการล้างไตทางช่องท้อง
       แพทย์จะวางท่อสายยางล้างไตที่ผนังหน้าท้อง หลังจากนั้นประมาณ ๑๐ -๑๔ วัน
จึงจะเริ่มการล้างไตทางช่องท้อง เพื่อรอให้แผลผ่าตัดท่อสายยางบริเวณหน้าท้องแห้งดี
ก่อน สายยางล้างไตจะติดอยู่กับผนังหน้าท้องแบบถาวร ไว้สำาหรับเป็นทางผ่านเข้าออก
ของนำ้ายาล้างไต
การล้างไตทางช่องท้อง มี ๓ ชนิด
   1. ก า ร ล้ า งไ ต ทา ง ช่ อ ง ท้ อ ง แ บ บ ต่ อ เ นื่ อ ง ช นิ ด ซี เ อ พี ดี (continuous
       ambulatory peritoneal dialysis, CAPD)
   ซี เ อพี ดี เป็ น การล้ า งไตทางช่ อ งท้ อ งที่ นิ ย มมากที่ สุ ด โดยผู้ ป่ ว ยหรื อ ญาติ เ ป็ น ผู้
   ทำาการปล่อยนำ้ายาล้างไตเข้าแช่ในช่องท้องประมาณ ๔-๖ ชั่วโมงแล้วจึงปล่อยนำ้ายา
   ออก ทำา ซำ้า ๆ อย่างน้อย ๔ ครั้งต่อวัน และนำ้า ยาถุงสุดท้ายก่อนนอนมักแช่ไว้ตลอด
   คืน จึงไม่รบกวนต่อการนอนหลับของผู้ป่วย
   2. การล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่องชนิด ซีซีพีดี (continuous cycle-
       assisted peritoneal dialysis, CCPD)
   ซีซีพีดี เป็นการล้างไตทางช่องท้ อง โดยใช้เครื่องอัตโนมัติในการปล่อยนำ้า ยาเข้ า
   ออกช่ องท้ องขณะผู้ ป่ว ยนอนหลับ ทำา ประมาณ ๓-๕ ครั้งต่ อคื น และจะทำา ในช่ ว ง
   เวลากลางวันอีก ๑ ครั้ง คือจะแช่นำ้า ยาล้างไตไว้ตลอดกลางวัน หรืออาจจะทำา เพิ่ม
   เป็น ๒ ครั้งต่อช่วงเวลากลางวัน ถ้าต้องการเพิ่มการขจัดของเสีย และลดภาวะนำ้าเกิน
   จากร่างกาย



                                                                                                     6
3. การล้ า งไตทางช่ อ งท้ อ งแบบผสม ซี เ อพี ดี กั บ ซี ซี พี ดี (CAPD และ
         CCPD)
    คือการล้างไตทางช่องท้องทั้งช่วงกลางวัน และกลางคืน มักทำาในกรณีผู้ป่วยนำ้าหนัก
    ตัวมาก หรือผู้ป่วยที่มผนังหน้าท้องที่มีประสิทธิภาพการกรองของเสียตำ่า
                          ี
ใครเป็นผู้ทำาการล้างไตทางหน้าท้อง
    การล้างไตแบบ ซีเอพีดี นั้น ตัวผู้ป่วยหรือญาติจะเป็นคนทำา การปล่อยนำ้า ยาล้างไต
    เข้าออกช่องท้องเอง แต่ในกรณีที่ล้างไตแบบ ซีซีพีดี จะใช้เครื่องอัตโนมัติในการ
    ปล่อยนำ้ายาล้างไตเข้าออกช่องท้องในเวลากลางคืน
ภาวะแทรกซ้อนของการล้างไตทางหน้าท้อง
         ภาวะแทรกซ้ อ นส่ ว นใหญ่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ การติ ด เชื้ อ ภายในช่ อ งท้ อ ง เกิ ด จาก
ทำา การล้ า งไตไม่ ถู ก วิ ธี เมื่ อ ผู้ ป่ ว ยเกิ ด การติ ด เชื้ อ ภายในช่ อ งท้ อ ง จำา เป็ น ต้ อ งมาพบ
แพทย์โดยด่วนเพื่อรีบให้ยาฆ่าเชื้อภายในช่องท้อง
         การป้ อ งกั น การติ ด เชื้ อ ภายในช่ อ งท้ อ ง คื อ ปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนการล้ า งไตที่
แนะนำาอย่างถูกต้อง และเคร่งครัด และเมื่อผูป่วยมีอาการบ่งชี้ของการติดเชื้อภายในช่อง
                                          ้
ท้องคือ ไข้สูง นำ้ายาขุ่น ปวดท้อง กดเจ็บบริเวณหน้าท้อง ควรรีบมาพบแพทย์
อาหารสำาหรับผู้ปวยล้างไตทางหน้าท้อง อาจจะแตกต่างกับอาหารสำาหรับผู้ป่วยฟอก
                ่
เลือดด้วยเครื่องไตเทียมบ้าง คือ
    ค ควรจำากัดอาหารเค็ม และนำ้าดื่ม แต่ผู้ป่วยยังสามารถกิน หรือดื่มได้มากกว่าในผู้
         ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
    ป ควรบริโภคอาหารโปรตีนสูงในปริมาณที่มากกว่าในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไต
         เทียม
    เ    มั ก จะไม่ จำา กั ด อาหารที่ มี โ ปแตสเซีย ม เนื่ อ งจากมี ก ารล้ า งของเสี ย ออกตลอด
         เวลารวมทั้งสารโปแตสเซียม
    เ    ผู้ป่วยบางรายอาจจะต้องจำา กัดปริมาณพลังงานจากอาหาร เนื่องจากผู้ป่วยล้าง
         ไตทางหน้าท้องจะได้รับพลังงานส่วนหนึ่งจากนำ้ายาล้างไต
ข้อดี และข้อเสียเกียวกับการล้างไตทางหน้าท้อง
                   ่
การล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง ซีเอพีดี
ข้อดี
    ข ผู้ป่วยสามารถทำาได้ด้วยตนเอง
    ผ ผู้ป่วยสามารถกำา หนดเวลาการล้างไตทางช่องท้องเองได้ตามจำา นวนที่กำา หนด
         ต่อวัน
    ต ผู้ป่วยสามารถทำาการล้างไตนอกบ้านได้ตามความเหมาะสม


                                                                                                        7
ไม่ต้องใช้เครื่อง หรืออุปกรณ์เสริมในการล้างไต
ข้อเสีย
   ข การล้างไตทางช่องท้องอาจจะรบกวนการดำาเนินชีวิตประจำาวันได้บ้าง
   ก เป็นการล้างไตแบบต่อเนื่องจำาเป็นต้องติดต่อกันทุกวัน
การล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง ซีซีพดี
                                      ี
ข้อดี
   ข การล้างไตส่วนใหญ่ทำาช่วงเวลากลางคืนซึ่งผู้ป่วยกำาลังนอนหลับอยู่
ข้อเสีย
   ข จำาเป็นต้องใช้เครื่องอัตโนมัติในการช่วยล้างไต
   การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการล้างไตทางช่องท้อง เป็นการบำาบัดรักษา
ทดแทนไตที่ทำาให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตและอายุยืนขึ้น แต่ไม่ได้ทำาให้ผู้ป่วยหายขาดจาก
โรคไตเรื้อรัง ยิ่งล้างไตติดต่อนานขึ้นเป็นหลายสิบปี ผู้ป่วยจะเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนจาก
ของเสียที่ข จัดไม่หมดตามมา ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกระดูกและไขข้อ โรค
ปลายประสาทเสื่ อ ม และภาวะทุ พ โภชนาการ ดั ง นั้ น ปั จ จุบั น จึ ง พยายามป้ อ งกั น ภาวะ
แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ล้างไตต่อไป ซึ่งวิธีที่ดีสุดในปัจจุบันคือ การผ่าตัดปลูก
ถ่ายไต


การผ่าตัดปลูกถ่ายไต
จุดมุ่งหมาย
          การผ่าตัดปลูกถ่ายไตจากผู้อื่นด้วยไตเพียงหนึ่งข้างจะสามารถทำา งานทดแทน
หน้าที่ไตทั้งหมดของผู้ป่วยที่สูญเสียไป
ทำางานได้อย่างไร
          ไตจะถูก ผ่า ตัด ปลู กถ่ ายไว้ บริเ วณท้อ งด้ า นล่ า ง โดยจะผ่ า ตัด ต่ อ เส้ น เลื อ ดแดง
และดำา ของไตเข้ากับร่างกายแสดงดังรูปที่ ๔ หลังการผ่าตัดไตอาจจะทำา งานได้ทันที
หรือต้องใช้เวลาอีก ๒-๓ สัปดาห์จึงจะสามารถทำางานได้ปกติ ส่วนไตเดิมของผู้ป่วยไม่
จำาเป็นต้องผ่าตัดเอาออก ถ้าไตนั้นไม่ได้เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง หรือมีการติด
เชื้อในไตเกิดขึ้น




                                                                                                  8
รูปที่ ๔ แสดงการผ่าตัดปลูกถ่ายไต


การเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัดปลูกถ่ายไต
       การปลู ก ถ่ า ยไตมี ห ลายขั้ น ตอน ก่ อ นตั ด สิ น ใจทำา การปลู ก ถ่ า ยไต ควรปรึ ก ษา
แพทย์ เพื่อร่วมกันพิจารณาถึงความเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย เนื่องจากการปลูกถ่าย
ไตนอกจากจะมีข้อดีแล้ว ยังมีความเสี่ยงต่อการผ่าตัด ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากยา
กดภูมิคุ้มกันหลังผ่าตัดได้ เป็นต้น
       ไตบริจาคสำา หรับการปลูกถ่ายมี ๒ แบบคือ ไตบริ จาคจากญาติ และไตบริ จาค
จากผู้ป่วยสมองตาย ซึ่งกรณีที่รอรับไตจากผู้บริจาคสมองตาย ผู้ป่วยมักต้องเข้าคิวรอรับ
การปลูกถ่ายไต
การผ่าตัดปลูกถ่ายไตมี ๓ ปัจจัยหลักที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันในการเกิดการสลัดไตคือ
   ป หมู่เลื อด หมู่เลือดของผู้ป่วย และผู้บริ จาคควรต้อ งตรงกัน ตามหมู่ เอ บี เอบี
       และโอ เพื่อป้องกันการสลัดไต
   เ   ความคล้ายกันของ เฮช แอล เอ (Human leukocyte antigens, HLAs)
       ไตบริจ าคจากญาติ มัก จะมีโ อกาสที่เ ลือ ดจะมี เฮช แอล เอ คล้ า ยกั น ได้ สู ง ขึ้ น
       ทำา ให้ มี โ อกาสสลั ด ไตลดลง ถึ ง แม้ ผ ลเลื อ ดเฮช แอล เอ ไม่ ค ล้ า ยกั น ก็ ยั ง
       สามารถปลูกถ่ายไตได้ แต่โอกาสสลัดไตจะเพิ่มขึ้น
       ก า ร ต ร ว จ ค ว า ม เ ข้ า กั น ไ ด้ ข อ ง เ ลื อ ด ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร (cross
       matching antigen) คือการตรวจเลือดของผู้ป่วย และผู้บริจาคไตว่าความเข้า
       กันได้ ถ้าผลตรวจเป็นลบสามารถทำาการปลูกถ่ายไตได้
เวลาในการปลูกถ่ายไต



                                                                                               9
ระยะเวลาในการรอรับไตบริจาคจากผู้ป่วยสมองตาย ขึ้นกับหลายปัจจัย ปัจจัย
สำาคัญคือปริมาณของไตจากผู้ป่วยบริจาค และผู้ป่วยที่รอรับบริจาค ดังนั้นไตบริจาคจาก
ผู้ป่วยสมองตายอาจต้องใช้เวลาหลายปี ขณะที่ไตบริจาคจากญาติสามารถปลูกถ่ายได้
เลย
         ระยะเวลาที่ใช้ในการผ่าตัดปลูกถ่ายไตนานประมาณ ๓-๔ ชั่วโมง หลังการผ่าตัด
ผู้ ป่ วยจะต้ อ งรั ก ษาตั ว ต่ อ ในโรงพยาบาลเป็ น สั ป ดาห์ ส่ ว นระยะเวลาของการนอนโรง
พยาบาลของญาติผู้บริจาคไตใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันมีการเริ่มใช้เทคนิคการผ่าตัด
แบบใหม่ทำาให้แผลผ่าตัดขนาดเล็กลง จึงทำาให้ผู้บริจาคไตนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล
สั้นลงเหลือเพียง ๒-๓ วัน
         อัตราการทำางานของไตบริจาคจากผู้ป่วยสมองตายหลังผ่าตัด ๑ ปี อยู่ที่ร้อยละ
๘๕-๙๐ ขณะที่อัตราการทำางานของไตบริจาคจากญาติมักจะสูงกว่า เนื่องจากเลือดของ
ผู้ป่วยมีความคล้ายกันของ เฮท แอล เอ มากกว่ารวมทั้งไตที่ได้สามารถผ่าตัดปลูกถ่าย
ได้ทันที
ภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัดปลูกถ่ายไต
         การผ่าตัดปลูกถ่ายไตถือว่าเป็นการรักษาไตเรื้อรังที่หายขาด แต่อย่างไรก็มีผล
ข้างเคียงของการปลูกถ่ายไตได้ ที่สำา คัญคือ การสลัดไต ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก
การกิน ยากดภูมิ คุ้ม กัน หลั งปลู ก ถ่ า ยไตไม่ ส มำ่า เสมอ เมื่ อ เกิ ด การสลั ด ไต หน้ า ที่ ไ ตจะ
ทำา งานลดลงอาจนำา ไปสู่ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ทำา ให้ผู้ป่วยต้องกลับมาล้างไต หรือรอ
ผ่าตัด
ปลูกถ่ายไตอีกครั้ง
         ผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายไตจะมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายกว่าปกติเนื่องจากผู้ป่วยต้องกิน
ยากดภูมิคุ้มกัน และในผู้ป่วยบางรายอาจจะมีผลข้างเคียงของยาอื่นที่ได้รับหลังปลูก
ถ่ายไตได้แก่ หน้าบวม นำ้าหนักเพิ่มขึ้น เกิดสิว ขนขึ้นตามใบหน้า ต้อกระจก เบาหวาน
กระเพาะอาหารอักเสบ ความดันโลหิตสูง และกระดูกพรุน ที่สำาคัญคือ ผู้ป่วยที่กินยากด
ภูมิคมกันติดต่อกันระยะยาวจะมีความเสียงต่อการเกิดโรคมะเร็งเพิ่มขึ้น
     ุ้                             ่
อาหารสำาหรับผู้ปวยหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายไต
                ่
    การจำากัดอาหารจะน้อยลงเมื่อเทียบกับผู้ป่วยล้างไต แต่ยังคงต้องจำา กัดอาหารบาง
ประเภทอยู่ได้แก่
         จำากัดพลังงานจากอาหารไม่ให้เกินความต้องการของร่างกาย เนื่องจากยาที่ได้
         รับหลังปลูกถ่ายไตจะกระตุ้นความอยากอาหารมีผลให้นำ้าหนักตัวของผู้ป่วยเพิ่ม
         ขึ้น




                                                                                                 10
จำา กั ดอาหารเค็ ม เนื่ องจากยาที่ ไ ด้ รั บ หลั ง ปลู ก ถ่ า ยไตมี ผ ลกระตุ้ น การดู ด กลั บ
         ของโซเดียมคืนสู่ร่างกายมีผลทำาให้ความดันโลหิตสูงขึ้นได้
ข้อดีของการปลูกถ่ายไต
    ข ไตที่ปลูกถ่ายมักจะทำาหน้าที่ได้เหมือนไตปกติ
    ไ คุณภาพการดำาเนินชีวิตดีกว่าเดิม
    ค ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้มากขึ้น
         อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยดีกว่าเดิม
ข้อเสียของการปลูกถ่ายไต
    ข ผู้ป่วยต้องได้รับการผ่าตัดใหญ่
    ผ ต้องรอเวลาในการที่จะได้รับไตบริจาคจากผู้ป่วยสมองตาย
    ต อาจมีการสลัดไตเกิดขึ้นทำาให้ต้องสูญเสียไต แล้วกลับมาล้างไตอีก
    แ มีความเสี่ยงต่อผลข้างเคียงของยากดภูมิคุ้มกันที่ได้รับหลังปลูกถ่ายไต
การตัดสินใจในการรักษา
         การรั ก ษาด้ ว ยการล้ า งไต ปลู ก ถ่ า ยไต จะช่ ว ยให้ ผู้ ป่ ว ยมี อ ายุ ยื น นานขึ้ น และ
คุณภาพชีวิตดีขึ้น ขณะที่ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ปฏิเสธการรักษาใดๆ หรือหยุดการ
รักษาอาจทำา ให้ผู้ป่วยมีชีวิตสั้นเพียงไม่กี่วัน หรือหลายสัปดาห์ ขึ้นอยู่กับ สุข ภาพเดิม
ของผู้ ป่ ว ย หน้ า ที่ ไ ตที่ เ หลื อ อยู่ ดั ง นั้ น เมื่ อ ผู้ ป่ ว ยเปลี่ ย นความตั้ ง ใจที่ จ ะรั ก ษาต่ อ
สามารถกลับมาเริ่มการรักษาล้างไตได้ทันที การตัดสินใจในการรักษา หรือปฏิเสธการ
รักษา ขึ้นกับความต้องการ สภาพแวดล้อม และสถานะภาพของผู้ป่วย
สรุป
         การที่ จ ะบอกว่ า การรั ก ษาแบบไหนดี ที่ สุ ด คงตอบได้ ย าก การฟอกเลื อ ดด้ ว ย
เครื่องไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง และการผ่าตัดปลูกถ่ายไต แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อ
เสียแตกต่างกัน การเลือกวิธีการักษาในผู้ป่วยแต่ละรายจำาเป็นต้องอาศัยความเหมาะสม
และการปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างทีมแพทย์ผู้รักษา ตัวผูป่วยเอง และญาติ เพื่อผลการ
                                                     ้
รักษาดีที่สุดสำาหรับผูป่วยแต่ละราย
                      ้


เอกสารอ้างอิง
    1. Charold L.B. Principle of Patient Education. In: Larry E.L., eds. Core
         Curriculum for Nephrology Nursing 4th. New Jersey: Publication
         Management by Anthony J. Jannetti, Inc., 2001: 191




                                                                                                           11
2. National Kidney Foundation       Guideline. K/DOQI clinical practice
   guidelines for chronic kidney disease: Kidney Disease Outcome Quality
   Initiative. Am J Kidney Dis. 2002; 39(Suppl 2): S1-S246
3. Pedrini MT, Levey AS, Lasu J, Chalmers TC, Wang PH. The effects of
   dietary protein restriction on the progression of diabetic and non
   diabetic renal disease: a meta-analysis. Ann Intern Med 1996; 63: 80-6
4. Zawada ET. Initiation of dialysis. In: Daugirdas JT, Blake PG, Ing TS,
   eds. Handbook of dialysis; 3rd. Lippincott William & Wilkin, 2001: 3-11
5. Goodman WG, Danovitch GM. Options for Patients with End-Stage
   Renal   Disease.   In:   Danovitch   GM,   ed.   Handbook    of   kidney
   transplantation. Little, Brown and Company, 1996: 1-16




                                                                         12

More Related Content

What's hot

Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015Utai Sukviwatsirikul
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
Functional dyspepsia its causes and therapies
Functional dyspepsia  its causes and therapies Functional dyspepsia  its causes and therapies
Functional dyspepsia its causes and therapies Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 

What's hot (17)

Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
Functional dyspepsia its causes and therapies
Functional dyspepsia  its causes and therapies Functional dyspepsia  its causes and therapies
Functional dyspepsia its causes and therapies
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 

Viewers also liked (20)

Mz Overview Web Doug
Mz Overview Web DougMz Overview Web Doug
Mz Overview Web Doug
 
Shp E Packet
Shp E PacketShp E Packet
Shp E Packet
 
Egmgplvaw Supporting Paper Dubravka Simonovic
Egmgplvaw Supporting Paper  Dubravka SimonovicEgmgplvaw Supporting Paper  Dubravka Simonovic
Egmgplvaw Supporting Paper Dubravka Simonovic
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1
 
Mz Non Disclosure
Mz Non DisclosureMz Non Disclosure
Mz Non Disclosure
 
Criteria
CriteriaCriteria
Criteria
 
Abayas from mfa 027
Abayas from mfa 027Abayas from mfa 027
Abayas from mfa 027
 
Cue card print
Cue card printCue card print
Cue card print
 
Sf86 C
Sf86 CSf86 C
Sf86 C
 
Health Care Oriented Resume
Health Care Oriented  ResumeHealth Care Oriented  Resume
Health Care Oriented Resume
 
Older Adults
Older AdultsOlder Adults
Older Adults
 
My presentation
My presentationMy presentation
My presentation
 
Sir deoc
Sir deocSir deoc
Sir deoc
 
Ms Word, Updated Teaching Resume Cv
Ms Word, Updated Teaching Resume CvMs Word, Updated Teaching Resume Cv
Ms Word, Updated Teaching Resume Cv
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
Microservice Architecuture with Event Sourcing @ Sydney JVM Meetup
Microservice Architecuture with Event Sourcing @ Sydney JVM MeetupMicroservice Architecuture with Event Sourcing @ Sydney JVM Meetup
Microservice Architecuture with Event Sourcing @ Sydney JVM Meetup
 
Apps diapositiva
Apps diapositivaApps diapositiva
Apps diapositiva
 
Dialogic Communication Theory
Dialogic Communication Theory Dialogic Communication Theory
Dialogic Communication Theory
 
Kajian rintis
Kajian rintisKajian rintis
Kajian rintis
 
Presentasi daur ulang kertas
Presentasi daur ulang kertasPresentasi daur ulang kertas
Presentasi daur ulang kertas
 

Similar to Rr rx

Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Kamol Khositrangsikun
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting caseSHAMONBEST1
 
9789740329213
97897403292139789740329213
9789740329213CUPress
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
2007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_12007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_1New Srsn
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
Gastrointestinal disease.doc review
Gastrointestinal disease.doc  reviewGastrointestinal disease.doc  review
Gastrointestinal disease.doc reviewNarupon Sonsak
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโฮลลี่ เมดิคอล
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 

Similar to Rr rx (20)

Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
 
9789740329213
97897403292139789740329213
9789740329213
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
2007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_12007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_1
 
Hemorrhoid
HemorrhoidHemorrhoid
Hemorrhoid
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
Gastrointestinal disease.doc review
Gastrointestinal disease.doc  reviewGastrointestinal disease.doc  review
Gastrointestinal disease.doc review
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
Detail3
Detail3Detail3
Detail3
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 

Rr rx

  • 1. ทางเลือกของการบำาบัดรักษาทดแทนไต รท. บัญชา สถิระพจน์ แผนกโรคไต กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า อะไรจะเกิดขึนเมื่อคุณเข้าสู่ไตวายระยะสุดท้าย ? ้ ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจะเกิดอาการแสดงหลากหลายระบบที่เกิดจากของ เสี ย คั่ ง ในร่ า งกาย เริ่ ม จากบวมตามแขนขา รู้ สึ ก อ่ อ นเพลี ย หอบเหนื่ อ ย เบื่ อ อาหาร คลื่นไส้อาเจียน รู้สึกง่วงซึม สับสน จนสุดท้ายเกิดอาการชัก หมดสติ ถึงกับการเสียชีวิต ได้ ดั ง นั้ น เมื่ อ เข้ า สู่ ไ ตเรื้ อ รั งระยะสุ ด ท้ า ยจำา เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การบำา บั ด รั ก ษาทดแทนไต ได้แก่ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง และการผ่าตัดปลูก ถ่ายไต 1. การล้างไต การล้างไตมี ๒ ชนิดคือ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และ การล้างไตทางหน้า ท้อง 1. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม คือการนำา เลือดออกจากร่างกายผู้ ป่วย ผ่านเข้าเครื่องไตเทียม เพื่อฟอกเลือด แล้วส่งเลือดคืนกลับสู่ผู้ป่วย ต้องทำา ในศูนย์ฟอกเลือดไตเทียม โดยทั่วไปทำา การฟอกประมาณ ๒-๓ ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละ ๔-๕ ชั่วโมง 2. การล้างไตทางหน้าท้อง คือการใส่นำ้ายาล้างไตเข้าช่องท้อง แช่ทิ้งไว้ เพื่อให้ของเสียในร่างกายขับออกมาในนำ้ายาล้างไต แล้วเปลี่ยนถ่ายออก ตามระยะเวลาที่กำา หนด วิธีที่ทำา ต่อเนื่องกันตลอดวัน วันละประมาณ ๔ ครั้ง ครั้งละประมาณ ๔-๖ ชั่วโมง เรียกว่าวิธี ซีเอพีดี หรือ continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ที่ นิ ย มทำา กั น มาก ที่สุด 2. การผ่าตัดปลูกถ่ายไต การผ่าตัดปลูกถ่ายไตมี ๒ ชนิดคือ ผ่าตัดจากไตบริจาคของผู้ป่วยที่มีสมองตาย และไตบริจ าคจากญาติ ผู้ป่ วย ในร่ างกายคนปกติ จะมีร ะบบภูมิ คุ้ ม กั น ซึ่ง ทำา หน้ า ที่ ต้านทานเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย ดังนั้นเมื่อผ่าตัดปลูกถ่ายไต เข้าไปในร่างกาย ไตใหม่จึงเหมือนสิ่งแปลกปลอมในร่างกายจะเกิดการต่อต้านจาก ระบบภูมิคุ้มกัน จึงจำา เป็นต้องเลือกไตที่เข้าได้ดีกับผู้ป่วย และหลังผ่าตัดผู้ป่วยควร กินยากดภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการสลัดไต 1
  • 2. การรักษาบำาบัดรักษาทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จุดมุ่งหมาย การฟอกเลื อ ดด้ ว ยเครื่ อ งไตเที ย มจะช่ ว ยกำา จั ด ของเสี ย จากร่ า งกาย ควบคุ ม สมดุลของนำ้า เกลือแร่ และกรดด่างในผู้ป่วยให้กลับสู่ภาวะปกติ เพื่อให้ผู้ป่วยหายจาก อาการที่เกิดจากของเสียคั่งในร่างกาย ลดอัตราการเจ็บป่วยและอัตราการเสียชีวิต และ หวังผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นด้วย การฟอกเลือดทำาได้อย่างไร หลักการทั่วไปของการฟอกเลือดทำาโดยการดึงเลือดผ่านวงจรนำาเลือดออกจาก ร่างกายผู้ป่วย ส่งผ่านเข้าไปในตัวกรองเพื่อกรองของเสียในร่างกายออก ก่อนนำา เลือด คื น กลั บ สู่ ร่ า งกายผู้ ป่ ว ย การฟอกเลื อ ดควรทำา อย่ า งน้ อ ย ๓ ครั้ ง ต่ อ สั ป ดาห์ ครั้ ง ละ ประมาณ ๔-๕ ชั่วโมง ระหว่างการฟอกเลือดผู้ป่วยสามารถดำาเนินชีวิตประจำาวันได้ปกติ ได้แก่ อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ นอนหลับ ดูโทรทัศน์ เป็นต้น แสดงดังรูปที่ ๑ รูปที่ ๑ แสดงการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การเตรียมความพร้อมก่อนการฟอกเลือด การผ่าตัดต่อเส้นเลือดสำาหรับการฟอกเลือด 2
  • 3. ก่ อนเริ่ ม การฟอกเลื อ ดด้ ว ยเครื่ อ งไตเที ยมประมาณ ๓-๔ เดื อ นจำา เป็ น ต้ อ งทำา การ ผ่าตัดต่อเส้นเลือดเพื่อเป็นตำาแหน่งที่ใช้สำาหรับเป็นทางให้เลือดออกจากร่างกายเพื่อมา ฟอกรวมทั้งเป็นทางสำาหรับคืนเลือดสู่ร่างกายตามเดิม ส่วนใหญ่การผ่าตัดต่อเส้นเลือด สามารถทำาการผ่าตัดแบบผู้ป่วยนอกได้ หรืออาจนอนโรงพยาบาลต่ออีก ๑ วันหลังการ ผ่าตัด การผ่าตัดต่อเส้นเลือดมี ๒ ชนิดคือ 1. การผ่ า ตั ด ต่ อ เส้ น เลื อ ดแดงกั บ เส้ น เลื อ ดดำา (arteriovenous fistula, AVF) มั ก ทำา การผ่าตัดบริเวณแขนของผู้ป่วยแสดงดังรูป ที่ ๒ การผ่ าตั ดแบบนี้เ หมาะสม สำาหรับการฟอกเลือดที่สุด เพราะว่าโอกาสการติดเชื้อ และเส้นเลือดอุดตันน้อย แต่มีข้อเสียคือต้องใช้เวลาระยะหนึ่งหลังผ่าตัด (มักนานกว่า ๑-๓ เดือน) จึงจะ ใช้งานได้ รูปที่ ๒ แสดงการผ่าตัดต่อเส้นเลือดแดงกับเส้นเลือดดำา 2. การผ่ า ตั ด ต่ อ เส้ น เลื อ ดเที ย ม (arteriovenous graft, AVG) คื อ การผ่ า ตั ด ใช้ เส้นเลือดเทียมเชื่อมต่อระหว่างเส้นเลือดแดงกับเส้นเลือดดำา บริเวณแขน ข้อดี ของการผ่ า ตั ด แบบนี้ คื อ สามารถใช้ เ ส้ น เลื อ ดหลั ง ผ่ า ตั ด ได้ เ ร็ ว แต่ มี ข้ อ เสี ย คื อ ปัญหาการติดเชื้อ และเส้นเลือดอุดตันได้สูงกว่าการผ่าตัดต่อเส้นเลือดจริง ในกรณีที่จำาเป็นต้องรับการฟอกเลือดอย่างเร่งด่วน ไม่ได้เตรียมเส้นเลือดสำาหรับการ ฟอกเลือดดังกล่าวมาก่ อน เราอาจใช้วิธีการใส่สายฟอกเลือดชั่วคราว หรือใส่ส าย ฟอกเลือดกึ่งถาวร โดยเป็นสายพิเศษฝังใต้ผิวหนัง บริเวณต้นคอใกล้หัวไหล่ หรือขา หนีบ ใครเป็นผู้ทำาการฟอกเลือด 3
  • 4. ส่วนใหญ่ของการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมจะทำาที่ศูนย์ไตเทียม โดยแพทย์ และพยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคไต แต่บางประเทศผู้ป่วยสามารถฟอกเลือดด้วยเครื่องไต เทียมเองที่บ้าน โดยญาติผู้ป่วยทีผ่านการฝึกอบรมการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ่ ภาวะแทรกซ้อนของการฟอกเลือด ภาวะแทรกซ้อนที่นำาผู้ป่วยมานอนโรงพยาบาลมากสุดคือ ปัญหาการติดเชื้อ และ การอุดตันของเส้นเลือดที่ผ่าตัดต่อสำาหรับการฟอกเลือด ซึ่งในผู้ป่วยบางรายอาจจำาเป็น ต้องได้รับการผ่าตัดเส้นเลือดใหม่อีกครั้ง ภาวะแทรกซ้อนอื่นที่อาจพบในช่วงแรกระหว่างฟอกเลือดคือ ตะคริว และ ความ ดั น โลหิ ต ตำ่า ซึ่ ง ผู้ ป่ ว ยจะมี อ าการ อ่ อ นเพลี ย มึ น งง หรื อ คลื่ น ไส้ อ าเจี ย น แต่ ภ าวะ แทรกซ้อนเหล่านี้สามารถป้องกันได้โดย การควบคุมนำ้าหนักตัวของผู้ป่วย คือการจำากัด นำ้าดื่ม ปรับการฟอกเลือด และนำ้ายาฟอกเลือดให้เหมาะสม อาหารสำาหรับผู้ปวยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ่ การกินอาหารอย่างเหมาะสมจะช่วยให้การรักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และผู้ ป่วยสามารถดำา รงชี วิต ได้ อย่ างมีคุ ณภาพในการฟอกเลื อ ด แต่ละศูน ย์ไ ตเทียมจะมีนั ก โภชนาการช่วยให้คำาแนะนำาในการกินอาหาร ดังสรุปหลักในการเลือกกินอาหารในผู้ป่วย ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมดังนี้ ฟ ควรบริโภคอาหารที่มีโปรตีนสูง ได้แก่ เนื้อวัว เนื้อไก่ เนื้อปลา เพื่อได้รับโปรตีน เพียงพอกับความต้องการ เ จำากัดอาหารที่มีปริมาณโปแตสเซียมสูง (เมื่อระดับโปแตสเซียมในเลือดสูง) คือ ผัก และผลไม้ ได้ แก่ มั นฝรั่ ง ฟักทอง มะเขื อเทศ กล้ วย ส้ม ลู กพรุน ลู กเกด ฝรั่ง จำา กั ด นำ้า ดื่ ม เนื่ อ งจากการดื่ ม นำ้า มากจะทำา ให้ เ กิ ด ภาวะนำ้า เกิ น ในร่ า งกาย เกิ ด อาการบวม และความดันโลหิตสูง และเกิดปัญหาได้บ่อยขณะทำาการฟอกเลือด คือ การเกิดตะคริว และความดันโลหิตตำ่า แ หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม เนื่องจากความเค็ม หรือโซเดียมจะกระตุ้นให้ผู้ป่วยหิวนำ้า บ่อยจะเกิดภาวะนำ้าเกินภายในร่างกาย อาการบวม และความดันโลหิตสูงตามมา แ จำากัดอาหารที่มีปริมาณฟอสเฟตสูง ได้แก่ นม เนย ถั่ว ขนมปัง นำ้าอัดลมสีเข้ม ข้อดี และข้อเสียเกียวกับการฟอกเลือด ่ การฟอกเลือดที่ศนย์ไตเทียม ู ข้อดี ข อุปกรณ์ทางการแพทย์ในการรักษาพยาบาลพร้อมเพรียง อ ผู้เชี่ยวชาญให้การดูแลรักษาพยาบาลขณะทำาการฟอกเลือด 4
  • 5. สร้างสังคมให้กับผู้ป่วยในการรู้จักกับผู้ป่วยรายอื่นๆ ข้อเสีย ข การฟอกเลือดต้องทำาเวลาที่กำาหนดชัดเจน ก ต้องเสียเวลาเดินทางไปฟอกเลือด การฟอกเลือดที่บ้าน ข้อดี ข สามารถกำาหนดเวลาในการฟอกเลือดเอง ส ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปฟอกเลือด ไ มีความสะดวกสบายในการฟอกเลือดเนื่องจากทำาการฟอกที่บ้านตนเอง ข้อเสีย ข ต้องการผู้ช่วยเหลือในทำาการฟอกเลือดที่บ้าน ต สร้างภาระงาน และความเครียดแก่สมาชิกภายในครอบครัว แ ผู้ป่วย และสมาชิกครอบครัวต้องได้รับการฝึกปฏิบติในการฟอกเลือด ั แ ต้องการพื้นที่ และอุปกรณ์ความพร้อมภายในบ้านสำาหรับการฟอกเลือด การรักษาบำาบัดรักษาทดแทนไตด้วยการล้างไตทางช่องท้อง จุดมุ่งหมาย การล้างไตทางช่องท้องเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยกำาจัดของเสียจากร่างกาย ควบคุม สมดุลของนำ้า เกลือแร่ และกรดด่างในผู้ป่วยให้กลับสูภาวะปกติ การล้างไตทางช่องท้อง ่ ใช้ ผ นั ง หน้ า ท้ อ งเป็ น แผ่ น กรองของเสี ย จากในเลื อ ดออกสู่ ช่ อ งท้ อ ง ผนั ง หน้ า ท้ อ งจึ ง เปรียบเสมือนตัวกรองของเสีย การล้างไตทางหน้าท้องทำาอย่างไร นำ้า ยาสำา หรับล้างไตทางช่องท้องมีส่วนผสมของเกลือแร่ชนิดต่างๆ และนำ้า ตาล ชนิ ด เด็ ซ โตรส จะใส่ เ ข้ า ไปแช่ ใ นช่ อ งท้ อ งเพื่ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นของเสี ย จาก ร่างกาย ใช้เวลาในการแช่ในช่องท้องประมาณ ๓-๔ ชั่วโมง แล้วจึงปล่อยนำ้า ยาล้างไต ออก แล้วจึงทำาซำ้าอีกตามจำานวนที่แพทย์สั่ง แสดงดังรูปที่ ๓ 5
  • 6. รูปที่ ๓ แสดงการล้างไตทางช่องท้อง การเตรียมความพร้อมก่อนการล้างไตทางช่องท้อง แพทย์จะวางท่อสายยางล้างไตที่ผนังหน้าท้อง หลังจากนั้นประมาณ ๑๐ -๑๔ วัน จึงจะเริ่มการล้างไตทางช่องท้อง เพื่อรอให้แผลผ่าตัดท่อสายยางบริเวณหน้าท้องแห้งดี ก่อน สายยางล้างไตจะติดอยู่กับผนังหน้าท้องแบบถาวร ไว้สำาหรับเป็นทางผ่านเข้าออก ของนำ้ายาล้างไต การล้างไตทางช่องท้อง มี ๓ ชนิด 1. ก า ร ล้ า งไ ต ทา ง ช่ อ ง ท้ อ ง แ บ บ ต่ อ เ นื่ อ ง ช นิ ด ซี เ อ พี ดี (continuous ambulatory peritoneal dialysis, CAPD) ซี เ อพี ดี เป็ น การล้ า งไตทางช่ อ งท้ อ งที่ นิ ย มมากที่ สุ ด โดยผู้ ป่ ว ยหรื อ ญาติ เ ป็ น ผู้ ทำาการปล่อยนำ้ายาล้างไตเข้าแช่ในช่องท้องประมาณ ๔-๖ ชั่วโมงแล้วจึงปล่อยนำ้ายา ออก ทำา ซำ้า ๆ อย่างน้อย ๔ ครั้งต่อวัน และนำ้า ยาถุงสุดท้ายก่อนนอนมักแช่ไว้ตลอด คืน จึงไม่รบกวนต่อการนอนหลับของผู้ป่วย 2. การล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่องชนิด ซีซีพีดี (continuous cycle- assisted peritoneal dialysis, CCPD) ซีซีพีดี เป็นการล้างไตทางช่องท้ อง โดยใช้เครื่องอัตโนมัติในการปล่อยนำ้า ยาเข้ า ออกช่ องท้ องขณะผู้ ป่ว ยนอนหลับ ทำา ประมาณ ๓-๕ ครั้งต่ อคื น และจะทำา ในช่ ว ง เวลากลางวันอีก ๑ ครั้ง คือจะแช่นำ้า ยาล้างไตไว้ตลอดกลางวัน หรืออาจจะทำา เพิ่ม เป็น ๒ ครั้งต่อช่วงเวลากลางวัน ถ้าต้องการเพิ่มการขจัดของเสีย และลดภาวะนำ้าเกิน จากร่างกาย 6
  • 7. 3. การล้ า งไตทางช่ อ งท้ อ งแบบผสม ซี เ อพี ดี กั บ ซี ซี พี ดี (CAPD และ CCPD) คือการล้างไตทางช่องท้องทั้งช่วงกลางวัน และกลางคืน มักทำาในกรณีผู้ป่วยนำ้าหนัก ตัวมาก หรือผู้ป่วยที่มผนังหน้าท้องที่มีประสิทธิภาพการกรองของเสียตำ่า ี ใครเป็นผู้ทำาการล้างไตทางหน้าท้อง การล้างไตแบบ ซีเอพีดี นั้น ตัวผู้ป่วยหรือญาติจะเป็นคนทำา การปล่อยนำ้า ยาล้างไต เข้าออกช่องท้องเอง แต่ในกรณีที่ล้างไตแบบ ซีซีพีดี จะใช้เครื่องอัตโนมัติในการ ปล่อยนำ้ายาล้างไตเข้าออกช่องท้องในเวลากลางคืน ภาวะแทรกซ้อนของการล้างไตทางหน้าท้อง ภาวะแทรกซ้ อ นส่ ว นใหญ่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ การติ ด เชื้ อ ภายในช่ อ งท้ อ ง เกิ ด จาก ทำา การล้ า งไตไม่ ถู ก วิ ธี เมื่ อ ผู้ ป่ ว ยเกิ ด การติ ด เชื้ อ ภายในช่ อ งท้ อ ง จำา เป็ น ต้ อ งมาพบ แพทย์โดยด่วนเพื่อรีบให้ยาฆ่าเชื้อภายในช่องท้อง การป้ อ งกั น การติ ด เชื้ อ ภายในช่ อ งท้ อ ง คื อ ปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนการล้ า งไตที่ แนะนำาอย่างถูกต้อง และเคร่งครัด และเมื่อผูป่วยมีอาการบ่งชี้ของการติดเชื้อภายในช่อง ้ ท้องคือ ไข้สูง นำ้ายาขุ่น ปวดท้อง กดเจ็บบริเวณหน้าท้อง ควรรีบมาพบแพทย์ อาหารสำาหรับผู้ปวยล้างไตทางหน้าท้อง อาจจะแตกต่างกับอาหารสำาหรับผู้ป่วยฟอก ่ เลือดด้วยเครื่องไตเทียมบ้าง คือ ค ควรจำากัดอาหารเค็ม และนำ้าดื่ม แต่ผู้ป่วยยังสามารถกิน หรือดื่มได้มากกว่าในผู้ ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ป ควรบริโภคอาหารโปรตีนสูงในปริมาณที่มากกว่าในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไต เทียม เ มั ก จะไม่ จำา กั ด อาหารที่ มี โ ปแตสเซีย ม เนื่ อ งจากมี ก ารล้ า งของเสี ย ออกตลอด เวลารวมทั้งสารโปแตสเซียม เ ผู้ป่วยบางรายอาจจะต้องจำา กัดปริมาณพลังงานจากอาหาร เนื่องจากผู้ป่วยล้าง ไตทางหน้าท้องจะได้รับพลังงานส่วนหนึ่งจากนำ้ายาล้างไต ข้อดี และข้อเสียเกียวกับการล้างไตทางหน้าท้อง ่ การล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง ซีเอพีดี ข้อดี ข ผู้ป่วยสามารถทำาได้ด้วยตนเอง ผ ผู้ป่วยสามารถกำา หนดเวลาการล้างไตทางช่องท้องเองได้ตามจำา นวนที่กำา หนด ต่อวัน ต ผู้ป่วยสามารถทำาการล้างไตนอกบ้านได้ตามความเหมาะสม 7
  • 8. ไม่ต้องใช้เครื่อง หรืออุปกรณ์เสริมในการล้างไต ข้อเสีย ข การล้างไตทางช่องท้องอาจจะรบกวนการดำาเนินชีวิตประจำาวันได้บ้าง ก เป็นการล้างไตแบบต่อเนื่องจำาเป็นต้องติดต่อกันทุกวัน การล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง ซีซีพดี ี ข้อดี ข การล้างไตส่วนใหญ่ทำาช่วงเวลากลางคืนซึ่งผู้ป่วยกำาลังนอนหลับอยู่ ข้อเสีย ข จำาเป็นต้องใช้เครื่องอัตโนมัติในการช่วยล้างไต การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการล้างไตทางช่องท้อง เป็นการบำาบัดรักษา ทดแทนไตที่ทำาให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตและอายุยืนขึ้น แต่ไม่ได้ทำาให้ผู้ป่วยหายขาดจาก โรคไตเรื้อรัง ยิ่งล้างไตติดต่อนานขึ้นเป็นหลายสิบปี ผู้ป่วยจะเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนจาก ของเสียที่ข จัดไม่หมดตามมา ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกระดูกและไขข้อ โรค ปลายประสาทเสื่ อ ม และภาวะทุ พ โภชนาการ ดั ง นั้ น ปั จ จุบั น จึ ง พยายามป้ อ งกั น ภาวะ แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ล้างไตต่อไป ซึ่งวิธีที่ดีสุดในปัจจุบันคือ การผ่าตัดปลูก ถ่ายไต การผ่าตัดปลูกถ่ายไต จุดมุ่งหมาย การผ่าตัดปลูกถ่ายไตจากผู้อื่นด้วยไตเพียงหนึ่งข้างจะสามารถทำา งานทดแทน หน้าที่ไตทั้งหมดของผู้ป่วยที่สูญเสียไป ทำางานได้อย่างไร ไตจะถูก ผ่า ตัด ปลู กถ่ ายไว้ บริเ วณท้อ งด้ า นล่ า ง โดยจะผ่ า ตัด ต่ อ เส้ น เลื อ ดแดง และดำา ของไตเข้ากับร่างกายแสดงดังรูปที่ ๔ หลังการผ่าตัดไตอาจจะทำา งานได้ทันที หรือต้องใช้เวลาอีก ๒-๓ สัปดาห์จึงจะสามารถทำางานได้ปกติ ส่วนไตเดิมของผู้ป่วยไม่ จำาเป็นต้องผ่าตัดเอาออก ถ้าไตนั้นไม่ได้เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง หรือมีการติด เชื้อในไตเกิดขึ้น 8
  • 9. รูปที่ ๔ แสดงการผ่าตัดปลูกถ่ายไต การเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัดปลูกถ่ายไต การปลู ก ถ่ า ยไตมี ห ลายขั้ น ตอน ก่ อ นตั ด สิ น ใจทำา การปลู ก ถ่ า ยไต ควรปรึ ก ษา แพทย์ เพื่อร่วมกันพิจารณาถึงความเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย เนื่องจากการปลูกถ่าย ไตนอกจากจะมีข้อดีแล้ว ยังมีความเสี่ยงต่อการผ่าตัด ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากยา กดภูมิคุ้มกันหลังผ่าตัดได้ เป็นต้น ไตบริจาคสำา หรับการปลูกถ่ายมี ๒ แบบคือ ไตบริ จาคจากญาติ และไตบริ จาค จากผู้ป่วยสมองตาย ซึ่งกรณีที่รอรับไตจากผู้บริจาคสมองตาย ผู้ป่วยมักต้องเข้าคิวรอรับ การปลูกถ่ายไต การผ่าตัดปลูกถ่ายไตมี ๓ ปัจจัยหลักที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันในการเกิดการสลัดไตคือ ป หมู่เลื อด หมู่เลือดของผู้ป่วย และผู้บริ จาคควรต้อ งตรงกัน ตามหมู่ เอ บี เอบี และโอ เพื่อป้องกันการสลัดไต เ ความคล้ายกันของ เฮช แอล เอ (Human leukocyte antigens, HLAs) ไตบริจ าคจากญาติ มัก จะมีโ อกาสที่เ ลือ ดจะมี เฮช แอล เอ คล้ า ยกั น ได้ สู ง ขึ้ น ทำา ให้ มี โ อกาสสลั ด ไตลดลง ถึ ง แม้ ผ ลเลื อ ดเฮช แอล เอ ไม่ ค ล้ า ยกั น ก็ ยั ง สามารถปลูกถ่ายไตได้ แต่โอกาสสลัดไตจะเพิ่มขึ้น ก า ร ต ร ว จ ค ว า ม เ ข้ า กั น ไ ด้ ข อ ง เ ลื อ ด ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร (cross matching antigen) คือการตรวจเลือดของผู้ป่วย และผู้บริจาคไตว่าความเข้า กันได้ ถ้าผลตรวจเป็นลบสามารถทำาการปลูกถ่ายไตได้ เวลาในการปลูกถ่ายไต 9
  • 10. ระยะเวลาในการรอรับไตบริจาคจากผู้ป่วยสมองตาย ขึ้นกับหลายปัจจัย ปัจจัย สำาคัญคือปริมาณของไตจากผู้ป่วยบริจาค และผู้ป่วยที่รอรับบริจาค ดังนั้นไตบริจาคจาก ผู้ป่วยสมองตายอาจต้องใช้เวลาหลายปี ขณะที่ไตบริจาคจากญาติสามารถปลูกถ่ายได้ เลย ระยะเวลาที่ใช้ในการผ่าตัดปลูกถ่ายไตนานประมาณ ๓-๔ ชั่วโมง หลังการผ่าตัด ผู้ ป่ วยจะต้ อ งรั ก ษาตั ว ต่ อ ในโรงพยาบาลเป็ น สั ป ดาห์ ส่ ว นระยะเวลาของการนอนโรง พยาบาลของญาติผู้บริจาคไตใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันมีการเริ่มใช้เทคนิคการผ่าตัด แบบใหม่ทำาให้แผลผ่าตัดขนาดเล็กลง จึงทำาให้ผู้บริจาคไตนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล สั้นลงเหลือเพียง ๒-๓ วัน อัตราการทำางานของไตบริจาคจากผู้ป่วยสมองตายหลังผ่าตัด ๑ ปี อยู่ที่ร้อยละ ๘๕-๙๐ ขณะที่อัตราการทำางานของไตบริจาคจากญาติมักจะสูงกว่า เนื่องจากเลือดของ ผู้ป่วยมีความคล้ายกันของ เฮท แอล เอ มากกว่ารวมทั้งไตที่ได้สามารถผ่าตัดปลูกถ่าย ได้ทันที ภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัดปลูกถ่ายไต การผ่าตัดปลูกถ่ายไตถือว่าเป็นการรักษาไตเรื้อรังที่หายขาด แต่อย่างไรก็มีผล ข้างเคียงของการปลูกถ่ายไตได้ ที่สำา คัญคือ การสลัดไต ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก การกิน ยากดภูมิ คุ้ม กัน หลั งปลู ก ถ่ า ยไตไม่ ส มำ่า เสมอ เมื่ อ เกิ ด การสลั ด ไต หน้ า ที่ ไ ตจะ ทำา งานลดลงอาจนำา ไปสู่ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ทำา ให้ผู้ป่วยต้องกลับมาล้างไต หรือรอ ผ่าตัด ปลูกถ่ายไตอีกครั้ง ผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายไตจะมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายกว่าปกติเนื่องจากผู้ป่วยต้องกิน ยากดภูมิคุ้มกัน และในผู้ป่วยบางรายอาจจะมีผลข้างเคียงของยาอื่นที่ได้รับหลังปลูก ถ่ายไตได้แก่ หน้าบวม นำ้าหนักเพิ่มขึ้น เกิดสิว ขนขึ้นตามใบหน้า ต้อกระจก เบาหวาน กระเพาะอาหารอักเสบ ความดันโลหิตสูง และกระดูกพรุน ที่สำาคัญคือ ผู้ป่วยที่กินยากด ภูมิคมกันติดต่อกันระยะยาวจะมีความเสียงต่อการเกิดโรคมะเร็งเพิ่มขึ้น ุ้ ่ อาหารสำาหรับผู้ปวยหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายไต ่ การจำากัดอาหารจะน้อยลงเมื่อเทียบกับผู้ป่วยล้างไต แต่ยังคงต้องจำา กัดอาหารบาง ประเภทอยู่ได้แก่ จำากัดพลังงานจากอาหารไม่ให้เกินความต้องการของร่างกาย เนื่องจากยาที่ได้ รับหลังปลูกถ่ายไตจะกระตุ้นความอยากอาหารมีผลให้นำ้าหนักตัวของผู้ป่วยเพิ่ม ขึ้น 10
  • 11. จำา กั ดอาหารเค็ ม เนื่ องจากยาที่ ไ ด้ รั บ หลั ง ปลู ก ถ่ า ยไตมี ผ ลกระตุ้ น การดู ด กลั บ ของโซเดียมคืนสู่ร่างกายมีผลทำาให้ความดันโลหิตสูงขึ้นได้ ข้อดีของการปลูกถ่ายไต ข ไตที่ปลูกถ่ายมักจะทำาหน้าที่ได้เหมือนไตปกติ ไ คุณภาพการดำาเนินชีวิตดีกว่าเดิม ค ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้มากขึ้น อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยดีกว่าเดิม ข้อเสียของการปลูกถ่ายไต ข ผู้ป่วยต้องได้รับการผ่าตัดใหญ่ ผ ต้องรอเวลาในการที่จะได้รับไตบริจาคจากผู้ป่วยสมองตาย ต อาจมีการสลัดไตเกิดขึ้นทำาให้ต้องสูญเสียไต แล้วกลับมาล้างไตอีก แ มีความเสี่ยงต่อผลข้างเคียงของยากดภูมิคุ้มกันที่ได้รับหลังปลูกถ่ายไต การตัดสินใจในการรักษา การรั ก ษาด้ ว ยการล้ า งไต ปลู ก ถ่ า ยไต จะช่ ว ยให้ ผู้ ป่ ว ยมี อ ายุ ยื น นานขึ้ น และ คุณภาพชีวิตดีขึ้น ขณะที่ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ปฏิเสธการรักษาใดๆ หรือหยุดการ รักษาอาจทำา ให้ผู้ป่วยมีชีวิตสั้นเพียงไม่กี่วัน หรือหลายสัปดาห์ ขึ้นอยู่กับ สุข ภาพเดิม ของผู้ ป่ ว ย หน้ า ที่ ไ ตที่ เ หลื อ อยู่ ดั ง นั้ น เมื่ อ ผู้ ป่ ว ยเปลี่ ย นความตั้ ง ใจที่ จ ะรั ก ษาต่ อ สามารถกลับมาเริ่มการรักษาล้างไตได้ทันที การตัดสินใจในการรักษา หรือปฏิเสธการ รักษา ขึ้นกับความต้องการ สภาพแวดล้อม และสถานะภาพของผู้ป่วย สรุป การที่ จ ะบอกว่ า การรั ก ษาแบบไหนดี ที่ สุ ด คงตอบได้ ย าก การฟอกเลื อ ดด้ ว ย เครื่องไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง และการผ่าตัดปลูกถ่ายไต แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อ เสียแตกต่างกัน การเลือกวิธีการักษาในผู้ป่วยแต่ละรายจำาเป็นต้องอาศัยความเหมาะสม และการปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างทีมแพทย์ผู้รักษา ตัวผูป่วยเอง และญาติ เพื่อผลการ ้ รักษาดีที่สุดสำาหรับผูป่วยแต่ละราย ้ เอกสารอ้างอิง 1. Charold L.B. Principle of Patient Education. In: Larry E.L., eds. Core Curriculum for Nephrology Nursing 4th. New Jersey: Publication Management by Anthony J. Jannetti, Inc., 2001: 191 11
  • 12. 2. National Kidney Foundation Guideline. K/DOQI clinical practice guidelines for chronic kidney disease: Kidney Disease Outcome Quality Initiative. Am J Kidney Dis. 2002; 39(Suppl 2): S1-S246 3. Pedrini MT, Levey AS, Lasu J, Chalmers TC, Wang PH. The effects of dietary protein restriction on the progression of diabetic and non diabetic renal disease: a meta-analysis. Ann Intern Med 1996; 63: 80-6 4. Zawada ET. Initiation of dialysis. In: Daugirdas JT, Blake PG, Ing TS, eds. Handbook of dialysis; 3rd. Lippincott William & Wilkin, 2001: 3-11 5. Goodman WG, Danovitch GM. Options for Patients with End-Stage Renal Disease. In: Danovitch GM, ed. Handbook of kidney transplantation. Little, Brown and Company, 1996: 1-16 12